ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Download
Report
Transcript ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
พัฒนาการ แนวคิด และแนวปฏิบตั ิ
ในย ุดโลกาภิวฒ
ั น์
โดย
ดร.ธันวา จิตต์สงวน
อน ุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
และรองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เกี่ยวกับผูบ้ รรยาย
ดร.ธันวา จิตต์สงวน
รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• การศึกษา- วท.บ.(เศรษฐศาสตร์เกษตร) ร.บ.(รัฐประศาสนศาสตร์)
M.A.(Econ) Cert. (Res Econ) Ph.D.(Econ) Post Grad. Study (Envi Econ)
ประกาศนียบัตรผูบ้ ริหารระดับสูงมหาวิทยาลัย รนุ่ ที่ 19 และ
ประกาศนียบัตรชัน้ สูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รนุ่ ที่ 8
• ประสบการณ์- หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ประธานโครงการสห
วิทยาการ รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และรองอธิการบดีฝ่าย
โครงการพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• ปัจจุบนั - อาจารย์พิเศษ AIT, รร.เสนาธิการทหารบก นักวิชาการประจา
กรรมาธิการเกษตรรัฐสภา คณะกรรมการ ธ ประสงค์ใดและ
คณะอน ุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
แนวการบรรยาย
ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ
• เหต ุผลของการมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• เนื้อหาสาระ เงื่อนไข และเป้าหมายของปรัชญา
• การประย ุกต์ใช้ปรัชญาสาหรับบ ุคคล องค์กร และสังคม
• การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสูโ่ ลกาภิวฒ
ั น์
1. เหต ุผล
ของการมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
“…ถ้าทุกท่านซึ่งถือว่า เป็ นผูท้ ่ีมีความคิดและมีอิทธิ พล มี
พลังที่จะทาให้ผูอ้ ่ืน ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษา
ส่วนรวมให้อยูด
่ ีกินดีพอสมควร ขอยา้ พอควร พออยูพ
่ อ
กิน มีความสงบ ไม่ให้ใครมาแย่งคุณสมบัติน้ จี ากเราไปได้
ก็จะเป็ นของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคณ
ุ ค่าอยูต่ ลอด
กาล…”
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว
ว่าด้วยการพัฒนาที่ยงั่ ยืน:
จุดหมายแห่งอ ุดมคติ
(Towards the Sustainable Development)
Treats the earth well. It does not
belong to you by your parent. It is
loaned to you by your children.
proverb
…....Kenyan
จงด ูแลโลกใบนี้ให้ดี เพราะมันมิใช่มรดกตกทอดมาจากบรรพ
บ ุร ุษของเรา หากแต่เราขอยืมมาจากล ูกหลานของเรา
ต่างหาก
กระแสโลกาภิวฒ
ั น์ (Globalization Trend) :
แนวโน้มการพัฒนาของโลก
•
•
•
•
การส่งเสริมประชาธิปไตย (Democratic promotion)
การปกป้องสิทธิมน ุษยชน (Human right protection)
การขยายตัวของการค้าเสรี (Free trade expansion)
การอน ุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (Natural
resources and environment conservation)
ผลกระทบของโลกาภิวฒ
ั น์
• โอกาส (+) ในการปรับเปลี่ยน ปรับปร ุงประสิทธิภาพ เพื่อ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ขยายตลาด ตาม
มาตรฐานโลก
• อุปสรรค (-) ในการถ ูกเอาเปรียบ ขาดท ุนใหญ่กว่า จาก
มาตรฐานสูงกว่า ไม่สามารถแข่งขันได้ ถ ูกยึดครองด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
โลก 4 มิติของเราในปัจจุบัน
• โลกเล็ก-- ความเชื่อมโยงของผลกระทบต่อกันทางเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของท ุกประเทศ
• โลกเร็ว-- การส่งผ่านท ุนและข่าวสารข้อมูลถึงกันโดยทันทีผา่ น
เทคโนโลยีสารสนเทศ
• โลกร้อน ---การเปลี่ยนแปลงโดยทัว่ ไปของท ุกประเทศจาก
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง
อ ุณหภ ูมิสงู ขึ้น น้าท่วม ไฟไหม้ แผ่นดินไหว โรคระบาด
• โลกร้าย---โรคบิดใหม่ โรคระบาดสายพันธใ์ ุ หม่ เชื้อโรคใหม่
และภัยจากการก่อการร้ายแบบใหม่
ใคร่ครวญถึงแนวทางหลักในการพัฒนา
ประเทศไทยที่ผา่ นมา:
5 Decades of National Development Direction
• การทดแทนการนาเข้า (Import substitution 1960 - 70)
• การส่งเสริมการส่งออก (Export promotion 1970 - 80)
• การเป็นประเทศอ ุตสาหกรรมใหม่ (Newly
industrialized country 1980 - 90)
• การเข้าสูโ่ ลกาภิวฒ
ั น์ (Globalization 1990 - 2000)
• การใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency
Economy (2000 - ?)
ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมที่มีอยูใ่ นปัจจุบัน
•
•
•
•
•
•
•
ปัญหาระบบนิเวศน์และสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม
ปัญหาผลิตภาพตกต่าและต้นท ุนสูง
ปัญหาขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสม ปลอดภัย และแข่งขันได้
ปัญหาส ุขภาพผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค และของสังคม
ปัญหาหนี้สินมากขึ้นและการกระจายรายได้เลวลง
ปัญหาการจัดการองค์ความรท้ ู ี่มีอยูไ่ ม่มีประสิทธิภาพ
ปัญหาคตินิยมของสังคมไทยรนุ่ ใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไป
วิกฤติเศรษฐกิจ“ต้มยากง้ ุ ”๒๕๔๐:
จ ุดเปลี่ยนประเทศไทย
• การพัฒนาประเทศไทยก่อเกิดภาระหนี้สินมากมาย จากกระแส
เศรษฐกิจฟองสบู่ ต้องใช้เงินกจ้ ู ากกองท ุนรวมระหว่างประเทศ
(IMF) พร้อมเงื่อนไข
• นาไปสูก่ ารปฏิร ูประบบภาคส่วนของสังคมต่างๆมากมาย อาทิ
รัฐธรรมนูญ การเมือง สถาบันการเงิน ระบบการศึกษา การ
กระจายอานาจสูท่ อ้ งถิ่น ฯลฯ
• สังคมไทยได้รบั พระราชทานแนวคิดและแนวปฏิบตั ิ เรียกว่า
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สังคมไทย คือ สังคมที่ขาดความสมด ุล
• สร ุป คือ สังคมไทยที่พฒ
ั นาแบบไม่สมด ุล ไม่เท่าเทียม ไม่
มัน่ คง และอาจนาไปสูค
่ วามไม่ยงั่ ยืน
• สังคมไทย มีช่องว่างทางรายได้ ความร ้ ู กฎหมาย และการ
ได้รบั โอกาส ที่แตกต่างกันมาก
• ในสังคมไทย นึกถึง...ความไม่สมด ุล ได้ง่ายกว่า ความสมด ุล
• สังคมไทย จาเป็นต้องมีกรอบความคิดและการปฏิบตั ิที่
ประนีประนอม ประคับประคองสังคมไทย ด้วยความเข้าใจ
“เขา”ว่า “เรา” จริงหรือไม่ ?
•
•
•
•
ขี้โม้- ชอบสร้างภาพ ไม่เน้นความจริง
ขี้เกียจ- ไม่อดทน ไม่ชอบเรียนร ้ ู ไม่ยอมปรับปร ุง
ขี้อิจฉา- ทางานเชิงบูรณาการไม่เป็น
ขี้โกง- ท ุจริต คอรัปชัน่ รัว่ ไหล
เรียนรูจ้ ุดแข็งของประเทศไทย: ภูมิสงั คม
• ภูมิ-ทุนสิ่งแวดล้อม: ทรัพยากร ภ ูมิประเทศ ทิวทัศน์
แสงแดด ดิน น้า ป่าไม้ ความหลากหลายของพันธพ
์ ุ ืช
สัตว์ เกษตรกรรม อาหาร จุลินทรีย ์
• สังคม-ทุนสังคม: ภ ูมิปัญญา ศาสนา ประเพณี
วัฒนธรรม ค ุณค่า กริยามารยาท หัตถศิลป์ การมีน้าใจ
และเกรงใจต่อกัน เอกลักษณ์ของชาติ
ข้อคิดในการพัฒนาประเทศไทย…ก้าวต่อไป
•
•
•
•
•
แสวงหาศักยภาพที่แท้จริงจากฐานทรัพยากรและภ ูมิปัญญา
สร้างสมด ุลจากการพัฒนาท ุนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อ
เพิ่มทัศนคติแห่งการเรียนรูเ้ พื่อพึ่งพาตนเอง
หาทางลดและป้องกันภัยค ุกคามจากกระแสโลกาภิวตั น์
เชื่อมัน่ ในการผสมผสานที่ลงตัวจากความหลากหลายที่มี
คาตอบคือ....ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy Philosophy)
• คือ แนวทางที่ประเทศไทยสมควรนามาเป็นกรอบแนวคิด
และแนวปฏิบตั ิ ในการพัฒนาชีวิต ครอบครัว ช ุมชน
เศรษฐกิจ สังคมในท ุกภาคส่วน
• คือ แนวทางสายกลางบนพื้นฐานวิถีสงั คมไทย ที่จะทาให้
สังคมดารงอยูไ่ ด้ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงและ
ความเสี่ยงภัยในท ุกระดับ
2. เนื้อหาสาระ เงื่อนไข
และเป้าหมายของปรัชญา
“…เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นเสมือนรากฐานของชีวติ
รากฐานของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ตอกรองรับ
บ้านเรือนตัวอาคารไว้น่นั เอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ ก็อยู่
ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืม
เสาเข็มเสียด้วยซ้าไป…”
• พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
พัฒนาการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• 2517 หลังวิกฤติการณ์เดือนต ุลาคม พระราชดารัสเน้น ความพออยูพ
่ อกิน
พอดีพอประมาณ
• 2538 กาเนิดแนวคิดทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางพัฒนาการเกษตร
•
•
•
•
•
2540 พระราชดารัสอธิบายเรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2542 เผยแพร่หนึ่งหน้ากระดาษของเนื้อหาใจความปรัชญา
2547 จุดประกายขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง
2548 ศึกษาวิจยั สร้างเครือข่าย ท ุกภาคส่วนในสังคมไทย
2549 ขยายผลสูภ่ าคปฏิบตั ิเป็นรูปธรรมอย่างกว้างขวาง มากกว่า 3000
โครงการในพระราชดาริ กว่า 30 ปี
• 2550 สร ุปผลการขับเคลื่อนเทิดพระเกียรติ ในวโรกาส 80 พระชันษา
สร ุปใจความของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of Sufficiency Economy)
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของ
ประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้
ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ ความพอเพียง
หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมี
ระบบภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ
รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ
วางแผนและการดาเนินงานทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริม
พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก
ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ มีสติปัญญา และ
ความรอบคอบเพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วและกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of Sufficiency Economy)
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรั ชญาชี้ถงึ การดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของประชาชนใน
ทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและ
บริหารประเทศให้ ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้
ก้ าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความ
มีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้ องมีระบบภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดพี อสมควร
ต่ อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทัง้ นี้
จะต้ องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่ างยิง่
ในการนาวิชาการต่ างๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดาเนินงานทุกขัน้ ตอน และ
ขณะเดียวกันจะต้ องเสริมพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ นัก
ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้ มีสานึกในคณ
ุ ธรรม ความซื่อสัตย์ มี
สติปัญญา และความรอบคอบเพือ่ ให้ สมดุลและพร้ อมต่ อการรองรั บการเปลี่ยนแปลง
อย่ างรวดเร็วและกว้ างขวางทัง้ ด้ านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้ อม และวัฒนธรรมจากโลก
ภายนอกได้ เป็ นอย่ างดี
3 ค ุณลักษณะ
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
• ความพอประมาณ (Moderation)
• ความมีเหต ุผล (Reasonableness)
• การมีภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง (Self Immunity)
2 เงื่อนไข
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
• เงื่อนไขความร ้ ู (Knowledge) - รอบร ้ ู รอบคอบ ระมัดระวัง
ใช้เหต ุผลวิทยาศาสตร์ ไม่งมงาย
• เงื่อนไขค ุณธรรม (Integrity) - ซื่อสัตย์ ส ุจริต อดทน ความ
เพียร ไม่โลภเกินไป
3 เป้าหมาย
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
• ความพอประมาณ
ความสมด ุล (Equilibrium)
• ความมีเหต ุผล
ความมัน
่ คง (Stability)
• การมีภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง
ความยัง่ ยืน (Sustainability)
เป้าหมายของการพัฒนาชีวิตบ ุคคล ช ุมชน และประเทศ
คือ การสร้างแนวทางพัฒนาที่นาไปสูค
่ วามสมด ุล มัน่ คง และยัง่ ยืน
แปลความหมายเศรษฐกิจพอเพียง (1)
• ความพอประมาณ (Moderation)
• การประเมินความเหมาะสมของตน การปฏิบตั ิตวั หรือการ
พัฒนาตามทางสายกลาง ไม่ส ุดโต่ง อัตราเติบโตที่มนั่ คง ไม่รบี
ร้อน ไม่กา้ วกระโดด ไม่ชา้ เกินไป ไม่เร็วเกินไป ไม่ใหญ่เกินไป ไม่
เล็กเกินไป มีการพัฒนาจากเล็กไปหาใหญ่อย่างเป็นขัน้ ตอน
• วิเคราะห์ตนเอง เวลา ท ุน และทรัพยากร เพื่อการจัดสรรอย่าง
เหมาะสมตามอัตภาพ
แปลความหมายเศรษฐกิจพอเพียง (2)
• ความมีเหต ุผล (Reasonableness)
• ความเหมาะสมกับฐานทรัพยากร สภาพสิ่งแวดล้อม ความ
หลากหลายทางชีวภาพ ภ ูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสม
ตามสภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี มีความได้เปรียบ
โดยเปรียบเทียบ ความสามารถในการแข่งขัน
• ทาตามศักยภาพที่มีอยูใ่ นปัจจุบนั และที่สามารถจะพัฒนาใน
อนาคต
แปลความหมายเศรษฐกิจพอเพียง (3)
• การมีภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง (Self Immunity)
• การมีระบบส ุขภาพ ออกกาลังกาย ผลิตอย่างหลากหลาย
กระจายสินค้า มีออมทรัพย์ ระบบประกันภัยและชีวิต กองท ุน
กลมุ่ องค์กร ท ุนสังคม มีเครือข่ายในการช่วยเหลือสนับสน ุน
เข้มแข็ง จากระดับท้องถิ่นถึงนานาชาติ
• สร้างภ ูมิคม้ ุ กันภัยทางร่างกาย ธรรมชาติ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม
และการเมือง
คาหลักในปรัชญาที่ควรตระหนัก
หลักปรัชญา
ความพอประมาณ
คาหลักที่ครอบคลุมความหมาย
ทาเท่าที่เหมาะสมในอัตภาพที่
เป็นอยูข่ องแต่ละช่วงเวลา
ความมีเหต ุผล
เพราะสอดคล้องกับศักยภาพ และ
วัฒนธรรมประเพณี กฏหมาย
การมีภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง มีระบบจัดการลดความเสี่ยงภัยใน
ท ุกระดับที่อาจจะเกิดขึ้น
3. การประย ุกต์ใช้ปรัชญา
สาหรับการดาเนินชีวิตบ ุคคล องค์กร และสังคม
• “…พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่
ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตาม
อัตภาพ พูดจาก็พอพียง ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ิตนก็
พอเพียง…”
• “…ผูม้ ีปัญญาทุกระดับ จึงต้องถือเป็ นภาระหน้าที่ ที่
จะต้องรูจ้ ักรับ รูจ้ ักใช้ความรูอ้ ย่างถูกต้อง เพื่อสามารถ
พิจารณาการกระทาให้เหมาะสมแก่ทุกกรณี…”
• พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
เศรษฐกิจพอเพียง คือ
วิถีวฒ
ั นธรรมพื้นฐานของสังคมไทย
• พอประมาณ- สังคมไทยเน้นการดาเนินชีวิตแบบประนีประนอม
บนทางสายกลาง ไม่เน้นการกระทาที่ตกขอบ ส ุดก ู่ รผ้ ู ิด รอ้ ู ภัย
มีเมตตา
• มีเหตุผล- สังคมไทยดารงอยูไ่ ด้ดว้ ยความกลมกลืนกับสภาพ
ภ ูมิศาสตร์ ธรรมชาติ วัฒนธรรม และประเพณีที่ดีงาม
• ภูมิคมุ้ กัน-สังคมไทยใช้ศาสนา ค่านิยม องค์ความรแ้ ู ละภ ูมิ
ปัญญาที่ดีงามของไทย เป็นกรอบคม้ ุ กันชีวิตและขับเคลื่อน
พัฒนาสังคม
เอกลักษณ์ของคนชาติไทย
คือ คิดและทาแบบพอเพียง
• รจ้ ู กั ประมาณอัตภาพตนเอง มีสติค ุมจิตใจ รจ้ ู กั ความพอดี คิด
และทาแบบตกขอบ ไม่มากเกินไป ไม่นอ้ ยเกินไป ไม่ข้ ีเหนียว ไม่
ฟุ่มเฟือย ไม่ทาตามกระแสที่ตกขอบ
• เข้าใจศักยภาพแท้จริงที่มี จากการประเมินสถานการณ์ที่
เป็นอยู่ รจ้ ู กั ใช้วฒ
ั นธรรมประเพณีที่ดีงามเป็นกรอบชีวิต ใช้
เหต ุและผลในการตัดสินใจอย่างรอบคอบ ไม่งมงาย
• มีการจัดการความเสี่ยงให้ลดลง มีระบบป้องกัน บรรเทา ผ่อน
หนักให้เป็นเบา ไม่ประมาทในท ุกด้าน มีความรร้ ู กั สามัคคี รวม
พลังช่วยเหลือกันและกันในครอบครัวและสังคม
แนวคิดทฤษฎีใหม่: 3 ขัน้ ตอนร ูปธรรม
ในการประย ุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงขัน้ พื้นฐาน
• - ทฤษฎีใหม่ขนั้ หนึ่ง ระดับปัจเจกชน ครัวเรือน ไร่นา
บริษทั ธ ุรกิจ หรือระดับจุลภาค
เศรษฐกิจพอเพียงขัน้ ก้าวหน้า
• - ทฤษฎีใหม่ขนั้ สอง ระดับกลมุ่ องค์กร สหกรณ์ สมาคม
การรวมตัวทางธ ุรกิจ
• - ทฤษฎีใหม่ขนั้ สาม ระดับสังคม ภ ูมิภาค เครือข่าย
ระดับประเทศ นานาชาติ
ระบบเกษตรกรรม:
ร ูปธรรมหนึ่งของทฤษฎีใหม่
• ทฤษฎีใหม่ (๑) ระดับไร่นา- เน้นจัดสรรที่ดินให้เกิดความมัน่ คง
ทางสิ่งแวดล้อม ความหลากหลาย และลดความเสี่ยง- ฟาร์ม
• ทฤษฎีใหม่ (๒) ระดับกลมุ่ - เน้นการรวมพลังเพื่อลดต้นท ุน
ขยายการผลิตและแลกเปลี่ยนประสบการณ์- กลมุ่ เกษตรกร
• ทฤษฎีใหม่ (๓) ระดับสังคม- เน้นการสร้างเครือข่ายหน ุนเสริม
ระหว่างกลมุ่ ต่างๆเพื่อให้บรรล ุเป้าหมายที่กว้างขึ้น- สมาคม
ผูผ้ ลิตและผูส้ ง่ ออก
เศรษฐกิจพอเพียงในปัจเจกชน
• บ ุคคล ครัวเรือน พึ่งพาตนเอง มีค ุณภาพชีวิตที่เหมาะสม
ตามอัตภาพ การใช้จ่าย แบ่งสรรเวลา มีหนี้สิน สิ่ง
ฟุ่มเฟือย ไม่มากเกินไป
• ประกอบสัมมาอาชีพตามสภาพทรัพยากร สิ่งแวดล้อม
ทักษะ ความสามารถ มีแนวทางชีวิตสอดคล้อง
วัฒนธรรมประเพณีและกฎหมาย พัฒนาตนเองตาม
ศักยภาพ ไม่งมงายตามกระแส
• เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลมุ่ การผลิต ระบบส ุขภาพ
ประกันภัย ออมทรัพย์ มีครอบครัวอบอนุ่ เข้มแข็ง
สภาพแวดล้อมน่าอยูอ่ าศัย ออกกาลังกายสม่าเสมอ
ตัวชี้วดั เบื้องต้น
•
•
•
•
•
•
•
ทักษะ อาชีพ และศักยภาพของบ ุคคล
โครงสร้างรายรับ-รายจ่าย
สัดส่วนของค่าใช้จ่ายที่ฟ่ มเฟ
ุ ื อย ไม่มีเหต ุผล
การจัดสรรทรัพยากรในการผลิตที่หลากหลาย
เวลาสัดสรรกิจกรรมชีวิตที่สมด ุล ส่วนรวม ส่วนตัว งาน
ระบบการออม การประกันชีวิต ส ุขภาพ
สมาชิกกลมุ่ องค์กร เครือข่าย และการเรียนรต้ ู ลอดชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียงในช ุมชน
• ช ุมชนมีแผนพัฒนา การจัดสรรพื้นที่และกิจกรรมของช ุมชน
ที่เน้นความสมด ุลในท ุกด้าน ทางสายกลาง ไม่กา้ วกระโดด
เจริญเติบโตแบบไม่ประมาท
• มีแผนพัฒนาแบบมีสว่ นร่วมตามศักยภาพทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม ภ ูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสานกับเทคโนโลยี
สมัยใหม่ จัดเวทีระดมความคิดเพื่อตัดสินใจ
• มีระบบการด ูแลท ุนสังคม ท ุนสิ่งแวดล้อม และท ุนเศรษฐกิจ
ให้ยงั่ ยืน มีเครือข่ายสนับสน ุน เกื้อก ูลกันและกัน เชื่อมโยงเป็น
พันธมิตร
ตัวชี้วดั เบื้องต้น
• มีแผนพัฒนาช ุมชน จากการมีสว่ นร่วมของประชาชน
• มีการอน ุรักษ์ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
ช ุมชนให้เป็นท ุนช ุมชนที่เข้มแข็ง
• รจ้ ู กั ขีดความสามารถในการรองรับการใช้ประโยชน์ของ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
• สร้างระบบกลมุ่ องค์กร เพื่อเชื่อมโยงช ุมชนในมิติต่างๆ
• มีเครือข่ายการพัฒนาช ุมชนกับองค์กรรัฐ และองค์กร
เอกชน จากภายนอก
เศรษฐกิจพอเพียงในองค์กรการศึกษา
• มีแผนเจริญเติบโตในระยะสัน้ /ยาว ขนาดโรงเรียน จานวนคร/ู
นักเรียนที่เหมาะสม อ ุปกรณ์และงบประมาณที่ไม่มากน้อยเกินไป
• คานึงถึงจุดเด่นของโรงเรียน ความเป็นมา สภาพแวดล้อมทาง
เศรษฐกิจสังคม และศักยภาพคร/ู นักเรียนที่มี
• เชื่อมโยงกับเครือข่ายการศึกษาระดับสูง ผูป้ กครอง องค์กร
ภายนอก ช ุมชนรอบด้าน เพื่อการสนับสน ุนกิจการของโรงเรียน
ด้านข้อมูล งบประมาณ และมีแผนพัฒนาคร ูทดแทนที่ดี
ดัชนีช้ ีวดั เบื้องต้น
•
•
•
•
•
•
•
•
โครงสร้างวัยว ุฒิ ค ุณว ุฒิ และการประเมินผลครูที่มีประสิทธิภาพ
แผนการพัฒนาครูทดแทนการเกษียณอาย ุ
กิจกรรมเพื่อสังคมโดยการมีสว่ นร่วมของครู/นักเรียน/ ผูป้ กครอง
สัดส่วนของทรัพยากรและงบประมาณเทียบกับค่าใช้จ่าย
จานวนนักเรียนที่จบการศึกษา
แผนส่งเสริมนักเรียนดีเด่นหรือความสามารถเฉพาะด้าน
สัดส่วนนักเรียนที่ศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น หรือในสถาบันการศึกษาที่ดี
สัดส่วนของเงินท ุนสนับสน ุนจากสังคมภายนอก
บางประเด็นที่ถกเถียงเรือ่ ง “ไม่ใช่”
ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ประย ุกต์ใช้กบั ท ุกคน ท ุกระดับ ท ุกภาคส่วนไม่ใช่เฉพาะ
การเกษตร เกษตรกร คนจน หรือ เศรษฐกิจฐานล่าง
• ไม่ใช่การอดออม ประหยัดจนเกินควร ไม่ลงท ุน และไม่เสี่ยง
ใดๆ แต่ขยายตัวอย่างมีสติ รอบคอบ ระมัดระวัง รา่ รวย
อย่างมีค ุณธรรม
• ไม่ใช่ ต้องถอยกลับเทคโนโลยีสว่ ู ิถีธรรมชาติดงั้ เดิม ต้อง
พิจารณาจากความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมด้านต่างๆ
• พฤติกรรมการบริโภค ไม่ใช่ จะใช้สิ่งของราคาแพงไม่ได้ แต่
ต้องเหมาะสมกับฐานะ ไม่เดือดร้อนต่อตนเองและผูอ้ ื่น
• 25% ของการกระทาท ุกคน ไม่ใช่ จากจานวนคน
4.
การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในย ุคโลกาภิวฒ
ั น์ : กรณีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
“….การจะเป็ นเสือนัน้ ไม่สาคัญ สาคัญอยู่
ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน
นัน้ หมายความว่า อุม้ ชูตวั เองได้ ให้มีพอเพียงกับ
ตนเอง…”
พระราชดาร้สพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว
กระแสโลกาภิวฒ
ั น์ (Globalization Trend) :
แนวโน้มการพัฒนาของโลก
•
•
•
•
การส่งเสริมประชาธิปไตย (Democratic promotion)
การปกป้องสิทธิมน ุษยชน (Human right protection)
การขยายตัวของการค้าเสรี (Free trade expansion)
การอน ุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (Natural
resources and environment conservation)
ผลกระทบของโลกาภิวฒ
ั น์
• โอกาส (+) ในการปรับเปลี่ยน ปรับปร ุงประสิทธิภาพ เพื่อ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ขยายตลาด ตาม
มาตรฐานโลก
• อุปสรรค (-) ในการถ ูกเอาเปรียบ ขาดท ุนใหญ่กว่า จาก
มาตรฐานสูงกว่า ไม่สามารถแข่งขันได้ ถ ูกยึดครองด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
วาทะกรรมแห่งกระแสโลกาภิวฒ
ั น์
• Opportunity- การสร้างโอกาสที่เท่าเทียมกันเพื่อมวล
มน ุษยชาติ
• Freedom- การมีเสรีภาพแห่งการเลือกบริโภคสินค้าและ
บริการ
• Competition- การแข่งขันนาไปสูค
่ วามมีประสิทธิภาพ
• Development- การพัฒนาที่ยงั่ ยืนภายใต้ทิศทาง
เดียวกัน
ประชาคมอาเซียน (ASEAN COMMUNITY):
อน ุภูมิภาคแห่งโลกาภิวฒ
ั น์
• การรวมกลมุ่ ของ ๑๐ ประเทศในภูมิภาคเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต้
• บนพื้นฐานการได้รบั ประโยชน์รว่ มกันมากขึ้นภายใน
กลมุ่ และมีอานาจต่อรองเพิ่มขึ้นกับนอกกลมุ่
• เน้นการเป็นเสรีทางด้านเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม
การเมืองความมัน่ คง
• โอกาสที่จะขยายจานวนสมาชิกที่มีศกั ยภาพอันเป็น
ประโยชน์ต่อกลมุ่ ในอนาคต
๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘:
วันเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
(AEC) คือ ร ูปธรรมของการขยายตัวของโลกาภิวฒ
ั น์ใน
เชิงพื้นที่ระดับภ ูมิภาค จากการพัฒนาระบบการค้า
ระหว่างประเทศสูก่ ารเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการอย่าง
ไร้การกีดกันด้านภาษี ระหว่าง ๑๐ ประเทศสมาชิก
อาเซียน
ย้อนรอยประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
•
•
•
๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ ก่อตัง้ สมาคมประชาชาติแห่งเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations:
ASEAN)
ก่อตัง้ ที่วงั สราญรมย์ กร ุงเทพ ประเทศไทย
มีวตั ถ ุประสงค์หลัก ๒ ประการคือ
- เร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม
- ส่งเสริมการสร้างสันติภาพและเสถียรภาพในภ ูมิภาค
เอเซีย
อาคเนย์
ลาดับขัน้ การพัฒนาระบบกลมุ่ เศรษฐกิจ:
หลักการในสากล
•
•
•
•
•
เขตการค้าเสรี (Free Trade Area)
สหภาพศ ุลกากร (Custom Union)
ตลาดร่วม (Common Market)
สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union)
สหภาพทางการเมือง (Political Union)
แนวคิดของระบบเศรษฐกิจเสรีระหว่างประเทศ
• ยกระดับความส ุขจากทางเลือกที่มีมากขึ้น
• การส่งเสริมระบบเศรษฐกิจเสรีระหว่างประเทศ เกิดขึ้น
บนหลักการว่า การค้าระหว่างประเทศจะทาให้ระดับ
สวัสดิการหรือความเป็นอยูข่ องประชาชนดีข้ ึน จากการ
ขยายการส่งออกและนาเข้าสินค้าและบริการที่
หลากหลายข้ามพรมแดนประเทศได้ โดยปราศจากการ
กีดกัน
ว่าด้วยมาตรการกีดกันทางการค้า
• อ ุปสรรคทางการค้าที่เป็นภาษี จะลดลงภายหลังระบบ
การค้าเสรีพฒ
ั นาขึ้นจากผลกระทบของกระแส
โลกาภิวฒ
ั น์ เช่น ภาษี การอ ุดหน ุนการผลิต
• อ ุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ยังสามารถนามาใช้อย่าง
มีเหต ุผล เพื่อจัดการระบบการส่งออกหรือนาเข้าสินค้าได้
เช่น มน ุษยธรรม สิ่งแวดล้อม ประชาธิปไตย การเมือง
• การมีระบบการค้าเสรีโดยสมบูรณ์ ปราศจากการกีดกัน
ใดๆ จึงไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นโดยง่าย
ผลของการค้าเสรีระหว่างประเทศ:
คิดกันเล่นๆ แต่เป็นจริง
• ประเทศ ก. หวังว่าจะส่งออกมากขึ้นและนาเข้าลดลงกับประเทศ ข.
เพื่อสร้างด ุลการค้าส ุทธิที่สงู ขึ้น
• ประเทศ ข.ก็หวังว่าจะส่งออกมากขึ้นและนาเข้าลดลงกับประเทศ ก.
เพื่อสร้างด ุลการค้าที่สงู ขึ้น เช่นเดียวกัน
• ในกรณีน้ ี จะต้องมีประเทศใดประเทศหนึ่ง...ทาได้ และอีกประเทศหนึ่ง
... ทาไม่ได้ เพราะการที่ประเทศ ก. ต้องการส่งออกเพิ่ม แปลว่า
ประเทศ ข.ก็จะต้องเพิ่มการนาเข้า เช่นเดียวกัน
• การค้าเสรี จึงอาจจะไม่นามาซึ่งสวัสดิการที่ดีตามหลักการเสมอไป
การเตรียมพร้อมในการเข้าสูร่ ะบบการค้าเสรี
• การสารวจโครงสร้างการผลิตและการบริโภคของประชาชน
• การวิเคราะห์ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของสินค้าและ
บริการที่มีอยู่
• การหาทางลดผลกระทบจากการเข้ามาของสินค้าและบริการ
จากต่างประเทศ
• การปรับตัวของผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภคจากการเกิดทางเลือก
ของสินค้าและบริการที่มากขึ้น
• การแทรกแซงของนโยบายรัฐในกรณีที่จาเป็นอาจเกิดความ
เสียหายแก่ประเทศชาติ
บางตัวอย่างของการค้าเสรีที่มองเห็นอยูแ่ ล้ว
ปัจจุบนั ....
• แรงงานก่อสร้าง สวนยาง งานบ้าน เสิรฟ
์ อาหาร ล้าง
บ้านน้าท่วม
• ผัก ผลไม้ ปลา เสื้อผ้า เนื้อไม้ อัญมณี
อนาคตอันใกล้....
• พนักงานธนาคาร พนักงานโรงแรม คร ูสอนภาษา
• ผัก ผลไม้ อาหารสาเร็จร ูป เฟอร์นิเจอร์ กาแฟ แฟชัน่
เครือ่ งสาอาง
สินค้าและบริการของไทย
ที่น่าจะมีผลกระทบทางลบ
• สินค้า (Goods) ที่มีตน้ ท ุนสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน หรือ
มีผลิตภาพที่ต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน- ข้าว มะพร้าว
ปาล์มน้ามัน กาแฟ ชา สัตว์น้า และผลไม้
• บริการ(Services) ที่น่าจะมีคแู่ ข่งขันมากขึ้นจาก
ความสามารถด้านภาษาและวัฒนธรรม- คร ูสอน
ภาษา พยาบาล พนักงานโรงแรม นักร้อง และนัก
ดนตรี
แนวคิดเชิงร ุกในการเข้าสู่ AEC
• ใช้ประโยชน์ทาเลที่ตงั้ ของไทยในฐานะเป็นศูนย์กลางคมนาคม
และระบบโลกจิสติดส์ของภ ูมิภาค
• เตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างปัจจัยพื้นฐาน ระบบขนส่ง
ระบบเก็บรักษา และระบบการกระจายสินค้าในระดับภ ูมิภาค
• เร่งส่งเสริมการผลิตสินค้าและบริการที่ไทยมีความได้เปรียบ
อาทิ อาหาร สินค้าเกษตร สินค้าอ ุตสาหกรรม โรงพยาบาล
การศึกษา การท่องเที่ยว โดยพิจารณาจากรสนิยมของล ูกค้า
ระดับภ ูมิภาค
แนวคิดเชิงรับในการเข้าสู่ AEC
• รณณรงค์การอน ุรักษ์ ค่านิยมไทย ประเพณีไทย การใช้
สินค้าและบริการของไทยที่ดี มีเหต ุผล เหมาะสมกับ
สังคมไทยไม่ให้ลดลงหรือสูญหายไป
• ใช้ประโยชน์ระบบเศรษฐกิจเสรีมาผลักดันให้เกิดการพัฒนา
ใหม่ๆในระบบของไทย- การศึกษา การผลิต การแปรร ูป
การสร้างมูลค่าเพิ่ม
• เตรียมพัฒนาเครือ่ งมือในการสื่อสารระดับภ ูมิภาค อาทิ
ความเข้าใจภาษา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี และ
สร้างข้อตกลงร่วมกันที่เป็นธรรมระหว่างประเทศ
การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานการณ์เศรษฐกิจเสรี (๑)- พอประมาณ
• ต้องมีการปรับเปลี่ยนประเทศให้เกิดความสมด ุลใหม่ในแทบ
ท ุกระบบ ตามอัตภาพใหม่ที่จะเกิดขึ้น
• ส่งเสริมปกป้องการผลิตและบริโภคสินค้าที่มีความได้เปรียบ
ต้นท ุนต่า และค ุณภาพดีอยูแ่ ล้วในประเทศ
• ลดการผลิตสินค้าที่มีตน้ ท ุนสูงเกินไป นาเข้าสินค้าที่มี
ค ุณภาพและราคาถ ูกกว่าเข้ามาบริโภคทดแทน
การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานการณ์เศรษฐกิจเสรี (๒)- มีเหต ุผล
• เข้าใจและยอมรับความได้เปรียบเสียเปรียบของศักยภาพ
ทางการผลิตที่มีอยูจ่ ากต้นท ุนที่แตกต่าง
• ไม่แข่งขันในสินค้าและบริการที่ไม่มีความถนัดและมีตน้ ท ุนสูง
เกินไป
• มีมาตรการช่วยเหลือภาคส่วนสังคมที่จะได้รบั ผลกระทบจาก
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตตามตลาดแบบเสรี
• ตานึงถึงความมัน่ คงของประเทศ วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย
การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานการณ์เศรษฐกิจเสรี (๓)- มีภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง
• รณณรงค์ค่านิยมไทย ภ ูมิปัญญาไทย และรักษา
วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของไทย ไม่ให้เลือนหายไป
จากระบบตลาดที่มีการแข่งขันสูงในท ุกมิติ
• ดารงความเป็นไทยให้มนั่ คงในกระแสเศรษฐกิจเสรี ทัง้
การใช้สินค้าและบริการที่เพิ่มขึ้นและหลากหลาย
• สร้างความรค้ ู วามเข้าใจในการเข้าสู่ AEC ทัง้ ในแง่บวก
และแง่ลบ เพื่อกาหนดบทบาทที่ถ ูกต้องเหมาะสมของ
ตนเองและประเทศชาติ ไม่ด ูถ ูกเพื่อนบ้าน มีทศั นคติที่ดี
การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานการณ์เศรษฐกิจเสรี (๔)- ใช้ความร ้ ู
• สร้าง พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรด้ ู า้ นอาเซียนในประเทศ
ให้มากขึ้น เพื่อ “รเ้ ู ขา รเ้ ู รา” อย่างแท้จริง
• ไม่กีดกันหรือหลบหนีจากระบบสังคมนานาชาติ แต่ทาความ
เข้าใจ เรียนรภ้ ู าษาและวัฒนธรรมจากเพื่อนบ้าน เพื่อกาหนด
บทบาทท่าทีของไทยให้ถ ูกต้อง
• มีความระมัดระวังรอบคอบในการเรียนรจ้ ู ากท ุกมิติ ทัง้ แง่
บวกและแง่ลบของประเทศต่างๆที่มีอยู่ เปรียบเทียบกับ
ประเทศไทย
การประย ุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานการณ์เศรษฐกิจเสรี (๕)- มีค ุณธรรม
• มีความจริงใจ ซื่อสัตย์ ในการเป็นพันธมิตรกับเพื่อนบ้าน
ประชาคมอาเซียน
• ไม่ด ูถ ูก เหยียดหยาม เอาเปรียบจากความแตกต่างที่
มองเห็นได้จากประเทศอื่นๆ ไม่ยกประวัติศาสตร์มาโอ้อวด
กัน
• ไม่หวังหาผลประโยชน์จากความไม่สมบูรณ์ของความรแ้ ู ละ
การศึกษาของผูค้ นที่มีนอ้ ยกว่า ฐานะทางเศรษฐกิจที่
แตกต่างกัน
ประย ุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
เน้นการมีภ ูมิคม้ ุ กันประเทศในการเข้าสู่ AEC
• ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นเสมือน “ภูมิคมุ้ กันทาง
ความคิด”ของคนไทยในการเข้าสู่ AEC อย่างรเ้ ู ท่าทัน
• การตัง้ สติ ไม่ประมาท และดาเนินการแบบค่อยเป็นค่อยไป
อย่างมัน่ คง ตามเส้นทางของ AEC เป็นสิ่งจาเป็นต้องมี แต่ไม่
ตาโต ไม่โลภเกินเหต ุ ไม่มองแง่ดีเกินไป
• หากคนไทยมีสติยงั้ คิดในท ุกระดับถึง ความพอประมาณ มี
เหต ุผล และคิดสร้างภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง จากการใช้ความรแ้ ู ละ
การมีค ุณธรรม จะทาให้การเข้าสู่AEC เป็นสิ่งที่ดี
• หรือหากไม่...ก็อาจจะเกิดขึ้นผลในทางตรงข้ามกัน
จ ุดยืนแห่งความพอเพียงในประชาคมอาเซียน
• พอประมาณ-วิเคราะห์สถานภาพของประเทศที่แท้จริงของ
ไทยในประชาคมอาเซียน ไม่หลอกตัวเอง ไม่หลงตัวเอง ไม่ติด
ภาพในอดีต
• มีเหต ุผล-พัฒนาการค้าเสรีตามศักยภาพที่มีอย่างแท้จริง
พยายามให้เท่าทันหรือนาหน้าสมาชิกอย่างมีลาดับ ขัน้ ตอน
ไม่กา้ วกระโดดแต่เสี่ยงภัย
• มีภ ูมิคม้ ุ กัน-สร้างความสัมพันธ์ที่ดีทางเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม การเมือง กับสมาชิกประชาคมอาเซียน พร้อมให้
พร้อมรับ ไม่เอาเปรียบ ยึดหลักธรรมาภิบาลระหว่างประเทศ
การเรียนรู้ คือ
หัวใจของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ AEC
• การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เริม่ จากการมี
ศรัทธา รับร ้ ู เข้าใจ และนาไปปฏิบตั ิจริง ตามลาดับ
• การศึกษา ด ูงาน และการเรียนรถ้ ู ึงท ุกบริบทของอาเซียน
เป็นหัวใจของการขับเคลื่อนปรัชญาเพื่อแปลงให้เป็นการ
ปฏิบตั ิที่ถ ูกต้องยิ่งขึ้น
• ประเทศไทยต้องเชื่อมัน่ และมีความเข้าใจในปรัชญาว่า จะ
สามารถนามาประย ุกต์ใช้กบั การเตรียมพร้อมเข้าสู่ AEC
ได้เป็นอย่างดี
• การศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบของคนไทยมี
ผลอย่างมากต่อในการขับเคลื่อนปรัชญาเข้าสู่ AEC
ประเด็นความห่วงใยในการเป็น AEC
• ความไม่พร้อมด้านโครงสร้างการคมนาคมเชื่อมโยงใน
ภ ูมิภาค
• ความไม่มีดา้ นความรค้ ู วามเข้าใจด้านวัฒนธรรมประเพณี
ของประเทศเพื่อนบ้าน
• ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมืองของไทย
• การมีความคิดในเชิงด ูถ ูกด ูแคลนหรือโกธรเคืองประเทศ
เพื่อนบ้าน
• การไม่กา้ วข้ามความขัดแย้งในเชิงประวัติศาสตร์ของท ุก
ประเทศในอาเซียน
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
ในฐานะฐานความคิดเรือ่ งท ุนนิยม
• การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะปฏิเสธแนวทางท ุนนิยม
จากการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจเสรี
• การนาหลักปรัชญามาใช้ นาไปสูก่ ารถดถอยทางเศรษฐกิจ
อัตราการเจริญเติบโตอาจจะติดลบ จะพัฒนาไม่เท่าทันเพื่อน
บ้านในภ ูมิภาค
• เศรษฐกิจพอเพียง เป็นระบบเศรษฐกิจที่ออกแบบเพื่อคนจน
ไม่เหมาะกับการพัฒนาเศรษฐกิจเสรีระดับนานาชาติ
ย ุทธศาสตร์ทะเลขาว (White Ocean Strategy)
• การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่ภาคส่วนการศึกษาและประเทศไทย
ทาให้มีขีดความสามารถที่สมด ุลและมัน่ คงในระยะยาว
• การสร้างระบบพัฒนาประเทศบนหลักความพอเพียง มีความ
พอประมาณ มีเหต ุผล มีภ ูมิคม้ ุ กันตนเอง มีค ุณธรรมกากับ
โปร่งใส และไม่เอาเปรียบสังคมและสิ่งแวดล้อมของภ ูมิภาค
• ประชาคมอาเซียนให้การยอมรับประเทศไทยในฐานะประเทศที่
มีหลักคิดและหลักปฏิบตั ิที่ดีงาม ถือว่าเป็น ท ุนสังคม (Social
capital) ในระดับนานาชาติ
ภาพลักษณ์ดีที่หนึ่งของประเทศไทย
• ปัจจุบนั ประเทศไทยมีความสง่างามในสังคมนานาชาติ ใน
ฐานะประเทศที่เป็นแหล่งกาเนิดแนวคิดการพัฒนาตามทาง
สายกลาง...ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• มีการวิเคราะห์ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถเป็น
แนวคิดทางออกของความขัดแย้งจากปัญหาของเศรษฐกิจ
แบบท ุนนิยมและเศรษฐกิจสังคมนิยม ที่ตกขอบและเป็นปัญหา
ในนานาชาติขณะนี้
• หลายประเทศทัว่ โลกน้อมนาหลักปรัชญาไปประย ุกต์ใช้มาก
ขึ้น โดยเฉพาะจากการส่งเสริมขององค์การพัฒนาแห่ง
สหประชาชาติ (UNDP)
ว่าด้วย...คน 3 วัย
ในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• สอนให้จา- สอน อธิบาย และยกตัวอย่างให้เข้าใจถึงหลักสาม
ห่วง สองเงื่อน สามเป้าหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ได้----> วัยเด็ก
• ทาให้ด ู- จัดทากิจกรรม โครงการ รณณรงค์ ดาเนินงานตาม
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเป็นตัวอย่างจริงได้----> วัยรนุ่
• อยูใ่ ห้เห็น- มีวิถีชีวิตปกติ วิถีการทางาน วิถีการพัฒนาช ุมชน
และวิถีวฒ
ั นธรรมของสังคมโดยทัว่ ไปตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียงตลอดไป----> วัยผูใ้ หญ่
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ร่วมกันส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็น อุดมคติของชาติ ที่
รับรแ้ ู ละปฏิบตั ิอย่างกว้างขวางในช ุมชนไทย
• เน้น ปรับเปลี่ยน ทัศนคติและพฤติกรรมของเยาวชนและปัจเจกชน
ในกระแสบริโภคนิยมและข้อมูลข่าวสารเสรี
• ค้นหาต้นแบบ บ ุคคล องค์กร โครงการ เป็นตัวอย่างแรงบันดาลใจ
• สร้าง ระบบการเรียนรู้ เพื่อสนับสน ุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
หนึ่งในเอกลักษณ์ของชาติและพร้อมดารงไว้ในระดับภ ูมิภาค
• ผลักดันให้ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน กระทาตัวเป็นต้นแบบ
ในการวางนโยบายท ุกระดับตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ในย ุดสมัย
แห่งการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
ความชัดเจนเชิงนโยบายของรัฐ:
มาตรา 83 ของรัฐธรรมนูญไทย ฉบับ พ.ศ. 2550
• รัฐต้องสนับสน ุนส่งเสริมให้มีการดาเนินงานพัฒนา
ประเทศ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง
ปีมหามงคล คือ ...ท ุกปีจากนี้ไป
ขอเชิญชวนท ุกท่านร่วมทากิจกรรมและใช้ชีวิต
เพื่อเทิดพระเกียรติในปีมหามงคล
โดยการประพฤติปฏิบตั ิตวั ของท่าน ครอบครัวของท่าน
ช ุมชนของท่าน หน่วยงานของท่าน
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง