5.พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ - micro

Download Report

Transcript 5.พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ - micro

การสื่ อสารข้ อมูลและเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานข้ อมูลและสั ญญาณ
การส่ งผ่ านข้ อมูลดิจิตอลและการอินเตอร์ เฟช
Data Communication and Networks
LOGO
แอนะล็อกและดิจิตอล (Analog Versus Digital)
.
แอนะล็อกและดิจิตอล (Analog Versus Digital)?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ข้ อมูลแอนะล็อกและสั ญญาณแอนะล็อก (Analog Data and Analog Signals)
ข้อมูลแอนะล็อกและสัญญาณแอนะล็อกจะเป็ นรู ปคลื่นที่มีลกั ษณะต่อเนื่อง
(Continuous Waveforms) ความต่อเนื่องในที่น้ ีหมายถึงสัญญาณจะแกว่งขึ้นลงอย่าง
.
ต่อเนื่องและราบเรี ยบตลอดเวลา ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแบบทันทีทนั ใด ค่าระดับสัญญาณ
ข้สามารถอยู
อมูลแอนะล็
andาตAnalog
Signals)
ใ่ นช่อกและสั
วงระหว่ญ
างค่ญาณแอนะล็
าต่าสุ ดและค่อาสูกงสุ(Analog
ดของคลื่นData
ได้ โดยค่
่าสุ ดและค่
าสู งสุ ดจะ?
แทนหน่วยแรงดัน (Voltage)
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ข้ อมูลแอนะล็อกและสั ญญาณแอนะล็อก (Analog Data and Analog Signals)
ข้อมูลแอนะล็อกและสัญญาณแอนะล็อกสามารถถูกรบกวนได้ง่ายจากสัญญาณที่ไม่
พึงประสงค์ เรี ยกว่า “สั ญญาณรบกวน (Noise)”
.
เมื่อสัญญาณแอนะล็อกถูกส่ งบนระยะทางที่ไกลออกไป ระดับสัญญาณจะถูกลดทอน
ลง ดังนั้นจะเป็ นต้องใช้อุปกรณ์ที่เรี ยกว่า “แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier)”
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ข้ อมูลดิจิตอลและสั ญญาณดิจิตอล (Digital Data and Digital Signals)
ข้อมูลดิจิตอลและสัญญาณดิจิตอลเป็ นคลื่นแบบไม่ต่อเนื่อง มีรูปแบบของระดับ
. ซ แรงดันไฟฟ้ าเป็ นคลื่นสี่ เหลี่ยม (Square Ware) ความไม่ต่อเนื่อง หมายถึง สัญญาณ
สามารถเปลี่ยนแปลงจาก 0 ไป 1 หรื อ 1 ไป 0 ได้ทุกเมื่อ ซึ่ งเป็ นการเปลี่ยนสัญญาณใน
ข้ อลัมูกลษณะก้
ดิจติ าอลและสั
ิ อล (Digital Data and Digital Signals) ?
วกระโดด ญญาณดิจต
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ข้ อมูลดิจิตอลและสั ญญาณดิจิตอล (Digital Data and Digital Signals)
ข้อดีของสัญญาณดิจิตอล คือ สามารถสร้างสัญญาณขึ้นได้ดว้ ยต้นทุนที่ต่ากว่า
. ซ สัญญาณแอนะล็อกและมีความทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดี อีกทั้งยังสามารถจาแนก
ระหว่างข้อมูลกับสัญญาณรบกวนได้ง่ายกว่าแบบแอนะล็อก
ข้อเสี ยของสัญญาณดิจิตอล คือ สัญญาณจะถูกลดทอนหรื อเบาบางลงเมื่อถูกส่ งใน
ระยะทางไกลๆ ซึ่ งการส่ งข้อมูลระยะไกลนั้นสัญญาณแอนะล็อกจะทาได้ดีกว่า
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ข้ อมูลดิจิตอลและสั ญญาณดิจิตอล (Digital Data and Digital Signals)
สาหรับอุปกรณ์ที่ใช้ยดื ระยะทางในการส่ งข้อมูลดิจิตอลจะเรี ยกว่า “เครื่องทวน
. ซ สั ญญาณ (Repeater)” ซึ่ งเป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ Regenerate สัญญาณที่ถกู ลดทอนลงให้
คงรู ปเดิมเหมือนต้นฉบับ ทาให้สามารถส่ งทอดสัญญาณออกไปบนระยะทางที่ไกลขึ้นได้
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
ทั้งสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิตอล สามารถเป็ นไปในรู ปแบบของสัญญาณ
. ซ ชนิดคาบ (Periodic) และสัญญาณชนิดไม่มีคาบ (Nonperiodic) ถ้ากล่าวถึงสัญญาณ
แอนะล็อก มักจะหมายถึงสัญญาณชนิ ดมีคาบ เนื่องจากสัญญาณมีการแกว่งขึ้นลงสลับกัน
แบบซ้ าๆ ที่มีรูปแบบต่อเนื่องและแน่นอนตามความสัมพันธ์กบั เวลา ดังนั้นจึงเกิด
คาบเวลา (Periodic) ซึ่ งก็คือเวลาที่ลกู คลื่นมีการเปลี่ยนแปลง ณ จุดเริ่ มต้นจนถึงจุดสิ้ นสุ ด
แต่ถา้ กล่าวถึงสัญญาณดิจิตอล ก็มกั จะหมายถึงสัญญาณชนิ ดไม่มีคาบ เพราะสัญญาณ
ดิจิตอลเป็ นสัญญาณที่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ทุกเมื่อ และไม่จาเป็ นต้องเป็ นลูกคลื่น
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals) ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signals)
1. แอมพลิจูด (Amplitude) สัญญาณแอนะล็อก ที่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะเป็ น
.ซ
รู ปคลื่นขึ้นลงสลับกันและก้าวไปตามเวลาแบบสมบูรณ์น้ นั เรี ยกว่า คลื่นซายน์
(Sine Wave) ในขณะที่แอมพลิจูดจะเป็ นค่าที่วดั จากแรงดันไฟฟ้ า ซึ่ งอาจเป็ นระดับของ
คลื่นจุดสูงสุ ด (High Amplitude) หรื อจุดต่าสุ ด (Low Amplitude) และโดยปกติจะแทน
ด้วยหน่วยวัดเป็ นโวลต์ (Volt) แต่สามารถใช้หน่วยวัดอื่นๆ แทนได้ เช่น แอมป์ (Amp)
หรื อวัตต์ (Watt)
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
2. ความถี่ (Frequency) หมายถึงอัตราการขึ้นลงของคลื่น ซึ่ งเกิดขึ้นจานวนกี่
. ซ รอบภายใน 1 วินาที โดยรอบต่อวินาทีหรื อความถี่น้ นั จะใช้แทนหน่วยวัดเป็ นเิิรตซ์
(Hertz : Hz)
นอกจากนี้ความถี่ยงั เกี่ยวข้องกับคาบ (Period) ซึ่ งคาบเป็ นระยะเวลาของ
สัญญาณที่เปลี่ยนแปลงไปจนครบรอบ โดยจะมีรูปแบบซ้ าๆ กันในทุกช่วงเวลา และเมื่อ
คลื่นสัญญาณทางานครบ 1 รอบ จะเรี ยกว่า Cycle
ตามปกติแล้ว คาบเวลา (Period) จะใช้หน่วยวัดเป็ นวินาที (Seconds) ส่ วน
ความถี่ (Frequency) จะใช้หน่วยวัดเป็ นเิิรตซ์ (Hertz : Hz) ซึ่ งวัดจากคลื่นสัญญาณที่
ทางานครบรอบภายในเวลา 1 วินาที
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
.
หน่ วยของคาบ
. ซ (Units of Periods)
Seconds (s)
MilliSeconds (ms)
MicroSeconds (us)
NanoSeconds (ns)
PicoSeconds (ps)
www.pcbc.ac.th
แทนค่ าโดย
(Equivalent)
1s
10-3 s
10-6 s
10-9 s
10-12 s
หน่ วยของความถี่
(Units of Frequency)
Hertz (Hz)
KiloHertz (KHz)
MegaHertz (MHz)
GigaHertz (GHz)
TeraHertz (THz)
แทนค่ าโดย
(Equivalent)
1 Hz
10-3 Hz
10-6 Hz
10-9 Hz
10-12 Hz
Data Communication and Networks
LOGO
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
.ซ
3. เฟส (Phase) เป็ นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ ซึ่ งจะวัดจากตาแหน่งองศา
ของสัญญาณเมื่อเวลาผ่านไป
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
สัญญาณดิจิตอล (Digital Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
สัญญาณดิจิตอล (Digital Signals)
สัญญาณดิจิตอลโดยส่ วนใหญ่เป็ นสัญญาณชนิ ดไม่มีคาบ ดังนั้นคาบเวลาและ
.ซ
ความถี่จึงไม่นามาใช้งานกับสัญญาณดิจิตอล แต่จะมีคาที่เกี่ยวของอยู่ 2 คาด้วยกัน คือ
Bit Interval มีความหมายเดียวกันกับคาบ (Period) โดย Bit interval คือเวลาที่
ส่ งข้อมูล 1 บิต
Bit Rate คือจานวนของ Bit Interval ต่อวินาที ซึ่ งมีหน่วยวัดเป็ นบิตต่อวินาที
(bps)
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
สัญญาณดิจิตอล (Digital Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
สัญญาณดิจิตอล (Digital Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
พืน้ ฐานของสั ญญาณ (Fundamentals of Signals)
สัญญาณดิจิตอล (Digital Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
หน่ วยวัดความเร็วในการส่ งข้ อมูล
อัตราบิต (Bit Rate/Data Rate) คือ จานวนบิตที่สามารถส่ งได้ภายในหนึ่ งหน่วยเวลา
. ซ ซึ่ งมีหน่วยเป็ นบิตต่อวินาที (Bit per second : bps)
อัตราบอด (Baud Rate) คือ จานวนของสัญญาณที่สามารถส่ งได้ต่อการเปลี่ยนแปลง
สัญญาณในหนึ่งหน่วยเวลา (baud per second)
ปกติแล้วอัตราบอดอาจมีค่าน้อยกว่าหรื อเท่ากับอัตราบิตก็ได้ ถ้าจะเทียบแล้วแบนด์
วิดธ์ในระบบสื่ อสารนั้นจะขึ้นอยูก่ บั อัตราบอด ไม่ใช่อตั ราบิต
หน่ วยวัดความเร็วในการส่ งข้ อมูล ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
หน่ วยวัดความเร็วในการส่ งข้ อมูล
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
หน่ วยวัดความเร็วในการส่ งข้ อมูล
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
1. การแปลงข้ อมูลแอนะล็อกเป็ นสั ญญาณแอนะล็อก (Analog Data to Aalgog Signal)
. ซ ในการแปลงข้อมูลแอนะล็อกเป็ นสัญญาณแอนะล็อกเป็ นรู ปแบบที่ง่าย มีตน้ ทุนต่า
โดยจะแทนข้อมูลแอนะล็อกด้วยสัญญาณแอนะล็อก เช่น ระบบวิทยุกระจายเสี ยง
Analog Data to Aalgog Signal ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
สั ญญาณพาหะ (Carrier Signal) มีคุณสมบัติพิเศษคือ เป็ นคลื่นความถี่สูงและเป็ น
. ซ คลื่นสัญญาณไฟฟ้ าที่สามารถส่ งออกผ่านสื่ อกลางได้บนระยะทางไกลๆ ครั้นเมื่อมีการนา
สัญญาณพาหะมารวมกันสัญญาณเสี ยงก็จะได้คลื่นสัญญาณใหม่ที่พร้อมส่ งออกผ่านไปยัง
สื่ อกลาง เช่น อากาศ โดยการรวมกันของสัญญาณในที่น้ ีจะเรี ยกว่า การมอดูเลต
(Modulate) เมื่อสถานีส่งได้ทาการส่ งสัญญาณที่ผา่ นการมอดูเลตไปแล้ว ฝ่ ายสถานีรับก็
จะต้องมีกรรมวิธีในการแยกสัญญาณพาหะนี้ออกจากสัญญาณเสี ยง ซึ่ งเรี ยกเทคนิคนี้วา่
การดีมอดูเลต (Demodulate)
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
2. การแปลงข้ อมูลดิจิตอลเป็ นสั ญญาณดิจิตอล (Digital Data to Digital Signal)
. ซ สาหรับสัญญาณดิจิตอล ค่าที่เป็ นไปได้จะเป็ นค่าไบนารี 0 หรื อ 1 เท่านั้น โดยสามารถ
แทนไบนารี 1 เป็ นแรงดันระดับสู งหรื อต่าก็ได้
Digital Data to Digital Signal ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็ นสัญญาณดิจิตอล จะมีเทคนิควิธีการเข้ารหัสสัญญาณ
. ซ ดิจิตอลหลายวิธีดว้ ยกัน คือ
1. การเข้ารหัสแบบ NRA-L (NonReturn to Zero Level)
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
2. การเข้ารัหสแบบ NRZ-I (NonReturn to Zero Invert)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
3. การเข้ารัหสแบบแมนเชสเตอร์ (Manchester)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
4. การเข้ารัหสแบบดิฟเฟอเรนเชียลแมนเชสเตอร์ (Differential Manachesster)
.ซ
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ทดสอบท้ ายบทเรียน สั ปดาห์ ที่ 8
1. ให้ นักศึกษานาข้ อมูลดิจิตอล 100101111000011 ไป
.ซ
แปลงให้ เป็ นสั ญญาณดิจิตอล ทั้ง 4 แบบ คือ
- NRA-L (NonReturn to Zero Level)
- NRZ-I (NonReturn to Zero Invert)
- Manchester
- Differential Manachesster
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
3. การแปลงข้ อมูลดิจิตอลเป็ นสั ญญาณแอนะล็อก (Digital Data to Analog Signal)
. ซ อุปกรณ์ที่นามาใช้เพื่อแปลงข้อมูลดิจิตอลมาเป็ นสัญญาณแอนะล็อก และแปลง
สัญณาณแอนะล็อกกลับมาเป็ นข้อมูลดิจิตอลนั้นเรี ยกว่า โมเด็ม (Modulator/Demodulator)
Digital Data to Analog Signal ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
ปกติสัญญาณโทรศัพท์ซ่ ึ งเป็ นช่องสัญญาณเสี ยง เมื่อมีการนามาใช้เพื่อส่ งสัญญาณ
. ซ ดิจิตอล จาเป็ นต้องมีการแปลงสัญญาณให้อยูใ่ นรู ปแบบที่เหมาะสมกับระสื่ อสาร ซึ่ ง
เรี ยกว่าการมอดูเลตด้วยการใช้สัญญาณพาหะเพื่อส่ งผ่านเข้าไปในช่องสัญญาณ และด้วย
เทคนิคการมอดูเลตยังสามารถทาให้ส่งข้อมูลในอัตราที่สูงขึ้นได้อีกด้วย
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
1. ASK (Amplitude Shift Keying)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
2. FSK (Frequency Shift Keying)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
3. PSK (Phase Shift Keying)
.ซ
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
การแปลงข้ อมูลให้ เป็ นสั ญญาณ (Converting Data into Signals)
4. การแปลงข้ อมูลแอนะล็อกเป็ นสั ญญาณดิจิตอล (Analog Data to Digital Signal)
. ซ อุปกรณ์ที่เรี ยกว่า โคเดค (Coder/Decoder) จัดเป็ นอุปกรณ์สาคัญที่ใช้สาหรับแปลง
ข้อมูลแอนะล็อกมาเป็ นสัญญาณดิจิตอลด้วยการใช้เทคนิค Voice Digitization ใน
ขณะเดียวกันก็ยงั สามารถแปลงกลับมาเป็ นสัญญาณแอนะล็อกได้ ตัวอย่างอุปกรณ์โคเดค
เช่น ซาวด์การ์ ด สแกนเนอร์ วอยซ์เมล์ และ วิดีโอคอนเฟอเรนซ์
Analog Data to Digital Signal ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
.ซ
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment) ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
1. การอ่อนกาลังของสั ญญาณ (Attenuation)
. ซ เมื่อสัญญาณข้อมูลได้เดินทางผ่านสื่ อกลาง ไม่วา่ จะเป็ นสายโคแอกเชียล สายคู่บิด
เกลียวหรื อสายไฟเบอร์ออฟติกไปในระยะทางไกลๆ ย่อมก่อเกิดการสู ญเสี ยพลังงาน ทา
ให้ความเข้มของสัญญาณลดลง และจะลดลงมากขึ้นเมื่อมีการส่ งในระยะทางที่ไกลขึ้นไป
อีก
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
อุปกรณ์ช่วยการส่ งสัญญาณแอนะล็อกก็ใช้อุปกรณ์ที่เรี ยกว่า แอมพลิไฟเออร์
. ซ (Amplifier) เพื่อใช้ขยายกาลังส่ งของสัญญาณ หรื อถ้าหากเป็ นการส่ งสัญญาณดิจิตอลจะ
ใช้อุปกรณ์ที่เรี ยกว่า รี พีตเตอร์ (Repeater) ช่วยซ่อมแซมสัญญาณให้อยูใ่ นรู ปเดิม
เหมือนกันต้นฉบับ
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
2. สั ญญาณเคลือ่ นที่ด้วยความเร็วต่ างกัน (Distortion)
. ซ เป็ นเหตุการณ์หนึ่ งที่สามารถเกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะกับสัญญาณประเภท Composite
Signal ที่สัญญาณแต่ละความถี่ได้เคลื่อนที่ผา่ นสื่ อกลางด้วยความเร็ วแตกต่างกัน สามารถ
ป้ องกันได้ดว้ ยการเพิ่มวงจร Equalizes เพื่อตรวจสัญญาณที่เข้ามาและปรับความถี่ของแต่
ละสัญญาณให้มีความเร็ วเท่ากัน
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
.ซ
3. สั ญญาณรบกวน (Noise)
3.1 เทอร์มลั นอยส์ (Thermal Noise)
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
.ซ
3. สั ญญาณรบกวน (Noise)
3.2 อิมพัลส์นอยส์ (Impulse Noise)
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
.ซ
3. สั ญญาณรบกวน (Noise)
3.3 ครอสทอล์ก (Crosstalk)
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
.ซ
3. สั ญญาณรบกวน (Noise)
3.4 เอกโค (Echo)
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
ความสู ญเสี ยของสั ญญาณจาการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Impairment)
.ซ
3. สั ญญาณรบกวน (Noise)
3.5 จิตเตอร์ (Jitter)
www.pcbc.ac.th
LOGO
Data Communication and Networks
LOGO
การป้ องกันสั ญญาณรบกวน
1. ใช้สายเคเบิลชนิดที่มีฉนวนป้ องกันสัญญาณรบกวน ซึ่ งเป็ นเทคนิคหนึ่งที่ช่วยลด
. ซ การแทรกแซงจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า และครอสทอล์กได้เป็ นอย่างดี
2. สายโทรศัพท์ควรอยูใ่ นสภาวะที่เหมาะสม
3. ใช้อุปกรณ์ใหม่ที่มีประสิ ทธิ ภาพและทันสมัยกว่า เพื่อทดแทนอุปกรณ์เดิมที่
หมดอายุการใช้งานหรื อมีประสิ ทธิ ภาพต่า ถึงแม้อุปกรณ์ใหม่น้ นั จะมีราคาแพง แต่เมื่อ
เทียบกับผลที่ได้กบั การส่ งผ่านข้อมูลที่ดีข้ ึน ก็น่าจะเป็ นทางเลือกที่ดี
การป้ องกันสั ญญาณรบกวน ?
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
การป้ องกันสั ญญาณรบกวน
4. เมื่อต้องการเพิ่มระยะทางในการส่ งข้อมูล ให้ใช้อุปกรณ์รีพีตเตอร์ กรณี ส่งสัญญาณ
. ซ ดิจิตอล หรื อแอมพลิไฟเออร์ กรณี ส่งสัญญาณแบบแอนะล็อก ซึ่ งอุปกรณ์ดงั กล่าวนอกจาก
ช่วยเพิ่มระยะทางแล้ว ยังมีส่วนช่วยลดข้อผิดพลาดของสัญญาณลงได้
5. พิจารณาข้อกาหนดและข้อจากัดของสายสัญญาณแต่ละชนิ ด
www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks
LOGO
ทดสอบท้ ายบทเรียน สั ปดาห์ ที่ 8
1. จงบอกคุณลักษณะสาคัญของสั ญญาณแอนะล็อก และสั ญญาณดิจิตอลให้
. ซ อธิบาย 5 – 10 บรรทัด
2. สั ญญาณแอนะล็อก (Analog Signals) ประกอบด้ วยส่ วนพืน้ ฐานหลักๆ อยู่
กีอ่ ย่ างและแต่ ละอย่ างมีคุณสมบัติอย่ างไรบ้ าง ให้ อธิบาย 5 – 10 บรรทัด
3. สรุปเนือ้ หาการเรียนการสอนในวันนี้
www.pcbc.ac.th