Elasticity ความยืดหยุ่น
Download
Report
Transcript Elasticity ความยืดหยุ่น
Elasticity
ความยืดหยุน่
หลักเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1
อุปสงค์ และอุปทาน
• ทฤษฎีอุปสงค์อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของตัวกาหนดอุปสงค์วา่ จะมี
ผลให้ปริ มาณซื้อเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม
• ทฤษฎีอุปทานอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของตัวกาหนอุปทานว่าจะทา
ให้ปริ มาณการขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
2
ความยืดหยุน่ (Elasticity)
• ความยืดหยุน่ แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภทคือ
– ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
– ความยืดหยุน่ ของอุปทาน (Elasticity of Supply)
3
Elasticity of Demand
(ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ ) แบ่งออกได้เป็ น
่ ของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุน
(Price Elasticity of Demand)
่ ของอุปสงค์ต่อรายได้
ความยืดหยุน
(Income Elasticity of Demand)
่ ของอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าอื่นหรื อความยืดหยุน่ ไขว้
ความยืดหยุน
(Cross Elasticity of Demand)
4
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
• สูตรการหาค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ = % ของการเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้อ
% การเปลี่ยนแปลงของตัวกาหนดอุปสงค์
• ตัวกาหนดอุปสงค์ในที่น้ ี คือ ราคา (P)
• สูตรข้างต้นสามารถเขียนเป็ นสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ได้ดงั นี้
Ed
= %∆Q = ∆Q x P1 = Q2 - Q1 x P1
%∆P
∆P Q1
P2 – P1 Q1
5
ความยืดหย่นของอุปสงค์ต่อราคา
หมายถึง ความอ่อนไหวของปริ มาณซื้อหรื อ การตอบสนองของผูซ้ ้ือที่มีต่อการ
เปลี่ยนแปลงในราคาของสิ นค้านั้นๆ
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา = ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงในปริ มาณซื้อ
ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงในราคา
หรื อเขียนย่อๆ ด้วยสัญลักษณ์ได้ดงั นี้
Ep = %ΔQ
%ΔP
6
โดยที่ Ep = ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
%ΔQ = ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงในปริ มาณซื้อ
%ΔP = ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงในราคาสิ นค้านั้น
สัดส่ วนดังกล่าวมักเรี ยกว่า สัมประสิ ทธิ์ของความยืดหยุน่
(elasticity coefficient)
จากกฎของอุปสงค์ ทวี่ ่ า ปริมาณซื้อจะเปลีย่ นแปลงไปในทิศทางทีต่ รงกัน
ข้ ามกับราคาเสมอ ดังนั้น ค่ าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาจึงมีค่า
เป็ นลบ เสมอ
แต่ การวัดค่ าความยืดหยุ่นว่าจะมีมากหรือน้ อย จะพิจารณาค่ าทีไ่ ม่
คานึงถึงเครื่องหมาย แต่ จะพิจารณาค่ าสั มบูรณ์ (absolute
value)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
7
การวัดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีอยู่ 2 แบบ คือ
1.
การวัดค่าความยืดหยุน่ แบบจุด
Ed = %Q = Q × P1
P
P
Q1
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1 Q1
2. การวัดค่าความยืดหยุน่ แบบช่วง
Ed = %Q
P
= Q × ( P1+P2)
P
(Q1 +Q2)
= Q2 - Q1 × (P1+P2)
P2 - P1 (Q1+Q2)
Ed
หลักเศรษฐศาสตร์
= %∆Q = ∆Q x P1 = Q2 - Q1 x P1
%∆P
∆P Q1
P2 – P1
Q1
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
8
ราคา
6
A
4
B
2
10
20
Demand
ปริ มาณ
30
9
จากกราฟ จงหาความยืดหยุน่ ในช่วง AB
Ed = %Q = Q × ( P1+P2)
P
P
(Q1 +Q2)
= Q2 - Q1 × (P1+P2)
P2 - P1 (Q1+Q2
Ep แบบช่วง = (20-10) x (2+4)
(2-4)
= 10
-2
(20-10)
x 6
30
= -1
10
นักศึกษาจะเห็นได้วา่ ค่าความยืดหยุน่ ที่ได้จากการคานวณ คือ -1
จาก Ep = %ΔQ
%ΔP
แปลความหมายได้วา่ เมื่อราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะส่ งผลให้ปริ มาณ
ซื้อสิ นค้านี้ ลดลง 1 หน่วยเช่นกัน แสดงว่าอุปสงค์ต่อราคาในช่วง AB มี
ความยืดหยุน่ คงที่
แต่ถา้ สมมติวา่ ค่าความยืดหยุน่ ที่คานวณได้ = - 5 หมายถึง เมื่อ
ราคาเพิม่ ขึ้น 1 หน่วย จะส่ งผลให้ปริ มาณความต้องการซื้อลดลง 5 หน่วย
11
การวัดค่าความยืดหยุน่ แบบจุด (point elasticity) เป็ นการวัด
ระดับความอ่อนไหวของปริ มาณซื้ อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้า ณ ระดับ
ราคาใดราคาหนึ่ง หรื อที่จุดใดจุดหนึ่งบนเส้นอุปสงค์สาหรับสิ นค้านั้น
ราคา ตัวอย่างการวัดค่าความยืดหยุน่ แบบจุด
Ep (แบบจุด) = % Q
4
% P
Q × P1
P
Q1
B
A
3
10 15
ปริ มาณ
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1 Q1
ถ้าหา Ep ที่จุด A ให้ ปริ มาณซื้อ และราคา ณ จุด A เป็ นราคาและ
ปริ มาณ เดิม (Q1,P1) และ จุด B คือ คือปริ มาณและราคาใหม่
(Q2,P2)
Ep ณ จุด A
= (10-15)
( 4-3)
x 3 = -1
15
12
ตัวอย่างการหาค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
แตงโมราคาผลละ 100 บาท ภารดรต้องการซื้อ 50 ผล ต่อมาราคาแตงโม
ลดลงเหลือผลละ 80 บาท ภารดรต้องการซื้อเพิม่ ขึ้นเป็ น 75 ผล จงหาค่า
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาแตงโม (หาแบบจุด)
Ed = Q2 – Q1 x P1
P2 - P1 Q1
Q1 = 50, Q2 = 75, P1 = 100, P2 = 80
Ed = 75 – 50 x
80 – 100
Ed = -2.5
100
50
ค่ าความยืดหยุ่นมีค่า -2.5
หมายความว่ า ถ้ า
ราคาเปลีย่ นไป 1 หน่ วย
ปริมาณซื้อจะเปลีย่ นแปลง
ลดลง 2.5 หน่ วย แสดงว่ า
แตงโมเป็ นสิ นค้ าที่มคี วาม
ยืดหยุ่นมาก
13
1. ถ้าราคาน้ าตาลสูงขึ้นจาก กก.ละ 15 บาท เป็ น 20 บาท ทาให้
ความต้องการซื้อน้ าตาลลดลง จาก 100 กก. เป็ น 80 กก. ดังนั้น
ค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาน้ าตาล ณ ระดับราคา กก. ละ 15
บาท จะมีค่าเท่ากับเท่าใด
2. ถ้าราคามังคุดลดลงจาก กก. ละ 25 บาท เป็ น 20 บาท จะทาให้
ปริ มาณความต้องการมังคุด เพิม่ ขึ้นจาก 8 กก. เป็ น 10 กก. ดังนั้น
ค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาเป็ นเท่าใด
14
ข้อควรจา
• ค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาจะมีค่าเป็ นลบเสมอ เป็ นการบ่งชี้ถึง
กฎของอุปสงค์ที่วา่ ปริ มาณซื้อแปรผกผันกับราคา
• ค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาไม่มีหน่วยเสมอ
15
ข้อควรจา
• เส้นอุปสงค์ที่เป็ นเส้นตรงลาดลงจากซ้ายไปขวา จะมีความยืดหยุน่
ไม่เท่ากันตลอดทั้งเส้น
Ed = α
ทีจ่ ุด B Ed = 1
Ed > 1
P1
A
B
P2
Ed < 1
C
P3
Q1
Q2
Q3
Ed = 0
16
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
1. อุปสงค์ ทไี่ ม่ มีความยืดหยุ่นเลย
(Perfectly inelastic demand)
- Ed = 0
- ไม่วา่ ราคาจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ปริ มาณ
ซื้อจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย
P
D
%∆Q = 0
%∆P = α
P2
Ed = 0
P1
Q*
Q
17
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
P
่ น้อย
2. อุปสงค์มีความยืดหยุน
Relatively inelastic demand
% ∆Q < %∆P
P1
- Ed < 1
- %∆Q < %∆P
- เส้นอุปสงค์มีความชันสูงมาก
- ตัวอย่างเช่น สิ นค้าจาเป็ นต่างๆ
Ed < 1
∆P
P2
∆Q
D
Q
Q1
Q2
18
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
P
่ คงที่
3. อุปสงค์มีความยืดหยุน
Unitary Elastic Demand
% ∆Q = %∆P
P1
- Ed = 1
- %∆Q = %∆P
- เส้นอุปสงค์จะเป็ นเส้นโค้ง
Ed = 1
∆P
P2
∆Q
Q
Q1
Q2
19
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
่ มาก
4. อุปสงค์มีความยืดหยุน
Relatively Elastic Demand
P
% ∆Q > %∆P
Ed > 1
P1
- Ed > 1
- %∆Q > %∆P
- เส้นอุปสงค์จะมีลกั ษณะค่อนข้างลาด
- ตัวอย่างเช่น สิ นค้าฟุมเฟื อย
∆P
P2
∆Q
Q
Q1
Q2
20
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
่ มากที่สุด
5. อุปสงค์มีความยืดหยุน
Perfectly Elastic Demand
- Ed = α
- %∆Q = α , %∆P = 0
- ปริ มาณซื้ อจะเพิ่มขึ้นไม่จากัดจานวน หาก
ผูข้ ายไม่เพิ่มราคา แต่ถา้ ราคาเปลี่ยนไป
เพียงเล็กน้อย ผูซ้ ้ือก็จะไม่ซ้ือสิ นค้าเลย
P
% ∆Q = α, %∆P = 0
Ed = α
D
P
Q
Q1
Q2
21
เส้นอุปสงค์ที่มีความยืดหยุน่ เท่ากันตลอดทั้งเส้นคือ
P
P
P
Q
ก. Ed = ∞
ตลอดทั้งเส้น
Q
ข. Ed = 0
ตลอดทั้ง เส้น
Q
ค. Ed = 1
ตลอดทั้งเส้น
22
ปัจจัยกาหนดค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
• สั ดส่ วนของค่ าใช้ จ่ายในสิ นค้านั้นต่ อรายได้ ราคาสิ นค้ า
สิ นค้าที่มีราคาแพงจะมีความยืดหยุน่ สูง เพราะเพียงแค่ราคา
เปลี่ยนแปลงไป 1% ปริ มาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงไปเป็ นอย่างมาก
• ความคงทนถาวร
สิ นค้าที่มีความคงทนถาวรจะมีความยืดหยุน่ สู ง เพราะหากราคา
มีการเปลี่ยนแปลง เราก็สามารถซ่อมของเก่าใช้ต่อไป
• ความสามารถในการใช้ สินค้ าอืน่ ทดแทน
สิ นค้าที่มีสินค้าอื่นทดแทนได้ง่ายและได้มากชนิด จะมีค่าความยืดหยุน่
มาก เพราะหากสิ นค้าชนิดนั้นราคาแพงขึ้น เราก็สามารถหาสิ นค้าทดแทน
ได้โดยง่ายและได้หลายชนิด
23
• ความสาคัญต่อการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน
สิ นค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของผูบ้ ริ โภค
หรื อที่เรี ยกว่า สิ นค้าจาเป็ น (necessities) ย่อมมีความยืดหยุน่
ของอุปสงค์ต่อราคาน้อย เมื่อเปรี ยบเทียบกับสิ นค้าที่ไม่สูจ้ ะจาเป็ นต่อ
การดารงชีพของมนุษย์ หรื อที่เรี ยกว่า สิ นค้าฟุ่ มเฟื อย (luxuries)
ทั้งนี้ เพราะ สาหรับสิ นค้าที่มีความจาเป็ นแล้ว แม้วา่ ราคาจะสูงขึ้น
ผูบ้ ริ โภคก็ยงั จาเป็ นต้องใช้ในการบริ โภค ทาให้ลดการบริ โภคลงได้นอ้ ย
• ระยะเวลานับตั้งแต่ราคาเปลี่ยนแปลง ในสิ นค้านั้น
- อุปสงค์ในระยะสั้น (short-run demand) Ep น้อย
- อุปสงค์ในระยะยาว (long-run demand) Ep มากขึ้น
24
ความสัมพันธ์ระหว่างความยืดหยุน่ ของอุปสงค์กบั รายได้จากการขาย
(รายรับรวม)
รายได้จากการขายหรื อรายรับรวม = ราคาสิ นค้า x ปริ มาณซื้อ
TR
= PxQ
ราคาสิ นค้า
Ed > 1
Ed = 1
Ed<1
เพิ่ม
ลด
TR ลด
TR เพิ่ม
TR คงเดิม
TR คงเดิม
TR เพิ่ม
TR ลด
25
ราคา
ราคา
S
s
D
D
ปริ มาณ
ปริ มาณ
ราคา
S
D
ปริ มาณ
26
ความยืดหยุน่ ของเส้นอุปทาน
(Elasticity of Supply)
Definition
Category
หลักเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
27
ความหมายและแนวคิดในการวัดความยืดหยุน่ ของอุปทาน
ความยืดหยุน่ ของอุปทานต่อราคา ก็คือ ความอ่อนไหวของปริ มาณสิ นค้าที่
จะนาออกขายในตลาดต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้านั้น
แนวคิดในการวัดค่าความยืดหยุน่ ของอุปทาน เป็ นเช่นเดียวกับการวัดความ
ยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา เพียงแต่ ค่าความยืดหยุน่ ของอุปทานจะมีค่า
เป็ น บวกเสมอ เพราะ เป็ นไปตามกฎของอุปทานที่วา่ ปริ มาณเสนอขาย
แปรผันตรงกับราคาของตัวมันเอง
28
ความยืดหยุน่ ของเส้นอุปทาน
• สูตรการหาค่าความยืดหยุน่ ของเส้นอุปทาน
ความยืดหยุน่ ของอุปทาน = ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงปริ มาณการขาย
ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงของราคา
• สูตรข้างต้นสามารถเขียนเป็ นสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ได้
Es = %∆Q
%∆P
29
การวัดค่าความยืดหยุน่ ของอุปทานวัดได้ 2 แบบ คือ
1. แบบจุด = %∆P = ∆Q x P1 = Q2 - Q1 x P1
%∆P ∆P Q1
P2 - P1 Q1
2.แบบช่วง= %∆P = ∆Q x (P1+P2)
%∆P ∆P (Q1+Q2)
= (Q2-Q1) x (P1+P2)
(P2-P1 )
(Q1+Q2)
30
ตัวอย่างการหาค่าความยืดหยุน่ ของเส้นอุปทาน
มังคุดราคากิโลกรัมละ 30 บาท ผูข้ ายต้องการที่จะนาออกขาย 200
กิโลกรัม ต่อมาราคามังคุดแพงขึ้นเป็ นกิโลกรัมละ 35 บาท ผูข้ าย
ต้องการนามังคุดออกขาย 300 กิโลกรัม จงหาค่า Es
Es = Q2 – Q1 x P1
P2 - P1 Q1
Es = 3 หมายถึง
Q1 = 200, Q2 = 300, P1 = 30, P2 = 35
Es = 300 – 200
35 – 30
x
30
200
ถ้ าราคาสิ นค้ า
เปลีย่ นแปลงไป 1 หน่ วย
ปริมาณการขายจะ
เปลีย่ นแปลงไป 3 หน่ วย
Es = 3
31
ตัวอย่าง เงาะโรงเรี ยนราคา กก.ละ 20 บาท อุปทานของ
เงาะมีจานวน 7,500 กก. แต่ถา้ เงาะโรงเรี ยนราคา กก. ละ
10 บาท อุปทานของเงาะจะลดลงเหลือ 4,500 กก. ถามว่า
ค่าความยืดหยุน่ ของอุปทานมีค่าเท่าไร
Es = % Qs = Qs × P
P
P
Qs
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1 Q1
= -3,000 × 20 = 0.8
-10 7,500
32
หมายถึง เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงไป 1 % จะ
ทาให้ปริ มาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงไป ในแนวทาง
เดียวกัน 0.8%
33
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปทาน
1. อุปทานทีไ่ ม่ มีความยืดหยุ่นเลย
Perfectly inelastic supply
- Es = 0
- ไม่วา่ ราคาจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ปริ มาณ
ขายจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย
- ค่าความชันเป็ น infinity
P
S
%∆Q = 0
%∆P = α
P2
Es = 0
P1
Q*
Q
34
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปทาน
% ∆Q < %∆P
P
่ น้อย
2. อุปทานมีความยืดหยุน
Relatively inelastic supply
Es < 1
S
P2
- Es < 1
- %∆Q < %∆P
- เส้นอุปทานจะจรดกับแกนนอน
∆P
P1
∆Q
Q
Q1
Q2
35
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปทาน
% ∆Q = %∆P
P
่ คงที่
3. อุปทานมีความยืดหยุน
Unitary Elastic Supply
Es = 1
P2
- Es = 1
- %∆Q = %∆P
- เส้นอุปทานจะเป็ นเส้นตรงออกจากจุดกาเนิด
∆P
P1
∆Q
Q
Q1
Q2
36
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปทาน
P
่ มากกว่าหนึ่ง
4. อุปทานมีความยืดหยุน
Relatively Elastic Supply
- Es > 1
- %∆Q > %∆P
- เส้นอุปทานจะจรดกับแกนตั้ง
% ∆Q > %∆P
Es > 1
P2
∆P
P1
∆Q
Q
Q1
Q2
37
ลักษณะกราฟของค่าความยืดหยุน่ ของอุปทาน
่ มากที่สุด
5. อุปทานมีความยืดหยุน
Perfectly Elastic Supply
- Es = α
- %∆Q = α , %∆P = 0
- ปริ มาณขายจะเพิ่มขึ้นไม่จากัดจานวน หาก
ผูข้ ายไม่เพิ่มราคา แต่ถา้ ราคาเปลี่ยนไป
เพียงเล็กน้อย ผูข้ ายก็จะไม่ขายสิ นค้าเลย
P
% ∆Q = α, %∆P = 0
Es = α
S
P
Q
Q1
Q2
38
ปัจจัยทีก่ าหนดค่ าความยืดหยุ่นของอุปทาน
1. ความยากง่ายและเวลาที่ใช้ในการผลิต
2. ปริ มาณสิ นค้าคงคลัง
3. กาลังคงเหลือของเครื่ องมือเครื่ องจักร
4. ความหายากของปัจจัยการผลิต
5. ระยะเวลา
6. การเปลี่ยนแปลงในต้นทุนการผลิต
39
ค่ าความยืดหยุ่นของอุปทานของสิ นค้าและบริการชนิดหนึ่งๆ จะ
มีค่ามากหรือน้ อยขึน้ อยู่กบั ระยะเวลาเป็ นสาคัญ
ในช่ วงเวลาสั้ นๆ อุปทานมักมีค่าความยืดหยุ่นน้ อย ทั้งนี้เพราะ
ผูผ้ ลิตไม่สามารถปรับเปลี่ยนปริ มาณการผลิตเพื่อตอบสนองความต่อการ
เปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้าได้อย่างสะดวก เนื่องจากมีขอ้ จากัดในการ
ปรับเปลี่ยนเครื่ องจักร และการจัดหาปัจจัยการผลิตต่างๆ รวมทั้งความ
ล่าช้าของกระบวนการผลิตที่ตอ้ งใช้เวลาตามธรรมชาติของการผลิตสิ นค้า
หรื อบริ การแต่ละชนิด
แต่ ถ้าเป็ นช่ วงระยะเวลาทีย่ าวนานขึน้ อุปทานจะมีความยืดหยุ่น
มาก เพราะผูผ้ ลิตสามารถปรับตัวเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของ
ราคาได้มากขึ้น
40
ภาระภาษีของผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคกับความยืดหยุน่ ของเส้น Demand
และเส้น Supply
ราคา
S+t
ภาระภาษีของผูซ้ ้ื อ
S
ความสู ญเปล่าทางเศรษฐกิจ
ภาระภาษีของผูข้ าย
D
ปริ มาณ
41
หลักเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
42
ถ้าเส้นอุปสงค์มีความยืดหยุน่ มากกว่าเส้นอุปทาน ภาระภาษีจะตกกับ
ใครมากน้อยแค่ไหน?
ถ้าเส้นอุปทานมีความยืดหยุน่ มากกว่าเส้นอุปสงค์ ภาระภาษีจะตกกับ
ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคมากน้อยแค่ไหน อย่างไร?
ถ้าเส้นอุปสงค์มีความยืดหยุน่ เท่ากับ 0
ถ้าเส้นอุปทานมีความยืดหยุน่ เท่ากับ 0
ถ้าเส้นอุปสงค์มีความยืดหยุน่ ∞
ถ้าเส้นอุปทานมีความยืดหยุน่ ∞
43