ch2 - UTCC e

Download Report

Transcript ch2 - UTCC e

บทที่ 2 การทางานของกลไกราคา
 การวิเคราะห์อุปสงค์ของตลาด
การวิเคราะห์อุปทานของตลาด
 การกาหนดราคาและดุลยภาพของตลาด
 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด
่ ของอุปสงค์และอุปทาน
 ความยืดหยุน

1
อุปสงค์ (Demand)
* ความหมายและกฎของอุปสงค์
* ตารางอุปสงค์ เส้นอุปสงค์และสมการอุปสงค์
* อุปสงค์ของปัจเจกชนและอุปสงค์ของตลาด
* ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์
* การเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้อและการ
เปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์
2
ความหมายและกฎของอุปสงค์
ความหมาย
อุปสงค์สาหรับสิ นค้าและบริ การชนิดใด
ชนิดหนึ่ง หมายถึงปริมาณสิ นค้ าและบริการชนิดนั้น
ทีผ่ ู้บริโภคต้ องการซื้อในเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา
ต่ าง ๆ ของสิ นค้ านั้น โดยกาหนดให้ สิ่ งอืน่ ๆ คงที่
(all other things being equal or ceteris paribus)
สิ่ งอื่น ๆ ในที่น้ ีได้แก่ รายได้ของผูบ้ ริ โภค ราคาสิ นค้าอื่นที่
เกี่ยวข้อง รสนิยมของผูบ้ ริ โภค เป็ นต้น
3
ความหมายและกฎของอุปสงค์ (ต่ อ)
ข้อสังเกต
อุปสงค์ (demand) กับความต้องการทัว่ ๆไป(want) แตกต่างกัน
 อุปสงค์ เป็ นความต้องการที่มีอานาจซื้ อ (purchasing power) นัน
่ คือ
ผูบ้ ริ โภคจะต้องมีเงินเพียงพอและมีความเต็มใจทีจ่ ะจ่ ายซื้อ (ability and
willingness to pay) สิ นค้าและบริ การนั้น ๆ ด้วย

4
ความหมายและกฎของอุปสงค์ (ต่ อ)
กฎของอุปสงค์ (Law of demand)
กล่าวว่า ปริมาณสิ นค้ าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผบู้ ริ โภคต้องการซื้ อ
ย่อมแปรผกผัน (inverse relation) กับระดับราคาสิ นค้ าและบริ การชนิดนั้น ๆ เสมอ
ถ้ากาหนดให้สิ่งอื่น ๆ คงที่
เขียนเป็ นฟังก์ชนั ได้ดงั นี้
Qxd = f ( Px)
โดยที่
Qxd = ปริ มาณการซื้ อสิ นค้า X
Px = ราคาสิ นค้า X
5
กฎแห่งอุปสงค์ (Law of demand)
 หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าหรื อบริ การที่ผบ
ู้ ริ โภคต้องการ
ซื้อ จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงข้าม(แปรผกผัน)
- าวคือ
กับราคาสิ นค้า (....)กล่
ถ้าราคาสิ นค้าสู งขึน้  ผูบ้ ริ โภคจะซื้อสิ นค้ านั้นลดลง
ถ้าราคาสิ นค้าลดลง  ผูบ้ ริ โภคจะซื้อสิ นค้ านั้นเพิม่ ขึน้
P   Qd  อุปสงค์ ลด
P   Q  อุปสงค์ เพิม่
d
ต่อจากslideที่5
6
ความหมายและกฎของอุปสงค์(ต่ อ)
เหตุผลที่ Pxและ Qxd แปรผกผันกันคือ
1. ผลทางรายได้ (income effect)
Px Y
Qx
2.ผลทางการทดแทน (substitution effect)
Px Py คงที่ Qx
ความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริ มาณสิ นค้า นอกจากแสดงใน
รู ปของฟังก์ชนั่ อุปสงค์แล้ว ยังแสดงได้ในรู ปของตารางอุปสงค์
(demand schedule ) และสมการอุปสงค์ (demand equation )
7
ต่อจากslide6
สาเหตุที่เป็ นไปตามกฎของอุปสงค์
P x   Y   Q x
P x   Y   Q x
ผลทางด้ านรายได้
คือการเปลีย่ นแปลงรายได้ ทแี่ ท้ จริง(Y) ซึ่งวัดจากปริมาณสิ นค้ า
ทีไ่ ด้ รับหรือรายได้ ตวั เงินหารด้ วยราคาสิ นค้ า

สมมติว่ามีเงินอยู่ 10 บาทจะซื้อหมูปิ้งได้ กไี่ ม้
5
2
ถ้ า ราคา 5 บาท ซื้อได้ ................ไม้
ถ้ า ราคา 2 บาท ซื้อได้ .................ไม้

จะเห็นได้ ว่า เมือ่ ราคาสู งขึน้ จะซื้อได้ ...........เรียกว่ าอานาจซื้อลดลงหรือ
รายได้ ทแี่ ท้ จริงลดลง
10
รายได้ ทเี่ ป็ นตัวเงิน = …..บาท(คงเดิม)
10/2=5
10/5=2
P=5, รายได้ ทแี่ ท้ จริง = ……………….บาท(ลดลง)
P=2,รายได้ ทแี่ ท้ จริง = …………..บาท
8
ต่อจากslide6
สาเหตุที่เป็ นไปตามกฎของอุปสงค์
ผลทางการทดแทน
คือเมือ่ ราคาสิ นค้ าชนิดหนึ่งสู งขึน้ (หรือลดลง)ในขณะทีส่ ิ นค้ า
ชนิดอืน่ ๆซึ่งทดแทนกันได้ มรี าคาคงที่ ผู้บริโภคจะรู้ สึกว่ า
สิ นค้ านั้นมีราคาแพงขึน้ (หรือถูกลง) ส่ งผลต่ อการซื้อ

เช่ นหมูปิ้งราคาไม้ ละ 5 บาท กับไก่ ย่างราคาไม้ ละ 7 บาท
-ถ้ าหมูปิ้งราคาสู งขึน้ เป็ นไม้ ละ 10 บาท แต่ ไก่ ย่างราคาเท่ าเดิม
แล้ วหันมาซื้อไก่ ย่างแทน
ดังนั้นคนจะซื้อหมูปิ้ง.................
-ถ้ าหมูปิ้งราคาลดลงเป็ นไม้ ละ 3 บาท แต่ ไก่ ย่างราคาเท่ าเดิม

ดังนั้นคนจะซื้อหมูปิ้ง...................
P  Pอืน่ ๆคงเดิม  Q………


P  Pอืน่ ๆคงเดิม  Q………
9
ตารางอุปสงค์(Demand Schedule)
ราคาปากกาต่ อด้ าม (บาท)
ปริมาณซื้อ (ด้ าม)
50
40
30
20
10
2
6
10
14
18

 มาณสิ นค้ า (QD)…..
ราคา (P)….ปริ

10
เส้ นอุปสงค์ (Demand curve)
เมื่อนาตัวเลขจากตารางมา plot กราฟ จะได้เส้นอุปสงค์ (demand curve)
ดังรู ป
=P/Q
ราคาปากกา (P)
50
ความชัน=?
=P2-P1/Q2-Q1

40

P
30
Q
20
= 30-40/10-6
= -10/4
= -2.5


10

0
ปริมาณปากกา(Q)
2
6
10
14
18
ได้ เส้ นอุปสงค์ เส้ นที่ลาดลงจากซ้ ายไปขวา
ความชันเป็ นลบ
11
สมการอุปสงค์ (demand equation )
จากรู ป ความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริ มาณเป็ นไปในทิศทาง
ตรงกันข้าม และสัมพันธ์กนั ในเชิงเส้นตรง (linear relationship) เขียนใน
รู ปของสมการได้คือ
Qx d = a – b P x
a = ค่าคงที่ (constant)
b = ค่าสัมประสิ ทธิ์ (coefficient) แสดงถึงการ
เปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้ อสิ นค้า X เมื่อราคาสิ นค้า X เปลี่ยนแปลงไป
d
d
dQ

Q
x
ราคาเพิม่ ขึน้ 1 บาท จะซื้อลดลงกีห่ น่ วย
1 หน่วย = x =
Px
ราคาลดลง 1 บาท จะซื้อเพิม่ ขึน้ กีห่ น่ วย
dPx
=
4/10 = 0.4
แทนค่า b = 0.4 ในสมการอุปสงค์
Qxd = a – 0.4 P
12
สมการอุปสงค์ (demand equation )
แทนค่า P และ Q เพื่อหาค่า a เช่น แทน P = 40 , Q = 6 ในสมการ
Qd = a – 0.4 P
6 = a – 0.4 (40)
6 = a – 16
a = 16 + 6 = 22
สมการอุปสงค์ ปากกาคือ Qd = 22 – 0.4P
ค่าความชัน (slope) ของเส้นอุปสงค์ จะมีค่าเป็ นลบ เพราะความสัมพันธ์
ระหว่างราคาและปริ มาณซื้ อสิ นค้ามีทิศทางตรงกันข้าม หาได้จาก
slope = m = การเปลีย่ นแปลงของราคาสิ นค้ า = - 10/4 = -2.5
การเปลีย่ นแปลงของปริมาณ
ค่าความชันของอุปสงค์ (m) เป็ นส่ วนกลับกับค่า b เสมอ
13
เส้ นอุปสงค์ ทเี่ ป็ นเส้ นโค้ ง
* กรณีที่ราคาสิ นค้าและปริ มาณซื้อ สัมพันธ์ในเชิงเส้นตรง ค่าความชัน
จะคงที่ในทุกระดับราคา
* แต่ถา้ อัตราส่ วนของการเปลี่ยนแปลงราคาต่อการเปลี่ยนแปลง
ของปริ มาณซื้ อไม่คงที่ตลอดทั้งเส้น จะได้เส้ นอุปสงค์ เป็ นเส้ นโค้ ง
ซึ่งความชัน (slope) ไม่ คงทีด่ งั รู ป
ราคา
0
D
ปริมาณสิ นค้ า
14
สิ นค้าที่ราคาและปริ มาณซื้อเป็ นไปตามกฎของอุปสงค์
เรี ยกว่าสิ นค้ าปกติ (Normal goods)
บางกรณี ปริมาณซื้อมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน
กับราคาสิ นค้ า ได้แก่
1. สิ นค้ าอวดมั่งอวดมีหรือสิ นค้าโดดเด่ น (conspicuous goods)
2. สิ นค้ าสาหรับคนยากจน หรือ สิ นค้ ากิฟเฟ่ น (giffen goods)
3. การคาดคะเนราคาสิ นค้ า
15
เส้ นอุปสงค์ ทมี่ คี วามชันเป็ นบวก
เส้นอุปสงค์สาหรับสิ นค้า 3 กรณี ดงั กล่าวจะเป็ นเส้นที่ลาดลง
จากขวามาซ้ายหรื อมีความชันเป็ นบวก ดังรู ป
ราคา
0
D
ปริมาณซื้อ
16
อุปสงค์ ของปัจเจกชน กับอุปสงค์ ของตลาด
อุปสงค์สินค้าใดสิ นค้าหนึ่งของผูบ้ ริ โภคแต่ละคน เรี ยกว่า
อุปสงค์ส่วนบุคคล หรื ออุปสงค์ของปัจเจกชน (individual
demand)
ถ้ารวมปริ มาณความต้องการซื้อของผูบ้ ริ โภคแต่ละคน
ณ.ระดับราคาต่างๆเข้าด้วยกัน จะได้อุปสงค์ของตลาด
(market Demand) สาหรับสิ นค้าใดสิ นค้าหนึ่ง
17
อุปสงค์ ของปัจเจกชน กับอุปสงค์ ของตลาด
ปริ มาณความต้องการปากกาของผูบ้ ริ โภคในตลาดแห่ งหนึ่ ง
ราคาปากกา นารี (d1)
50
40
30
20
10
1
2
3
4
ปริ มาณความต้องการซื้ อ
วีณา(d2)
ตลาด(d1+d2)
2
5
8
11
14
2
6
10
14
18
18
ราคา
ราคา

50
50

40
30

30

20


20

10
0
วีณา

40
นารี
2
4
d1

10
ปริมาณ
0
2
4
6
8
10
12
14
d2
ปริมาณ
ราคา
50

ตลาด
40

30


20

10
0
2
4
6
8
10
12
14
16
18
D = d1 + d2
19
ปริมาณ
ปัจจัยกาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants)
หมายถึง ตัวแปรหรื อปั จจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิ พลต่อปริ มาณ
สิ นค้าที่ผบู ้ ริ โภคต้องการซื้ อ (quantity demanded) ปัจจัยที่สาคัญๆ
คือ
1. ราคาของสิ นค้านั้น
2. ระดับรายได้ของผูบ้ ริ โภค
3. ราคาของสิ นค้าชนิดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. รสนิยมของผูบ้ ริ โภค
5. การคาดคะเนราคาในอนาคต
6. จานวนประชากร
7. ฤดูกาล
20
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการกาหนดอุปสงค์

ราคาสิ นค้า(..........)

ราคาสิ นค้า ปริ มาณซื้อ............

ราคาสิ นค้า ปริ มาณซื้อ............
ต่อจากslide17
+,รายได้เฉลี่ยของครัวเรื อน(.............)
 BMW
รายได้ ปริ มาณซื้อ............
+
การคาดคะเนราคาสิ นค้าในอนาคต(...........)

คาดว่าราคาในอนาคต ปริ มาณซื้อในปัจจุบนั ............

คาดว่าราคาในอนาคต ปริ มาณซื้อในปัจจุบนั ............
21
ปัจจัยที่มีผลต่อการกาหนดอุปสงค์

ต่อจากslide17
ราคาสิ นค้าชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ราคาสิ นค้าที่ใช้
ประกอบกัน และราคาสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกัน
Pอืน่ ๆ


Qซื้อ
+ เช่นโค๊ก-แป๊ ปซี่
ราคาสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกัน(….)
..
 Q แป๊ ปซี่…
P โค๊ก  Q โค๊ก .......
- เช่น น้ ามัน-รถยนต์
ราคาสิ นค้าที่ใช้ประกอบกัน (….)
P รถยนต์ Q รถยนต์
....... Q น้ ามัน
….
22
ต่อจากslide17
ปัจจัยที่มีผลต่อการกาหนดอุปสงค์
+
รสนิ ยม(...........)

รสนิยม ปริ มาณซื้อ............

รสนิยม ปริ มาณซื้อ...........


จานวนประชากร เช่น
ถ้ าประชากรมากจะมีปริมาณการซื้อมากด้ วย
.................................................................
ฤดูหนาวจะมีปริมาณการซื้อเสื้อหนาวมาก
ฤดูกาล เช่น.................................................................
วันวาเลนไทน์ จะมีปริมาณการซื้อดอกไม้ มาก
23
ปัจจัยกาหนดอุปสงค์
ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณซื้อกับปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์
แสดงในรู ปของฟังก์ชนั่ อุปสงค์ได้ดงั นี้
Qx = f ( Px , X1 , X2 , X3 , …)
- Qx เป็ นตัวแปรตาม
- ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์เป็ นตัวแปรอิสระ (independent variable)
โดย Px เป็ นตัวกาหนดที่มีอิทธิพลต่อ Qx มากที่สุด
- จึงสามารถเขียนฟังก์ชนั่ อุปสงค์ได้วา่
Qx = f (Px) โดยปัจจัยอื่น ๆ คงที่
24
การเปลีย่ นแปลงปริมาณซื้อ และการเปลีย่ นแปลงอุปสงค์
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้อ (Changes in Quantity Demanded)
หมายถึงการเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้อ อันเนื่องมาจากการ
เปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้า โดยตัวกาหนดอุปสงค์อื่น ๆ คงที่
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้อจึงเป็ นการย้ายตาแหน่ง
จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบนเส้นอุปสงค์เดิม
ราคา
P1
P2
D1
D2
P3
D3
D
0
Q1
Q2
Q3
ปริมาณสิ นค้ า
25
การเปลีย่ นแปลงปริมาณซื้อ และการเปลีย่ นแปลงอุปสงค์
การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve)
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้ อ เมื่อปัจจัยอื่น ๆ
ที่กาหนดอุปสงค์เปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสิ นค้าคงเดิม ทาให้
ปริ มาณซื้ อเปลี่ยนแปลงโดยเส้นอุปสงค์จะเคลื่อนไปทั้งเส้น
ราคา
P1
A
C
D1
0
Q1
Q2
D2
-ปัจจัยใดที่ทาให้
ปริ มาณซื้ อเพิ่มขึ้น
เรี ยก อุปสงค์เพิ่ม
โดยเส้นอุปสงค์จะ
ย้ายไปทางขวา
-ปัจจัยใดที่ทาให้
ปริ มาณซื้ อลดลง
เรี ยก อุปสงค์ลด
โดยเส้นอุปสงค์จะ
ย้ายไปทางซ้าย
ปริมาณสิ นค้ า
26
ต่อจากslide20
เช่ นถ้ ารายได้ เฉลีย่ เพิม่ ขึน้
เพิม่
 นอุปสงค์...............
ทาให้ ปริมาณซื้อ..........เส้
Shift ขวา

+ เช่ นโค๊ก-แป๊ ปซี่
ราคาสิ นค้ าที่ใช้ ทดแทนกัน(….)
 Q แป๊ ปซี่…
. เส้ นอุปสงค์ ..............
เพิม่
P โค๊ ก  Q โค๊ ก .......
Shift ขวา
- เช่น นา้ มัน-รถยนต์
ราคาสิ นค้าที่ใช้ประกอบกัน (….)
 Q น้ ามัน
เพิม่ .
P รถ Q รถ.......
…เส้นอุปสงค์...........
Shift ขวา
อุปสงค์ เพิม่ Shift ขวา

สรุป
อุปสงค์ ลด Shift ซ้ าย
27

Change
ต่อจากslide20
ปัจจัย
a
P1
b
P2
Q1

P1
Q2
D1
Q1
Q2
Shift
ราคาสิ นค้ า(........)
ป.ป.
คงที่
+
รสนิยม(........)
คงที่
ป.ป.
รายได้ เฉลีย่ ของครัวเรือน
+
-สิ นค้ าปกติ(........)
คงที่
ป.ป.
ราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ ๆทีเ่ กี่ยวข้ อง
-ราคาสิ นค้ าทีใ่ ช้ ประกอบกัน
(........)
+
-ราคาสิ นค้ าทีใ่ ช้ ทดแทนกัน(........)
คงที่
ป.ป.
ฤดูกาล,จานวนประชากร,ราคา
+
อนาคต(........)
คงที่
ป.ป.
Shift
B
A
Change
D2
28
อุปทาน (Supply)
* ความหมายและกฎของอุปทาน
* ตารางอุปทาน เส้นอุปทานและสมการอุปทาน
* อุปทานของหน่วยผลิตและอุปทานของตลาด
* ปัจจัยที่กาหนดอุปทาน
* การเปลี่ยนแปลงปริ มาณขายและการ
เปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
29
ความหมายและกฎของอุปทาน
ความหมาย
อุปทานของสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง
ปริมาณสิ นค้ าและบริ การที่ผผู ้ ลิตเสนอขาย ณ ระดับราคาต่าง ๆ
ของสิ นค้านั้น ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกาหนดให้สิ่งอื่น ๆ
คงที่
กฎของอุปทาน(Law of supply)
กล่าวว่า ปริมาณสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผผู ้ ลิต
เสนอขายจะแปรผันโดยตรงกับราคาของสิ นค้าและบริ การชนิดนั้น
โดยสิ่ งอื่น ๆ คงที่
30
กฎแห่งอุปทาน(Law of Supply)
 หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าหรื อบริ การที่ผผ
ู้ ลิต
Qs ∞
f(P)
ต้องการขาย จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียว
+ กล่าวคือ
(แปรผันโดยตรง)กับราคาสิ นค้า(.........)
*ถ้าราคาสิ นค้าหรื อบริ การปรับราคาสู งขึ้น
ผูผ้ ลิตจะเต็มใจผลิตสิ นค้านั้นมากขึ้น
*ถ้าราคาสิ นค้าหรื อบริ การปรับราคาลดลง
ผูผ้ ลิตจะเต็มใจผลิตสิ นค้านั้นน้อยลง
P   Qs 
P   Qs 
อุปทานเพิม่
อุปทานลด
31
ฟังก์ ชันอุปทาน
จากกฎของอุปทาน สามารถเขียนเป็ นฟังก์ชนั ได้ดงั นี้
QXS = f ( PX)
โดยที่
QXS = ปริ มาณขายของสิ นค้า X
PX = ราคาสิ นค้า X
ปริ มาณเสนอขายสัมพันธ์กบั ราคาในทิศทางเดียวกัน คือ
QXS  PX
หรื อเขียนในรู ปคณิ ตศาสตร์ dQXS
PX
>0
32
ตารางอุปทาน เส้ นอุปทาน และสมการอุปทาน
ตารางอุปทาน (Supply schedule)
เป็ นการแสดงถึง ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าและบริ การ
ชนิดใดชนิดหนึ่ ง ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ในลักษณะของตัวเลข
คู่ลาดับ
ราคาปากกา(บาท) 
50
40
30
20
10
ปริ มาณเสนอขาย(ด้าม) 
14
12
10
8
6
33
เส้ นอุปทาน(supply curve)
เมื่อนาตัวเลขจากตารางมา plot กราฟ จะได้เส้นอุปทานดังรู ป
ราคา
S

50

40

30

20

10
0
ปริมาณ
2
4
6
8
10
12
14
เส้นอุปทานมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรงทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา มีความชันเป็ นบวก
34
เส้ นอุปทาน(supply curve)
ถ้าอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคา ต่อการเปลี่ยนแปลง
ของปริ มาณเสนอขาย ไม่ใช่อตั ราส่ วนเดียวกันตลอด เส้นอุปทาน
จะเป็ นเส้ นโค้ ง ดังรู ป
ราคา
0
S
ปริมาณขาย
35
สมการอุปทาน (supply equation)
กรณี ที่ราคาและปริ มาณเสนอขายสัมพันธ์ในเชิงเส้นตรง
(linear relationship) สมการอุปทาน (supply equation) คือ
QXS = c + d Px
QXS = ปริ มาณขายของสิ นค้า X
Px = ราคาสิ นค้า X
c = ค่าคงที่(จุดตัดบนแกนปริ มาณ)
d = ค่าสัมประสิ ทธิ์แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณเสนอขายสิ นค้ า Xเมื่อราคา X เปลีย่ นแปลงไป 1 หน่ วย
เท่ากับ dQXS/ dPx = 1/ slope
36
สมการอุปทาน (supply equation)
จากตารางอุปทานของปากกาจะได้วา่
d = dQXS/ dPx = 0.2
แทนค่า P และ Q คู่ใดคู่หนึ่งในสมการอุปทานเช่น P = 50,Q = 14
QXS = c + d Px
14 = c + 0.2 (50)
14 = c + 10
c = 4
ดังนั้นสมการอุปทานคือ QXS = 4 + 0.2 Px
ค่าความชันของเส้นอุปทานคือ ส่ วนกลับของ d = 1/0.2 = 5
37
อุปทานของหน่ วยผลิตกับอุปทานของตลาด
อุปทานของหน่ วยผลิต(Firm Supply) หมายถึง
ปริ มาณสิ นค้าที่ผู้ผลิตแต่ ละคนนาออกเสนอขายในตลาด
ณ .ระดับราคาต่าง ๆ กัน ในเวลาใดเวลาหนึ่ง
อุปทานของตลาด (Market Supply) หมายถึง
ปริ มาณสิ นค้าที่ผู้ผลิตทุกคนนามาเสนอขายในตลาด ณ.
ระดับราคาต่าง ๆ กัน ในเวลาใดเวลาหนึ่ง
การรวมอุปทานของหน่วยผลิต
38
อุปทานของหน่ วยผลิตกับอุปทานของตลาด

อุปทานของตลาดแห่งหนึ่ งมีผขู ้ ายปากกา 2 ราย คือ บริ ษทั A และบริ ษทั B ซึ่ ง
เสนอขายสิ นค้า ณ ระดับราคาต่าง ๆ ดังตาราง
ราคาปากกา
50
40
30
20
10
ปริ มาณเสนอขายของ ปริ มาณเสนอขายของ ปริ มาณเสนอขายของ
บริ ษทั A
บริ ษทั B
ตลาด(A+B)
6
5
4
3
2
8
7
6
5
4
14
12
10
8
6
39
ปัจจัยทีก่ าหนดอุปทาน
หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อปริ มาณสิ นค้าที่ผผู ้ ลิต
เสนอขายได้แก่
1.
ราคาของสิ นค้านั้น
2.
ราคาปัจจัยการผลิต
3.
เทคนิคการผลิต
4.
การคาดคะเนราคาสิ นค้า
5.
จานวนผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในตลาด
6.
นโยบายภาษีและเงินช่วยเหลือ
40
ปัจจัยที่มีผลต่อการกาหนดอุปทาน

โดยตรง (+) P   Q  หรือP   Q
ราคาสิ นค้า................................................................

สู ง ผลิตได้ มาก (+)
เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต.............................................
s
s

•ราคาปัจจัยการผลิต(ต้นทุนการผลิต)



ราคาปัจจัย  ต้ นทุนการผลิต.......
กาไร.......
Qs ….
(+) P   Q  หรือP   Q 
•การคาดคะเนราคาสิ นค้า………………………………….
e
s
e
s
41
ปั จจัยที่มีผลต่อการกาหนดอุปทาน
มาก ผลิตได้ มาก (+)
จานวนผูผ้ ลิตในตลาด.................................................
 อื่นๆเช่น
ผลิตได้ มาก (+)
-ฤดูกาล........................................................................
ผลิตได้ น้อย (-)
-ภัยธรรมชาติ..............................................................
ผลิตได้ น้อย (-)
-สงคราม......................................................................
ผลิตได้ น้อย (-)
-การนัดหยุดงาน.........................................................

-นโยบายรัฐ
ถ้ าส่ งเสริมการผลิต ผลิตได้ มาก (+)
ถ้ าไม่ ส่งเสริมการผลิต ผลิตได้ น้อย (-)
42
ปัจจัยทีก่ าหนดอุปทาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณเสนอขายกับปัจจัยที่กาหนด
อุปทาน แสดงได้ดว้ ยฟังก์ชนั่ อุปทาน (supply function) คือ
QXS = f ( PX, B1 , B2 , B3 , …)
ตามกฎของอุปทาน สามารถเขียนฟังก์ชนั่ อุปทานได้ดงั นี้
QXS = f ( Px ) โดยให้ปัจจัยอื่น ๆ คงที่
43
การเปลีย่ นแปลงปริมาณขาย และการเปลีย่ นแปลงระดับอุปทาน
ปัจจัย
Change
Shift
ราคาสิ นค้ า
ป.ป.
คงที่
นโยบายของรัฐ
คงที่
ป.ป.
เทคนิคที่ใช้ในการผลิต
คงที่
ป.ป.
ราคาปัจจัยการผลิต(ต้นทุนการผลิต)
คงที่
ป.ป.
จานวนผูผ้ ลิตในตลาด
คงที่
ป.ป.
อืน่ ๆ
คงที่
ป.ป.
อุปทานเพิม่ Shift ขวา
อุปทานลด Shift ซ้ าย
44
การเปลีย่ นแปลงปริมาณขาย และการเปลีย่ นแปลงระดับอุปทาน
 การเปลีย่ นแปลงปริมาณขาย(Changes in Quantity Supplied)
หมายถึง การเปลีย่ นแปลงปริมาณเสนอขาย
อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้ า โดย
ตัวกาหนดอุปทานอื่น ๆ คงที่
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณขายจึงเป็ นการย้ าย
ตาแหน่ งจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งบนเส้ นอุปทานเดิม
45
การเปลีย่ นแปลงปริมาณขาย
เดิมราคาสิ นค้าอยูท่ ี่ OP1 ปริ มาณเสนอขายเป็ น OQ1 ต่อมาราคาสิ นค้า
เพิ่มขึ้นเป็ น OP2 ปริ มาณเสนอขายเพิ่มขึ้นเป็ น OQ2 เป็ นการย้ายจากจุด a
ไปจุด b บนเส้นอุปทานเดิม
ราคา
S
P2
P1
0
b
a
Q1
Q2
ปริมาณ
46
การเปลีย่ นแปลงระดับอุปทาน
การเปลีย่ นแปลงระดับอุปทาน(Shifts in Supply)
หรื อการเลื่อนของเส้นอุปทาน หมายถึงการเปลีย่ นแปลง
ปริมาณขาย เมื่อปัจจัยอืน่ ๆทีก่ าหนดอุปทาน มีการ
เปลีย่ นแปลง ในขณะทีร่ าคาสิ นค้ าคงเดิม จะมีผลทาให้
ปริ มาณเสนอขายเปลี่ยนแปลง โดยเส้ นอุปทานจะเลือ่ น
ไปทั้งเส้ น
47
การเปลี่ยนแปลงระดับของอุปทาน
-คือการที่ปัจจัยตัวอืน่ ๆเปลีย่ น ขณะทีร่ าคาสิ นค้าชนิดนั้นยังคง
เดิม
-เส้ นอุปทานจะเคลือ่ นย้ ายทั้งเส้ นเรียกว่ า Shift in the
Supply curve
-ปัจจัยใดทีท่ าให้ ปริมาณขายเพิม่ ขึน้ เรียก อุปทานเพิม่
โดยเส้ นอุปทานจะย้ ายไปทางขวา
-ปัจจัยใดทีท่ าให้ ปริมาณขายลดลงเรียก อุปทานลด
โดยเส้ นอุปทานจะย้ ายไปทางซ้ าย
48
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน
เช่ นการออกเรือจับปลามีนา้ มันเป็ นวัตถุดิบสาคัญของการขนส่ ง



*ถ้ าราคานา้ มันต้นทุน….ออกเรื
อ……..จั
บปลาได้ ......
อุปทานลด
*เทคนิคการผลิตสู ง ผลิตได้ มาก  อุปทานเพิม่
49
การเปลีย่ นแปลงระดับอุปทาน
ราคา
S1
S2
P1
0
Q1
Q2
ปริมาณ
จากรู ป เส้ นอุปทานของผู้ผลิต เลือ่ นจากS1 เป็ น S2 เนื่องจากมีการ
ปรับปรุ งเทคนิคการผลิตให้ มปี ระสิ ทธิภาพดีขนึ้ ผู้ผลิตสามารถผลิตสิ นค้ า
ได้ มากขึน้ ณ ทุกระดับราคา ดังนั้น ณ ระดับราคา OP1 เดิม ปริมาณเสนอขาย
เพิม่ ขึน้ จาก OQ1 เป็ น OQ2
50
กราฟการเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

Change

Shift
S2 S
1
S
b
P2
P1
P1
b
a
c
a
Q1 Q2
Q2
Q1
Q3
51
S3
การกาหนดราคาและดุลยภาพของตลาด
- ในตลาดที่มีการแข่งขัน ราคาสิ นค้ าจะถูกกาหนดโดย
อุปสงค์ และอุปทานของตลาดสิ นค้ าชนิดนั้น
- ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพจะเกิดขึ้น
พร้อมกัน ณ ระดับทีป่ ริมาณซื้อและปริมาณขายเท่ ากันพอดี
เรี ยกสภาวะดังกล่าวว่า ดุลยภาพของตลาด (market equilibrium)
- สภาวะดุลยภาพเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะคงอยู่ตลอดไป
ตราบใดที่อุปสงค์ และอุปทานไม่ เปลีย่ นแปลง
- ณ.ระดับราคาใดที่อยู่สูงหรือต่ากว่ าราคาดุลยภาพ จะ
อยูไ่ ด้ไม่นาน ต้องมีการปรับตัวเข้ าสู่ ราคาดุลยภาพ ซึ่งเป็ นการ
ปรับตัวตามกลไกของระบบราคา (price system)
52
การพิจารณาดุลยภาพของตลาดจากตาราง
ตารางอุปสงค์ และอุปทานของตลาดปากกา
ราคา (บาท)
อุปสงค์ (ด้ าม)
Qd
50
2
อุปทาน (ด้ าม)
สิ นค้ าในตลาด
แนวโน้ มของราคา
อุปทานส่ วนเกิน=12
ลดลง
Qs
14
Q s > Qd
40
6
12
อุปทานส่ วนเกิน=6
ลดลง
30
10
10
ดุลยภาพ
ไม่ เปลีย่ นแปลง
Qs = Qd
20
14
8
อุปสงค์ ส่วนเกิน=6
เพิม่ ขึน้
10
18
6
อุปสงค์ ส่วนเกิน=12
เพิม่ ขึน้
Qd > Qs
53
การพิจารณาดุลยภาพของตลาดจากกราฟ
เกิดดุลยภาพ เรี ยกว่า Equilibrium
30 บาท
ณ เส้น D = เส้น S จะได้ราคาดุลยภาพ คือ …….
10 บาท
และปริ มาณดุลยภาพ คือ …….
จากตารางนามาสร้
างเป็ นกราฟได้ ดังรู ป
ราคา
50
ราคาดุลยภาพ

S

excess supply

40

E
30

20

excess
demand

10
0
2
4
6
8
10
12
ปริมาณ
ดุลยภาพ

D
ปริมาณ
14
16
18
54
การปรับตัวของอุปสงค์และอุปทาน
(กรณี เกิดอุปทานส่ วนเกิน;excess supply)
คือผู้ผลิตเสนอขายสิ นค้ ามากเกินกว่ าผู้บริโภคยินดีซื้อ
P
ถ้ าราคาสู งกว่ าดุลยภาพ
=6
S
Excess Supply
40
เช่ น ราคา 40 บาท
6 s=.……
12
Qd =……..,Q
E
คือ Qs …..> Qd
12 - 6 = 6
เรียกอุปทานส่ วนเกิน=…………
D
Q
0
6
Qd
12
<
การปรับตัว : ราคาลดลง
จนเข้ าสู่ ดุลยภาพ
Qs
55
การปรับตัวของอุปสงค์ และอุปทาน
(กรณีเกิดอุปสงค์ ส่วนเกิน;excess demand)
ถ้ าผู้ผลิตมีปริมาณสิ นค้ าออกขายน้ อยเกินไป ไม่ เพียงพอต่ อความต้ องการของผู้ซื้อ
P
ถ้ าราคาต่ากว่ าดุลยภาพ
S
เช่ น ราคา 20 บาท
14 s=.……
8
Qd =……..,Q
E
< Qd
คือ Qs …..
20
14-8 = 6
เรียกอุปสงค์ ส่วนเกิน=…..……
=6
Excess Demand
D
Q
0
8
Qs
14
<
การปรับตัว : ราคาสู งขึน้
จนเข้ าสู่ ดุลยภาพ
Qd
56
การพิจารณาดุลยภาพของตลาดจากสมการ
ตัวอย่างเช่น กาหนดให้ตลาดละมุดแห่ งหนึ่ ง
- อุปสงค์ตลาดประกอบด้วยผูบ้ ริ โภค 2 คน คือ นาย ก และ นาย ข
อุปสงค์ของนาย ก Qกd = 12 – 3/2P = 12 – 1.5 P
อุปสงค์ของนาย ข Qขd = 20 –1/2 P = 20 – 0.5 P
อุปสงค์ตลาดของละมุด Qd = Qกd + Qขd
Qd = 32 – 2P --------- (1)
- อุปทานตลาดประกอบด้วย ผูผ้ ลิต 2 ราย คือ นาย ค และ นาย ง
อุปทานของ นาย ค Qคs = –10 + 0.8P
อุปทานของ นาย ง
Qงs = 6 + 0.2P
อุปทานตลาดของละมุด Qs = Qคs + Qงs
Qs = – 4 + P --------- (2)
57
การพิจารณาดุลยภาพของตลาดจากสมการ
หาดุลยภาพของตลาด เงื่อนไขดุลยภาพคือ
ปริ มาณอุปสงค์ = ปริ มาณอุปทาน
Qd = Qs
32 – 2P = – 4 + P
– 2P- P = – 4 – 32
-3P = - 36
3P = 36
P = 36 / 3 = 12………………….***
แทนค่า P = 12 ในสมการที่ (1) หรื อ (2)
จะได้ Qd = 32 – 2P = 32 – 2(12) = 32 – 24 = 8 หน่วย
Qs = – 4 + P = – 4 + 12 = 8 หน่วย
Q = 8 หน่ วย…………………………***
58
ดุลยภาพของตลาด
จากสมการอุปสงค์และอุปทานของตลาด นามาสร้างเส้นอุปสงค์
และอุปทาน แสดงดุลยภาพของตลาดได้ดงั รู ป
ราคา
S
16
ราคาดุลยภาพ
14
E
12
จุดดุลยภาพ
10
8
6
4
2
–4
D
0
4
8 12 16 20 24
ปริมาณ
ดุลยภาพ
ปริมาณ
28 38
59
การเปลีย่ นแปลงดุลยภาพของตลาด (Change in Equilibrium)
ดุลยภาพของตลาดจะเปลี่ยนแปลง เมื่ออุปสงค์หรื ออุปทาน
ของตลาดเปลี่ยนแปลง ซึ่งแยกเป็ น 3 กรณี คือ
1. เมื่ออุปสงค์เปลี่ยนแปลงโดยอุปทานคงที่
2. เมื่ออุปทานเปลี่ยนแปลง โดยอุปสงค์คงที่
3. เมื่ออุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลง
60
เมือ่ อุปสงค์ เปลีย่ นแปลงโดยอุปทานคงที่
ถ้าปัจจัยต่าง ๆ ที่กาหนดอุปสงค์เปลี่ยน ทาให้เส้นอุปสงค์
เปลี่ยนแปลงไป ดุลยภาพของตลาดจะเปลี่ยนแปลงดังรู ป
ราคา
S0
P1
P0
P2
E1
E0
E2
D1
0
D2
Q2
Q0
Q1
D0
ปริมาณ
61
การเปลีย่ นแปลงสมดุลของตลาด
1.เกิดจากเส้ นอุปสงค์ เปลีย่ นแปลง(เส้ นอุปทานคงที่)
P
เมือ่ มีอุปสงค์ เพิม่
E1
12
ขวา
เส้ นอุปสงค์ จะย้ ายไปทาง............
S
จากเส้ น D0 ไปเป็ นเส้ น D1
จุดดุลยภาพย้ ายจาก E0 ไปเป็ น E1
E0
8
= จาก 8 เป็ น 12
ผลคือราคา(P) ……………………
D1
D0
0
10
20
= จาก 10 เป็ น 20
ปริมาณ(Q)………………….
Q
ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ
สู งขึน้
62
การเปลีย่ นแปลงราคาและปริมาณดุลยภาพ
เกิดจากเส้ นอุปสงค์ เปลีย่ นแปลง(เส้ นอุปทานคงที)่
P
เมือ่ มีอุปสงค์ ลด
S
ซ้ าย
เส้ นอุปสงค์ จะย้ ายไปทาง............
E0
8
จากเส้ น D0 ไปเป็ นเส้ น D2
จุดดุลยภาพย้ ายจาก E0 ไปเป็ น E2
E2
4
= จาก 8 เป็ น 4
ผลคือราคา(P)…………….…..…
D0
D2
0
5
10
Q
= จาก 10 เป็ น 5
ปริมาณ(Q)……………………
ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ
ลดลง
สรุ ป ถ้าอุปสงค์เพิ่ม ราคาและปริ มาณดุลยภาพจะเพิ่ม
ถ้าอุปสงค์ลด ราคาและปริ มาณดุลยภาพจะลด
63
เมือ่ อุปทานเปลีย่ นแปลง โดยอุปสงค์ คงที่
ถ้าปัจจัยต่าง ๆ ที่กาหนดอุปทานเปลี่ยนทาให้เส้นอุปทาน
เปลี่ยนแปลงไป ดุลยภาพของตลาดจะเปลี่ยนแปลงดังรู ป
ราคา
S2
S0
S1
P2
P0
P1
E2
E0
E1
D0
0
Q0
Q1
Q2
ปริมาณ
64
2.เกิดจากเส้ นอุปทานเปลีย่ นแปลง(เส้ นอุปสงค์คงที่)
P
เมือ่ มีอุปทานเพิม่
ขวา
เส้ นอุปทานจะย้ ายไปทาง............
S0
8
จากเส้ น S0 ไปเป็ นเส้ น S1
S1
จุดดุลยภาพย้ ายจาก E0 ไปเป็ น E1
E0
E1
= จาก 8 เป็ น 6
ผลคือราคา(P)……………………
6
= จาก 10 เป็ น 15
ปริมาณ(Q)…………………
D
Q
0
10 15
ราคาดุลยภาพลดลง
ปริมาณดุลยภาพสู งขึน้
65
2.เกิดจากเส้ นอุปทานเปลีย่ นแปลง(เส้ นอุปสงค์คงที่)
P
S2
เมือ่ มีอุปทานลด
ซ้ าย
เส้ นอุปทานจะย้ ายไปทาง............
12
S0
E2
จากเส้ น S0 ไปเป็ นเส้ น S2
จุดดุลยภาพย้ ายจาก E0 ไปเป็ น E2
E0
8
 12
ผลคือราคา(P)…..=……
D
Q
0
4
 4
ปริมาณ(Q)…..=………
ราคาดุลยภาพสู งขึน้
ปริมาณดุลยภาพลดลง
10
สรุ ป ถ้าอุปทานเพิ่ม ราคาจะลดแต่ปริ มาณดุลยภาพจะเพิ่ม
ถ้าอุปทานลด ราคาจะเพิ่มแต่ปริ มาณดุลยภาพจะจะลด
66
เมือ่ อุปสงค์ และอุปทานเปลีย่ นแปลง
ถ้าทั้งอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงพร้อมกัน ซึ่งพิจารณาได้
หลายกรณี กล่าวคือ
 อุปสงค์และอุปทานเพิม
่ ขึ้น
 อุปสงค์เพิ่มขึ้น แต่อุปทานลดลง
 อุปสงค์ลดลง แต่อุปทานเพิม
่ ขึ้น
 อุปสงค์และอุปทานลดลง
แต่ละกรณี จะมีผลทาให้ราคาและปริ มาณดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไป
อย่างไร ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของการเปลี่ยนแปลง
67
อุปสงค์ และอุปทานเพิม่ ขึน้
สรุ ป ถ้าอุปสงค์และอุปทานเพิ่ม ปริ มาณดุลยภาพจะเพิ่ม แต่ราคาอาจจะเพิ่ม
หรื อลดหรื อเท่าเดิมก็ได้
ราคา
S0 S
1
P1
P0
D1
0
Q0
Q1
ราคา
D0 ปริมาณ
S0
S1
P0
P1
0
Q0
Q1
ราคา
D1
D0 ปริ มาณ
S0
S1
P0
0
Q0
Q1
D1
D0 ปริมาณ
อุปสงค์เพิม่ ขึน้ มากกว่า
อุปทานเพิม่
P Q
อุปสงค์เพิม่ ขึน้ น้ อยกว่า
อุปทานเพิม่
P Q
อุปสงค์เพิม่ เท่ ากับ
อุปทานที่เพิม่ ขึน้
P คงที(่ เท่ าเดิม) Q
68
สรุปผลทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงดุลยภาพ
กรณี
ราคาดุลยภาพ
ปริมาณดุลยภาพ
อุปสงค์ เปลีย่ น
-อุปสงค์ เพิม่
-อุปสงค์ ลด
เพิ่มขึ้น
ลด
เพิ่มขึ้น
ลด
อุปทานเปลีย่ น
-อุปทานเพิม่
-อุปทานลด
ลด
เพิม่ ขึ้น
เพิ่มขึ้น
ลด
แล้วแต่กรณี
แล้วแต่กรณี
อุปสงค์ และอุปทานเปลีย่ น
69
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และอุปทาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
หมายถึง อัตราส่ วนร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณซื้อ
ต่อร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้า
ซึ่งมีสูตรคานวณ
ค่าความยืดหยุน่ ต่อราคา = ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณซื้ อ
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคา
Ed = %
Q
%
P
ถ้าราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงไป 1 % จะทาให้ปริ มาณซื้ อเปลี่ยนแปลงไปกี่%
70
(1)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคา
% Q > % P
มาก
ค่ า Ed > 1  มีความยืดหยุ่น
% Q = % P
คงที่
ค่ า Ed = 1  มีความยืดหยุ่น
% Q < % P
น้ อย
ค่ า Ed < 1  มีความยืดหยุ่น
! 1. ค่า Ed มีเครื่ องหมายเป็ นลบเสมอ แสดงถึงความสัมพันธ์ของราคาและปริ มาณซื้อทิศทางตรงข้ามเท่านั้น
2. การเปรี ยบเทียบค่า Ed จะไม่คิดเครื่ องหมายเช่น -2 กับ -3
3. การคานวณค่า Ed จากจุด A ไปจุด B หรื อ จากจุด B ไปจุด A มีค่าเท่ากันเสมอ
71
การคานวณค่าความยืดหยุน่ ต่อราคา
Ed = Q1 - Q2
Q1 + Q2
P1 - P2
P1+ P2
P
5
3
A
B
Q
40 60
72
P
Ed = 40 - 60
40 + 60
5-3
5+ 3
Ed = - 0.20
0.25
P1
A
5
B
3
P2
= - 0.5
Q
40 60
Q1
Q2
หากราคาเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 1 จะทาให้ปริ มาณซื้ อเปลี่ยนแปลง
ไปร้อยละ 0.5 โดยเฉลี่ย
คือถ้ าราคาลดลง 1% จะทาให้ ปริมาณซื้อ เพิม่ ขึน้ 0.5 %
และเนื่องจากเปอร์ เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริ มาณซื้ อน้อยกว่า
เปอร์ เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา แสดงว่าอุปสงค์ต่อราคาในช่วงนี้มีความยืดหยุน่ น้อย
73
ลักษณะเส้นอุปสงค์ต่างๆมีผลต่อค่าความยืดหยุน่
P
P
Ed = 0
Ed = ∞
4
1
Q
Q
0<Ed < 1
2
5
Q
3
1 <Ed < -∞
Q
Ed = 1
Q
74
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และรายรับรวม
รายรับรวม(Revenue) จากการขายสิ นค้ าของผู้ผลิต ก็คอื รายจ่ าย
รวมจากการซื้อสิ นค้ าของผู้บริโภค

รายรับรวม = ราคาสิ นค้ า  ปริมาณซื้อ

TR = P  Q (TR = Total Revenue)
 เมื่อราคาสิ นค้ าเปลีย่ นแปลงจะทาให้ ปริ มาณซื้อของผู้บริโภค
เปลีย่ นแปลงไปในทิศทางตรงข้ าม
 การเปลีย่ นแปลงของรายรับรวมอาจเพิม
่ ขึน้ หรือลดลงก็ได้ ขึน้ อยู่
กับค่ าความยืดหยุ่นของอุปสงค์

75
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และรายรับรวม
 เมื่อราคาสิ นค้ าเปลีย่ นแปลง
รายรับรวมจะเปลีย่ นแปลง
อย่ างไรขึน้ อยู่กบั ค่ าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ พิจารณาได้ ดงั นี้
กรณีที่ 1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคามีค่าน้ อย (Ed < 1)
หมายความว่ า % Q < % P
เมื่อP Q ในสั ดส่ วนที่น้อยกว่ า ทาให้ TR 
P Q ในสั ดส่ วนที่น้อยกว่ า ทาให้ TR
76
อุปสงค์ทม
ี่ ค
ี วามยืดหยุน
่ น ้อยกว่า 1
P ป.ป Q ป.ป.น้ อย
P
P1
% Q < % 
P
A
มีค่า 0< ED < 1
P
P2
ได้ เส้ นอุปสงค์ ค่อนข้ างชัน
B
ดังนั้นราคากับรายรับมีความสั มพันธ์ ทศิ ทาง
เดียวกัน
D
0
Q1 Q 2
Q
เมือ่ P ทาให้ TR 
P ทาให้ TR
Q
77
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และรายรับรวม
กรณีที่ 2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเท่ ากับ 1 (Ed = 1)
หมายความว่ า %Q = % P
เมื่อ P  Q  ในสั ดส่ วนเดียวกัน TR*(เท่ าเดิมคงที)่
กรณีที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่ามาก(Ed > 1)
หมายความว่ า %Q >% P
เมื่อP Q  ในสั ดส่ วนที่มากกว่ า ทาให้ TR 
P Q ในสั ดส่ วนที่มากกว่ า ทาให้ TR
78
อุปสงค์ทม
ี่ ค
ี วามยืดหยุน
่ เท่ากับ 1 ตลอดทัง้ เสน้
P ป.ป Q ป.ป.เท่ ากัน
P
A
P1
P
B
P2
0
% Q = % P
ได้ เส้ นอุปสงค์ เป็ นเส้ นโค้ งแบบ
Rectangular hyperbolar
มีพนื้ ทีใ่ ต้ กราฟเท่ ากันตลอด
D
Q
Q1
Q2
Q
ดังนั้นรายรับหรือรายจ่ ายจะเท่ าเดิมไม่ ว่าราคา
จะเพิม่ ขึน้ หรือลดลงก็ตาม
79
อุปสงค์ทม
ี่ ค
ี วามยืดหยุน
่ มากกว่า 1
P ป.ป Q ป.ป.มาก
P
% Q > % P
P1
มีค่า ( 1 < EDP < ∞ )
A
ได้ เส้ นอุปสงค์ ค่อนข้ างลาด
P
B
P2
รายจ่ ายผู้บริโภค คือรายรับผู้ผลิต
D
0
Q
Q1
Q2
Q
ได้ ว่า ถ้ าราคาลด รายรับเพิม่
ถ้ าราคาเพิม่ รายรับลด
ดังนั้นราคากับรายรับมีความสั มพันธ์ ทศิ
ทางตรงข้ าม
80
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และรายรับรวม
ความสั มพันธ์ ระหว่ างความยืดหยุ่นและรายรับรวมสรุปเป็ นตารางได้ ดังนี้
ความยืดหยุ่น
การเปลีย่ นแปลงของราคา(P)
(P)
(P)
ความยืดหยุ่นมาก (Ed > 1)
TR 
TR 
ความยืดหยุ่นคงที่ (Ed = 1 )
TR คงที่
TR คงที่
ความยืดหยุ่นน้ อย (Ed < 1)
TR 
TR 
จากตารางจะเห็นได้ ว่า การทีผ่ ู้ผลิตขึน้ ราคาสิ นค้ า มิได้ ทาให้ รายรับรวมเพิม่ ขึน้ เสมอไป
- ถ้ าอุปสงค์ มคี วามยืดหยุ่นมาก ผู้ผลิตควรลดราคา รายรับรวมจึงเพิม่ ขึน้
- ถ้ าอุปสงค์ มคี วามยืดหยุ่นน้ อย ผู้ผลิตควรขึน้ ราคา รายรับรวมจึงเพิม่ ขึน้
81
ปัจจัยต่างๆที่กาหนดค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
สิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ มาก
มีสินค้ าอืน่ ๆใช้ แทนได้ มากและง่ าย
เช่ น นา้ อัดลม นมสด สบู่ ผงซักฟอก

สิ นค้ านั้นเป็ นสิ นค้ าคงทน
เช่ น รถยนต์ ทีอ่ ยู่อาศัย เครื่องใช้ ไฟฟ้ า เฟอร์ นิเจอร์

สิ นค้ านั้นราคาแพงมาก หรือสิ นค้ าฟุ่ มเฟื อย
เช่ น เครื่องสาอาง เครื่องประดับเพชรพลอย ทีน่ ั่งดูหนัง
ระดับ first class บ้ านพักตากอากาศ

สิ นค้ าทีม่ คี วามยืดหยุ่นน้ อย
สิ นค้ าทีจ่ าเป็ นในการดารงชี พ หรือ
ทดแทนกันได้ น้อย
เช่ น ยารักษาโรค อาหารหลัก
 มีสินค้ าทีใ่ ช้ แทนได้ ยาก
เช่ น นา้ มัน
 สิ นค้ าราคาต่า เช่ น ไม้ ขด
ี ไฟ

ดินสอ ปากกา ค่ ารถเมล์
82
ความยืดหยุน่ ของอุปทาน
ความยืดหยุน่ ของอุปทานต่อราคา
หมายถึง อัตราส่ วนร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณการ
เสนอขาย ต่อร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสิ นค้า
ซึ่งมีสูตรคานวณ
ค่าความยืดหยุน่ ต่อราคา = ร้อยละเปลี่ยนแปลงของปริ มาณเสนอขาย
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคา
Es = %
%
Q
P
83
การคานวณค่าความยืดหยุน่ อุปทานต่อราคา
Es = Q1 - Q2
Q1 + Q2
S
P
10
P1 - P2
P1+ P2
6
A
B
50 80
Q
84
Es = 80 - 50
80 + 50
10 - 6
10 + 6
Es =
P
S
P1
P2
10
6
A
B
0.23
= 0.92
50
Q2
0.25
หากราคาเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 1 จะทาให้ปริ มาณเสนอขาย
เปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 0.92 โดยเฉลี่ย และเนื่องจาก
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริ มาณเสนอขายน้อยกว่า
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา แสดงว่าอุปทานในช่วงนี้
มีความยืดหยุน่ น้อย
Q
80
Q1
85
ลักษณะเส้นอุปทานต่างๆมีผลต่อค่าความยืดหยุน่
P
สิ นค้ าเกษตร
P
Es = 0
Es = ∞
4
1
อุตสาหกรรม
Q
Q
0<Es < 1
1<Es < ∞
2
5
Q
ระยะผลิตสั้ น
ระยะผลิตยาว
Q
Es = 1
3
Q
86