Powerpoint 2_53

Download Report

Transcript Powerpoint 2_53

Supply-side Effects
of Fiscal Policy
1
ทบทวนวรรณกรรม
 Demand Side Effects
 Keynesian approach และ Crowding out
 Multiplier effect on AD
 ราคาที่คงที่และความสามารถที่ยงั เหลือ
(Price rigidity and excess
capacity)
 การกาหนดการลงทุนเอกชน
 อุปสงค์ของเงิน (Money demand and monetary policy)
 การเปิ ดประเทศและอัตราแลกเปลี่ยน
2
ทบทวนวรรณกรรม
 Non-Keynesian effects of fiscal policy
 Rational expectations (Forward adjustment)
นโยบายการคลังมีผลทั้งใน ระยะสั้นและยาว
 Ricardian Equivalence ถ้าผูบ
้ ริ โภคเป็ น forward
looking และรู ้ผลของนโยบายรัฐอย่างดี
3
ทบทวนวรรณกรรม
 Supply Side Effect
 ภาษี รายจ่ายรัฐบาล และการเจริ ญเติบโต
 New Classical Models
เชื่อว่าการผันผวนของผลผลิตเป็ นผลมาจากด้านอุปทานไม่ใช่
อุปสงค์ (Lucas Model 1975; Sargent and Wallace 1975) ทุกๆ
อย่างที่เกิดจากด้านอุปสงค์ที่ถูกคาดการณ์ไว้อย่างเต็มที่แล้ว
และไม่มีผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไม่วา่ ในระยะสั้นและ
ระยะยาว การเพิ่มของผลผลิตจะเกิดจากอุปทานอย่างเดียว ผล
จากการจัดการด้านอุปสงค์ที่มีต่อผลผลิตเกิดจากสิ่ งที่ไม่ได้
คาดการณ์ เช่นราคาน้ ามัน ฯลฯแต่จะมีผลผ่านด้านอุปทาน
4
ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน
 จากมุมมองด้านอุปทาน อัตราภาษีส่วนเพิ่ม (marginal tax rate) มี
ความสาคัญต่อการปรับตัวอย่างมาก:
การลดลงของอัตราภาษีทาให้เสมือนแรงงานได้รับรางวัลจากการทางาน
เพิม่ ขึ้น
 ขณะเดียวกันด้านการลงทุน การออม และกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ
จะถูกเก็บภาษีนอ้ ยลง

 อัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นจะบิดเบือนผลผลิตเพรา:
ไม่ส่งเสริ มการทางานและลดผลิตภาพ (productivity) ของแรงงาน
 ส่ งผลทางลบแก่การสะสมทุนและการใช้ทุนให้มีประสิ ทธิ ภาพ
 ส่ งเสริ มให้บุคคลทดแทนการลดหย่อนภาษีในสิ่ งที่ไม่ปรารถนามากขึ้น
เพือ่ เป็ นการหลบหรื อหลีกเลี่ยงการเสี ยภาษีมากขึ้น

5
ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน
 การเพิ่มอัตราภาษีอาจทาให้มีผลต่อ อุปทานมวลรวม
aggregate supply
เพราะการเปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ของ
ปั จจัยการผลิตเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี
 ผลต่อด้านอุปทาน:
 มักใช้เวลานานกว่าจะเห็นผลที่แท้จริ ง
 มีตวั อย่างประเทศที่มีอต
ั ราภาษีสูงจะมีอตั ราการเจริ ญเติบโตที่นอ้ ยกว่า
ประเทศที่มีอตั ราภาษีต่า
 ยังเป็ นข้อถกเถียงถึงผลจากด้านอุปทานว่าที่แท้จริ งคืออะไร แต่บทเรี ยน
ต่างประเทศแสดงให้เห็นว่าประเทศที่มีอตั ราภาษีสูงมากๆ จะมีการ
ขยายตัวเศรษฐกิจต่ากว่า
6
นโยบายด้านอุปทานและการขยายตัวเศรษฐกิจ
ระดับราคา
LRAS1 LRAS2
SRAS1
SRAS2
P0
E1
E2
AD1
YF1


YF2
เมื่อมีการลดอัตราภาษีจะส่ งเสริ ม
ให้มีการขยายตัวเศรษฐกิจ
(shifting LRAS and SRAS out to
LRAS2 and SRAS2).
AD2
สิ นค้าและบริ การ
(real GDP)
การลดภาษีเพิ่มแรงจูงใจในการหาและใช้ปัจจัยการผลิตให้มีประสิ ทธิภาพ
มากขึ้น AD1 shifts out to AD2, and SRAS & LRAS shift to the right.
หากการลดภาษีเป็ นการทาให้เกิดการขาดดุลการคลัง AD อาจขยายตัว
มากกว่า supply, นาไปสู่การเพิม่ ขึ้นของระดับราคา.
7
The Lucas Supply Function
 The
Lucas supply function เป็ น
สมการด้านอุปทานที่แสดงว่า ผลผลิต (Y) ขึ้นกับความ
แตกต่างระหว่างราคาแท้จริ ง (P) และราคาที่คาดการณ์
(Pe):
Y  f (P  P )
e
8
The Lucas Supply Function
• ความแตกต่างของทั้งสองราคาดังกล่าวคือ price
surprise.
(P  P )
e
9
The Lucas Supply Function
เหตุผลของ the Lucas supply function คือ
การเพิ่มขึ้นของราคาที่ไม่ได้คาดการณ์ทาให้
แรงงานและบริ ษทั เข้าใจผิดในระดับราคา
เปรี ยบเทียบทาให้ปรับเปลี่ยนจานวนแรงงาน
หรื อผลผลิตที่ให้แก่ระบบเศรษฐกิจ
10
The Lucas Supply Function
Rational-expectations theory, ที่ผสมผสาน
กับ Lucas supply function, นาไปสู่ขอ้ เสนอ
ในบทบาทของภาครัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ
11
Supply-Side Economics
 เป็ นการอธิ บายทฤษฎีดา้ นอุปสงค์ที่ไม่สามารถ
อธิบายด้วยทฤษฎีปกติระหว่างปี 1970s.
 นักเศรษฐศาสตร์ Supply Side เชื่อว่าภาษีที่สูงขึ้น
ทาให้การลงทุน การจ้างงาน ฯลฯ ถูกจากัดลงการ
ใช้เครื่ องด้านอุปสงค์จึงไม่กระตุน้ ให้เกิดการ
แก้ไขขึ้นได้ดีเท่ากับด้านอุปทาน
12
The Laffer Curve
Laffer curve แสดงความสัมพันธ์อต
ั ราภาษี
ณ ระดับหนึ่งที่หากมีอตั ราเกินระดับดังกล่าว
ทาให้รายได้ภาษีจะลดลงแม้เมื่อมีการเพิ่ม
อัตราภาษีข้ ึนก็ตาม
13
The Laffer Curve
• The Laffer curve แสดง
จานวนรายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บที่
ขึ้นกับอัตราภาษี
14
The Laffer Curve
• เมื่ออัตราภาษีสูงขึ้นอาจส่ งผลให้รายได้
ภาษีลดลง
• ทานองเดียวกันการลดภาษีอาจสร้าง
แรงจูงใจกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นาไปสู่
รายได้อื่นเพิม่ ขึ้น
15
ข้อวิจารณ์ supply side economic
 ผลของการลดภาษีมีผลต่อเศรษฐกิจและอุปทาน
ของแรงงานน้อย
 ผลจากการลดภาษีต่อครัวเรื อนนั้นหลังจากภาษี
เพิม่ ขึ้น อาจมีได้ท้ งั สองทางคือเพิม่ การทางาน
หรื อลดการทางาน โดยผลสุ ทธิข้ ึนกับ income
and substitution effects.
16