ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล
หมายถึง การโอนถ่ ายข้ อมูลหรือการแลกเปลีย่ น
ข้ อมู ลระหว่ างผู้ ส่ง ต้ นทางกับ ผู้ รั บ ปลายทาง ทั้ง
ข้ อมูลประเภทข้ อความ รู ปภาพเสี ยง หรื อข้ อมู ล
สื่ อ ผสม โดยผู้ ส่ งต้ น ทางส่ งข้ อ มู ล ผ่ า นอุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ ไปยังคอมพิวเตอร์
ปลายทาง
องค์ ประกอบพืน้ ฐานในการ
สื่ อสารข้ อมูล
1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ ส่งข้ อมูล (Sender) ทาหน้ าที่
ส่ งข้ อมูลไปยังจุดหมายทีต่ ้ องการ
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์ รับข้ อมูล (Receiver) ทาหน้ าที่
รับข้ อมูลทีถ่ ูกส่ งมาให้
3. ข่ าวสาร/ข้ อมูล (Massage/Data) ข้ อมูลทีส่ ่ งไป
ในรูปบองข้ อความ เสี ยง ภาพเคลือ่ นไหวและอืน่
4. สื่ อกลางหรือตัวกลางในการนาส่ งข้ อมูล
(Medium) ทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางในการขนถ่ าย
ข้ อมูลจากผู้ส่งข้ อมูลไปยังผู้รับข้ อมูล เช่ น สาย
เคเบิล สายใยแก้วนาแสง อากาศ
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎหรือ
ข้ อกาหนดมาตรฐานหรือข้ อตกลงที่ควบคุม
การสื่ อสารข้ อมูลระหว่ างผู้ส่งกับผู้รับ
ชนิดของสั ญญาณในการสื่ อสารข้ อมูล
มี 2 ลักษณะ คือ....
1. สั ญญาณแบบดิจทิ ลั (Digitals signal)
2. สั ญญาณอนาลอก (Analog Signal)
1. สั ญญาณดิจิตอล (Digital Signals)
เป็ นการส่ งข้ อมู ลโดยการใช้ ความแตกต่ าง ของสถาวะ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ สถาวะ “เปิ ด” (1) และสถาวะ “ปิ ด”
(0) และเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ ทางานในรู ปแบบ
ของสั ญ ญาณดิ จิ ต อล ค่ า ของสั ญ ญาณ คื อ ค่ า ของ
เลขฐานสอง สั ญญาณดิจิตอลจะวิ่งบนช่ องทางสื่ อ สารที่
เรียกว่ า “เบสแบนด์ ” (Bass – Band) หน่ วยวัดอัตรา
ความเร็ วในการส่ งข้ อมูลสั ญญาณดิจิดอล เรี ยกว่ า Bit
rate เช่ น 14,400 bps (bits per Second) หมายถึง มี
ความเร็วในการส่ งข้ อมูลจานวน 14,400 บิตในระยะเวลา
1 วินาที
ข้ อดี
1. สั ญญาณมีความน่ าเชื่อสู ง แม่ นยา
ข้ อเสี ย
2. สั ญญาณอาจเกิดอาจผิดเพีย้ นได้ ง่าย ถ้ ามีการ
ส่ งต่ อในระยะไกล
2. สั ญญาณแบบอนาลอก (Analog signal)
เป็ นการส่ งข้ อมูลไปในรูปแบบคลืน่ ทีต่ ดิ ต่ อกันไปเป็ น
สั ญญาณมีระดับของสั ญญาณเปลีย่ นแปลงอย่าง
ต่ อเนื่อง ค่ าของสั ญญาณ ขนาดของสั ญญาณอนาล็อค
จะวิ่งบนช่ อง ทางการสื่ อสารที่เรียกว่ า “บรอดแบนด์
(Broad – Band)” ตัวอย่ าง เช่ น สั ญญาณเสี ยงใน
สายโทรศัพท์ หน่ วยวัดความถี่ของสั ญญาณอนาล็อก
เรียกว่ า เฮิรตซ์ (Hertz) เช่ น 60 Hz หมายถึง 1
วินาที สั ญญาณมีการเปลีย่ นแปลงระดับสั ญญาณ 60
รอบ
ข้ อดี
1. สั ญญาอนาล็อคสามารถส่ งได้ ในระยะไกล
ข้ อเสี ย
2. สั ญญาณจะถูกรบกวนได้ ง่าย หากถูกรบกวน
มากก็อาจส่ งผลต่ อข้ อมูลให้ เกิดความผิดพลาด
ได้
ทิศทางการสื่ อสารข้ อมูล
1. การสื่ อสารข้ อมูลทิศทางเดียว
(Simplex Transmission)
เป็ นการส่ งข้ อ มู ล
ข่ า วสารผ่ า นสื่ อ กลางไป
ยังผู้รับได้ อย่ างเดียว โดย
ที่ ผู้ รั บ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ส่ ง
ข้ อมู ล ข่ าวสารโต้ ตอบ
กลับมาได้ เลย
2. การสือ่ สารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน
(Half Duplex Transmission)
วิทยุสื่อสารของตารา
แบบวอกกี้ – ทอกกี้
เป็ นการส่ งข้อมูลข่าวสารผ่าน
สื่ อกลางซึ่ งสามารถส่ งข้อมูล
ข่าวสารสวนทางกันได้ แต่
จะทาในเวลาเดียวกันไม่ได้
ต้องผลัดกันรับส่ งข้อมูล
3. การสื่อสารข้ อมูลสองทิศทางพร้ อมกัน
(Full Duplex Transmission)
เป็ นการส่ งสั ญญาณ
ทีผ่ ู้รับข่ าวสารและผู้
ส่ งข่ าวสารสามารถ
ส่ งข้ อมูลได้ พร้ อม
กันทั้งสองทาง
วิธีการสื่ อสารข้ อมูล (Data Transmission) / โหมด
ของการส่ งผ่ านข้ อมูล (Transmission Mode)
1. การส่ งผ่ านข้ อมูลแบบขนาน (Parallel
Transmission)
2. การส่ งผ่ านข้ อมูลแบบอนุกรมหรือแบบเรียงลาดับ
(Serial Transmission)
1. การส่ งผ่ านข้ อมูลแบบขนาน (Parallel
Transmission)
เป็ นการส่ งข้ อมูลในลักษณะทีบ่ ิตเรียงตัวขนานกัน
โดยเริ่มจากผู้ส่งหรือต้ นกาเนิดของข้ อมูลผ่ านสาย
ส่ งสั ญญาณไปยังผู้รับ โดยอาศัยสายส่ งเท่ าจานวน
บิต การส่ งแบบนีจ้ ึงมักใช้ ในระยะทางใกล้
เพราะถ้ าระยะทางไกลจะทาให้ สิ้นเปลืองค่าส่ วยส่ ง
มาก ส่ วนข้ อดีคอื มีความเร็วสู ง
2. การส่ งผ่ านข้ อมูลแบบอนุกรมหรือแบบ
เรียงลาดับ (Serial Transmission)
เป็ นการส่ งข้ อ มู ล ในลั ก ษณะที่ ทุ ก บิ ต ที่ เ ข้ า รหั ส แทน
ตั ว อั ก ษรจะถู กส่ งผ่ านไปตามสายส่ งสั ญญาณ
เรียงลาดับกันไปทีละบิตในสายส่ งเพียงเส้ นเดียว ซึ่งทา
ให้ ประหยัดค่ าใช้ จ่ายในเรื่ องสายส่ งสั ญญาณ ซึ่ งนิยม
ใช้ ในการส่ งข้ อมูลในระยะทางไกล รู ปแบบการส่ งใน
2 วิธี คือ
1. การส่ งแบบอะชิงโครนัส (Asynchronization
transmission)
2. การส่ งแบบชิงโครนัส (Aychronization
transmission)
1. การส่ งแบบอะชิงโครนัส
(Asynchronization
transmission)
เป็ นการส่ งข้ อมูลทีละตัวอักษร โดยข้ อมูลแต่ ละตัวอักษรจะถูก
ควบคุมโดยบิตเริ่มต้ น (Start bit : มีค่าเป็ น 0 ) และบิตสุ ดท้ าย
(Stop bit : มีค่าเป็ น 1 ) โดยปกติเมื่อไม่ มีการส่ งข้ อมูล
สั ญญาณจะมีค่าเป็ น 1 ตลอด ตัวควบคุมจะเป็ นตัวปรับจังหวะ
การรับส่ งข้ อมูล ให้ มีความสั มพันธ์ กนั ระหว่ างสถานีส่งข้ อมูล
และสถานีรับข้ อมูล การส่ งผ่ านข้ อมูลแบบนีใ้ ช้ อตั ราเร็วต่า และ
ช่ อง สั ญญาณชนิดแคบ (Narrow – Band) และช่ องสั ญญาณ
เสี ยง (Voice Band) เช่ น การเคาะโทรเลข การส่ งอีเมล์
2. การส่ งแบบชิงโครนัส (Aychronization
transmission)
เป็ นการส่ งข้ อมูลโดยการจัดกลุ่มข้ อมูลเป็ นกลุ่ม แล้ วทา
การส่ งข้ อมูลทั้งหมดไปพร้ อมกันในทีเดียวโดยไม่ มีช่องว่ าง
เรียกว่ า Block of data ส่ งข้ อมูลได้ เร็วกว่ าแบบอะชิ ง
โครนัส เมื่อเริ่ มส่ งข้ อมูลทางฝ่ ายส่ งข้ อมูลจะต้ องทาการส่ ง
สั ญญาณให้ ทางฝ่ ายรั บข้ อมูลทราบว่ าจะเริ่ มส่ งข้ อมูลแล้ ว
โดยจะส่ งเป็ นสั ญญาณ syn ตัว ซึ่งเป็ นตัวอักษร ตัวหนึ่ง
บอกเป็ นจุดเริ่มต้ นและสิ้นสุ ดของ Block เมื่อปลายทางพบ
ลักษณะตัวอักษรแบบ syn ก็จะรู้ จุดเริ่มต้ นได้
รู ปแบบการเชื่อมโยงการสื่ อสารข้ อมูล
1. การเชื่อมโยงจุดต่ อจุด (Point – to – Point)
Terminal
Terminal
รู ปแบบการเชื่อมโยงการสื่ อสารข้ อมูล (ต่ อ)
แบบดาว (Star)
แบบต้ นไม้ (Tree) หรือแบบบัส (Bus)
แบบวงแหวน (Ring)
แบบผสม (Complex)
เป็ นการเชื่อมโยงระหว่ างคอมพิวเตอร์ กบั เทอร์
มินัส โดยการสื่ อสารจะถูกจองการส่ งข้ อมูลอยู่
ตลอดเวลา (Lease Line) ดังนั้นการเชื่อมโยง
แบบจุดต่ อจุดจึงเหมาะสมกับงานทีม่ ีการรับส่ ง
ข้ อมูลจานวนมาก และต่ อเนื่อง เช่ น การเช่ า
สายสื่ อสารจากองค์ กรโทรศัพท์ เพือ่ ใช้ ในระบบ
ATM ของธุรกิจธนาคาร เป็ นต้ น
2. การเชื่อมโยงแบบหลายจุด (Multipoint )
เทอร์ มนิ ัลหรืออุปกรณ์ ปลายทาง
ศูนย์ ควบคุม
แบบบัสเดียว
ศูนย์ ควบคุม
1 เส้นทาง
เทอร์มินลั
ศูนย์ควบคุม
แบบหลายบัส
แบบแพร่ กระจาย
จากการเชื่ อมโยงแบบจุด – ต่ อ – จุด ทาให้ สิ้นเปลือง
สารสื่ อสารมากเกินไป หากใช้ สายสื่ อสารเพียงเส้ น
เดี ย ว เชื่ อ มโยงเทอร์ มิ ทั ล เข้ า ด้ ว ยกั น จะเป็ นการ
ประหยัดค่ าใช้ จ่ายได้ มากกว่ า แต่ อย่ างไรก็ตามการ
ติดต่ อสื่ อสารแบบหลายจุด ยังต้ องการการตรวจสอบ
สั ญ ญาณเพื่อ ไม่ ใ ห้ สั ญ ญาณต่ า ง ของแต่ ล ะเทอร์
มิทัลวิ่งชนกัน โดยมีวิธีการตรวจสอบ 2 วิธี คือ การ
สอบถาม (Polling) การรอคอย (Contention)
3. การเชื่อมโยงแบบสวิตชิ่ง (Switching Network)
เป็ นการเชื่อมโยงแบบสวิตชิ่งจะเป็ นการเชื่อมต่อแบบ
สลับช่องสื่ อสารกันได้ ในลักษณะแบบเดียวกับโทรศัพท์
อัตราความเร็ว (Baud Rate)
เรียกว่ า บอดเรต (Baud Rate) หมายถึง จานวนครั้งที่ข้อมูลถูก
ส่ งไปต่ อวินาที อัตราความเร็ว 1 Baud ต่ อวินาที จะ = 1 บิต
ต่ อวินาที หรือ bpsc (bit per second) แต่ ในความเป็ นจริง
สามารถส่ งจานวนบิตได้ มากกว่ า 1 บิต โดยปกติความเร็วในการ
ส่ งข้ อมูลจะมีอตั ราเร็วเป็ น 300, 1200, 2400, 4800, 9600, 19200,
28400, 33600, 56000 บิตต่ อวินาที อุปกรณ์ โมเด็มที่ใช้ กบั
ไมโครคอมพิวเตอร์ จะมีอตั ราความเร็วในการส่ งข้ อมูล 30056000 Baud และในระบบคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ยงั สามารถ
ส่ งผ่ านข้ อมูลด้ วยอัตราเร็วสู งกว่าโดยการใช้ โมเด็มที่มคี วามเร็วสู ง
ความกว้ างของช่ องสั ญญาณ(band width)
จะเป็ นการกาหนดความเร็วของการส่ งข้ อมูล ไปตามช่ อง
สั ญญาณ หรือ ความถี่ท้งั สั ญญาณการกระจายครอบคลุมอยู่
ซึ่งการส่ งสั ญญาณไปตามช่ อง มี 3 ช่ องสั ญญาณ
1. ช่ องสั ญญาณชนิดแคบ (narrow –band channel)
สามารถส่ งผ่านข้อมูลด้วยอัตราความเร็ ว 40-100 บิตต่อ
วินาที(bps) เช่นสายโทรเลข
2. ช่ องสั ญญาณชนิดเสี ยง (voice-band channel)
สามารถส่ งผ่านข้อมูลด้วยอัตราความเร็ ว 110-56000 บิตต่อ
วินาที (bps) เช่นสายโทรศัพท์
3. ช่ องสั ญญาณชนิดกว้ าง (broad-band channel)
สามารถส่ งผ่านข้อมูลด้วยอัตราความเร็ วจานวนพันล้านบิต
ต่อวินาที ด้วยเทคโนโลยีที่พฒั นาไปไกล เช่น ไมโครเวฟ
โคแอกเชียล เคบิล เส้นใยแก้วนาแสง
แบนต์ วชิ
เป็ นแกนความถี่ของช่ องสั ญญาณโดยจะเป็ นตัวกาหนดความจุ
ปริมาณของข้ อมูลทีจ่ ะส่ งไปในช่ วงเวลาหนึ่ง มีหน่ วยวัดเป็ น
บิตต่ อวินาที (Bit per second : Bps) ถ้ าหากแบนต์ วชิ สู ง
หมายถึง ภายในหนึ่งวินาทีสามารถรับส่ งข้ อมูลได้ ในปริมาณ
มาก ซึ่งส่ งผลต่ อความเร็วในการรับส่ งข้ อมูลด้ วย
แบนต์ วชิ มีหน่ วยวัดเป็ น
กิโลบิตต่ อวินาที (Kilobits per second : Kbps)
เมกะบิตต่ อวินาที (Megabits per second : Mbps)
กิกะบิตต่ อวินาที (Gigabits per second : Gbps
ผู้ถ่ายทอดสั ญญาณการสื่ อสารรับอนุญาต
(Commoon Carrier)
ผูท้ ี่จะประกอบธุรกิจการถ่ายทอดสัญญาณสื่ อสารได้
จาเป็ นจะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐบาล และการส่ งข้อมูล
ข่าวสารนั้นจะต้องถูกควบคุมโดยรัฐบาล ผูป้ ระกอบธุรกิจ
ด้านการถ่ายทอดสัญญาณการสื่ อสารที่ได้รับอนุญาตแล้ว
เรี ยกว่า ผูถ้ ่ายทอดสัญญาณการสื่ อสารรับอนุญาต
Common Carrier (คอมมอนแดริ เออร์)
ในสหรัฐอเมริ กาผูถ้ ่ายทอดสัญญาณการสื่ อสารอนุญาตราย
สาคัญ คือ ATO&T (American Telephone and Telegraph),
GTE (General Telephone & Electronics)
สาหรับในประเทศไทยผูถ้ ่ายทอดสัญญาณการสื่ อสารรับอนุญาติ
เช่น บริ ษทั สามารถเทเลคอมมูนิเคชัน่ บริ ษทั เทเลคอมเอเชีย
บริ ษทั ไทยเทเลโพแอนด์เทเลคอมมิวนิเคชัน่ เป็ นต้น ซึ่ งอยู่
ภายใต้การควบคุมดูแลของหน่วยงานและรัฐวิสาหกิจ สังกัด
กระทรวงคมนาคม เช่น องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
กรมไปรษณี ยโ์ ทรเลขและการสื่ อสารแห่งประเทศไทย
สื่ อกลางการสื่ อสารข้ อมูล
(Transmission media)
มี 21. ลัสือ่กกลางแบบมี
ษณะ คือ....สาย (Guide media)
2. สือ่ กลางแบบไร้สาย (Unguided media)
1. สื่ อกลางแบบมีสาย (Guide media)
1.1 Twisted Pair (สายคู่ตเี กลียว)
- UTP (Unshielded Twisted Pair)
- STP (Shield Twisted Pair)
- UTP (Unshielded Twisted Pair)
สายทองแดงแบบไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshield
Twisted Pair ) มีราคาถูกและนิยมใช้กนั มากที่สุด ส่วน
ใหญ่มกั ใช้กบั ระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนี้มกั จะถูก
รบกวนได้ง่ายและไม่ค่อยทนทาน
สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน ( Shielded Twisted
Pair ) มีลกั ษณะเป็ นสอบเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้า
ด้วยกันเพื่อลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ ม้ รอบนอก มีราคาถูก
ติดตั้งง่าย น้ าหนักเบาและการรบกวนทางไฟฟ้ าต่า
สายโทรศัพท์จดั เป็ นส่ วนคู่บิดเกลียวแบบหุ ม้ ฉนวน
สายคู่ ตี เ กลี ย วไม่ มี ห้ ุ มฉนวน (Unshielded
twisted pair - UTP) เป็ นสายตัวนาที่นิยมนามาใช้
ในการสื่ อ สารข้อ มูล ในระบบเครื อ ข่ า ยในปั จจุ บ ัน
เนื่ องจากให้ประสิ ทธิ ภาพในการส่ งสัญญาณข้อมูล
ได้ดี และราคาไม่แพงจนเกินไป
1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
สายแบบนี้ จะประกอบด้วยตัวนาที่ใช้ในการส่ งข้อมูลเส้นหนึ่งอยู่
ตรงกลางอีกเส้นหนึ่ งเป็ นสายดิ น ระหว่างตัวนาสองเส้นนี้ จะมี
ฉนวนพลาสติกกั้นสายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่ งข้อมูลได้ไกล
กว่าแบบบางแต่มีราคาแพงและติดตั้งได้ยากกว่า
1.3 ใยแก้ วนาแสง (Fiber-Optic)
ทาจากแก้ วหรือพลาสติกมีลกั ษณะเป็ นเส้ นบาง
คล้ ายเส้ นใยแก้ วจะทาตัวเป็ นสื่ อในการส่ งแสง
เลเซอร์ ที่มีความเร็วในการส่ งสั ญญาณเท่ ากับ
ความเร็วของแสง
ข้ อดีตรงที่ส่งสั ญญาณได้
ระยะทางไกลโดยไม่ มี
สั ญญาณรบกวน
2. สื่ อกลางแบบไร้ สาย (Unguided media)
2.1 ระบบคลืน่ ไมโครเวฟ
สั ญญาณไมโครเวฟเป็ นคลื่นวิทยุเดินทางเป็ นเส้ นตรง
อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการรับ-ส่ ง คือ จานสั ญญาณไมโครเวฟซึ่ง
มักจะต้ องติดตั้งในที่สูงและมักจะให้ อยู่ห่างกันประมาณ
25-30 ไมล์ ข้ อดีคือ สามารถส่ งสั ญญาณด้ วยความถี่
กว้ าง และการรบกวนจากภายนอกจะน้ อยมากจนแทบ
ไม่ มีเลย ข้ อเสี ยคือ ถ้ าระหว่างจานสั ญญาณไมโครเวฟมี
สิ่ งกีด ขวางก็จะทาให้ การส่ งสั ญ ญาณไม่ ดีห รื ออาจส่ ง
สั ญญาณไม่ ได้ การส่ งสั ญญาณไมโครเวฟนีจ้ ะใช้ ใ นกรณี
ทีไ่ ม่ สามารถจะติดตั้งสายเคเบิลได้ เช่ น อยู่ในเขตป่ าเขา
2.2 ระบบดาวเทียม
มีลกั ษณะการส่ งสั ญญาณคล้ายไมโครเวฟ แต่ ต่างกันตรงที่
ดาวเทียมจะมีสถานีรับ-ส่ งสั ญญาณลอยอยู่ในอวกาศ จึงไม่
มีปัญหาเรื่องส่ วนโค้งของผิวโลกเหมือนไมโครเวฟ
ดาวเทียมจะทาหน้ าทีข่ ยายและทบทวนสั ญญาณให้ แรง
เพิม่ ขึน้ ก่อนส่ งกลับมายังพืน้ โลก ข้ อดีคอื ส่ งข้ อมูลได้ มาก
และมีความผิดพลาดน้ อย ส่ วนข้ อเสี ยคือ อาจจะมีความ
ล่ าช้ าเพราะระยะ ทางระหว่างโลกกับดาวเทียม หรือถ้ า
สภาพอากาศไม่ ดกี อ็ าจจะก่อให้ เกิดความผิดพลาดได้
ความถีใ่ นการส่ งสั ญญาณข้ อมูลขึน้ ไปหาดาวเทียม
เรียกว่ า สั ญญาณอัปลิงก์ (Uplink)
ความถี่ในการส่ งสั ญญาณกลับลงมายังพืน้ โลก เรียกว่ า
สั ญญาณดาวน์ ลงิ ก์ (Downlink)
ระบบเชลลูลาร์ (Cellular System)
เป็ นระบบทีก่ าหนดพืน้ ทีค่ รอบคลุม โดยแบ่ งพืน้ ที่
ครอบคลุมออกเป็ นเชลล์ย่อย แต่ ละเชลล์ จะมี
ลักษณะเป็ นรูปหกเหลีย่ ม ในการรับส่ งสั ญญาณจะใช้
ความถีค่ ลืน่ วิทยุ ความแรงของสั ญญาณจึงขึน้ อยู่กบั
สั ญญาณวิทยุทแี่ ผ่ ออกไป บางทีเรียกระบบนีว้ ่ า การ
สื่ อสารแบบเคลือ่ นที่ (Mobile)
ระบบอินฟราเรด (Infrared)
เป็ นระบบที่ส่งสั ญญาณโดยใช้ คลืน่ แสง ถูกใช้ มากในการ
สื่ อสารระยะใกล้ เช่ น การใช้ แสงอินฟราเรดในเครื่ อง
รี โมตคอนโทรลของเครื่ องวิทยุ โทรทัศน์ จึงสามารถ
สร้ างได้ ง่าย ราคาถูก ข้ อเสี ยคือ ไม่ สามารถทะลุผ่าน
วัตถุทึบแสงได้ ดังนั้นระบบอินฟราเรดนี้จึงเหมาะที่จะ
สื่ อ สารภายในห้ อ งเท่ านั้ น จะไม่ กระทบกระเทือนกับ
ห้ องข้ างเคียงและมีความปลอดภัยของข้ อมูลอีกด้ วย
ระบบวิทยุ (Radio Link)
จะใช้ คลืน่ วิทยุในการรับส่ งข้ อมูล เช่ น การใช้
ระบบวิทยุในกิจการต่ าง ทหาร ตารวจ เป็ น
ต้ น ในปัจจุบันได้ นาระบบนีม้ าใช้ ร่วมกับ
คอมพิวเตอร์ ข้ อดี เสี ยค่ าใช้ จ่ายของสื่ อตัวกลาง
ไม่ มากนัก การส่ งสั ญญาณสามารถส่ งสั ญญาณ
หนึ่งสถานีแต่ รับได้ หลายสถานี และมีขอบเขต
การส่ งสั ญญาณได้ กว้ างไกล
ระบบสเปกตรัมแกมกว้ าง (Spread Spectrum System)
เป็ นระบบคลืน่ วิทยุทมี่ กี ารพัฒนาโดยกองทัพ
สหรัฐอเมริการะหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เพือ่
ห้ องกันสั ญญาณรบกวนและการดังฟัง สั ญญาณ
เหมาะกับการใช้ งานระบบเครือข่ ายขนาดเล็ก
ภายในอาคารเดียวกัน ถูกพัฒนาจนสามารถรับส่ ง
ได้ ด้วยความเร็วสู งถึง 10 Mbps
บลูทูธ (Bluetooth)
เป็ นเทคโนโลยีไร้ สายเป็ นทีน่ ิยมในอนาคต พัฒนาจาก
คลืน่ สั้ นสาหรับการสื่ อสารระหว่ างอุปกรณ์ ต่าง โดยใช้
คลืน่ วิทยุความถี่ 2.4 GHz เป็ นสื่ อในการรับส่ งข้ อมูล
ความเร็วในการส่ งจะอยู่ที่ 1 Mbps (เมกะบิตต่ อ
วินาที) และมีการเข้ ารหัสข้ อมูล เพือ่ ป้ องกันการดักฟัง
สั ญญาณ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ เช่ น โทรศัพท์ เคลือ่ นที่ PDA
(คอมขนาดเล็กเพือ่ ใช้ จดบันทึกต่ าง สามารถพกพาติด
ตัวไปได้ สะดวก)
เครือข่ ายแบบจีพอี าร์ เอส (GPRS : General
Packet Radio Service)
เป็ นบริการแบบไร้ สายในการเพิม่ มาตรฐานของระบบ
โทรศัพท์ เคลือ่ นที่ระบบ GSM ให้ มีความสามารถส่ ง
ข้ อมูลผ่ านดาต้ าแพ็กเก็ตได้ อย่างต่ อเนื่อง และสนับสนุน
ความสามารถแบบเชื่อมต่ อตลอดเวลาทาให้ สามารถรับ
ส่ งข้ อมูลได้ ทนั ทีโดยไม่ ต้องทาการต่ อโทรศัพท์ ใหม่ เช่ น
การดูข้อมูลและบริการต่ าง ทางอินเตอร์ เน็ต การ
รับส่ งอีเมล์
ความหมายของระบบเครือข่ าย
ระบบการสื่ อ สารและแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ โดยการเชื่อมต่ อระหว่ างคอมพิวเตอร์
ตั้ ง แต่ 2 เครื่ อ งขึ้ น ไปติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นทางช่ อง
ทางการสื่ อสารต่ าง เช่ น สายโทรศั พท์ สายเคเบิ ล
ห รื อ ท า ง สื่ อ ส า ร อื่ น เ ช่ น โ ม เ ด็ ม ( Modem)
คลื่นสั ญญาณไมโครเวฟ (Microwave) สั ญญาณ
อินฟราเรด (Infrared) และสายใยแก้ วนาแสง (Fiber
Optic)
วัตถุประสงค์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
1. การเข้ าถึงคอมพิวเตอร์ จากระยะไกลให้ ผู้ใช้
สามารถติดต่ อสื่ อสารกันได้
2. การเชื่อมต่ อคอมพิวเตอร์ หลาย เครื่องเข้ า
หากันเพือ่ ประโยชน์ ในการใช้ ข้อมูลร่ วมกัน
3. การส่ งข่ าวสารไปยังผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ทอี่ ยู่
ห่ างไกลออกไป
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
1. การใช้ ระบบเครือข่ ายเพือ่ การติดต่ อสื่ อสารและ
แลก เปลีย่ นข้ อมูลระหว่ างหน่ วยงาน ทาให้ เกิด
ความสะดวกและมีความคล่องตัวยิง่ ขีน้
2. การใช้ ระบบเครือข่ ายเพือ่ สนับสนุนการจัดการ
และการใช้ ทรัพยากรของหน่ วยงานให้ มี
ประสิ ทธิภาพและเกิดประโยชน์ สูงสุ ด
3. การสารอข้ อมูลและระบบโปรแกรมผ่ าน
ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
4. การเข้ าถึงจะใช้ งานทรัพยากรคอมพิวเตอร์ และ
ระบบฐานข้ อมูลของหน่ วยงานจากระยะไกล
องค์ ประกอบของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
1. ระบบคอมพิวเตอร์
ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ตั้ ง แ ต่ เ ม น เ ฟ ร ม
มินิคอมพิวเตอร์ และไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่ งแต่
ละแบบจะทาหน้ าที่ในการให้ บริ การเครื อข่ ายที่
แตกต่ างกัน แบ่ งได้ 2 ลักษณะคือ
1.1 คอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้ าที่เป็ นผู้ให้ บริ การ
หรื อ เซิ ร์ ฟเวอร์ (Server) เป็ นคอมหลั ก ที่ ท า
ห น้ า ที่ ค วบ คุ ม และ ใ ห้ บ ริ กา ร เ ช่ น เ ก็ บ
แฟ้ มข้ อ มู ล พิ ม พ์ ง านออกทางเครื่ อ งพิ ม พ์
บริ ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์
เครือข่ าย
1.2 คอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้ าที่เป็ นผู้รับบริการหรือ
ไคลเอ็นต์ (Client) เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีซีพียู
ของตั ว เอง เครื่ องไคลเอ็ น ต์ จะส่ งค าขอ
(Request) ใช้ งานไปขอโปรแกรมและข้ อมูลที่เก็บ
ไว้ ที่เซิร์ฟเวอร์ เมื่อเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ทางานตามคา
ขอก็จะส่ งผลลัพธ์ ตอบกลับมา
2. ช่ องทางการสื่ อสาร (Communication
Channel)
หมายถึง สื่ อกลางหรื อตัวกลางที่ให้ ข่าวสารข้ อมูลผ่ านเข้ า
มาในรู ปสั ญญาณจะผ่ านสื่ อกลางได้ หลายแบบ เช่ น สื่ อที่
เป็ นระบบไร้ สาย (Wired System) เป็ นการส่ งผ่ านข้ อมูลไป
ตามสายนาสั ญญาณชนิดต่ าง เช่ น สายคู่บิตเกลียว สาย
โคแอกเชียล สายเคเบิลใยแก้ วนาแสง หรือสื่ อที่เป็ นระบบ
ไร้ สาย (Wireless System) เป็ นการส่ งผ่ านตัวกลางที่เป็ น
อากาศในรู ป ของคลื่ น แม่ เ หล็ ก ได้ แ ก่ ระบบไมโครเวฟ
ระบบดาวเทียม ระบบเซลลูลาร์
3. อุปกรณ์ (Hardware)
หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และสื่ อนาข้ อมูลแล้ วยังมีชุดอุปกรณ์
ชนิดอืน่ ในการเชื่อมต่ อระบบที่มีผลต่ อการทางาน และให้
ประสิ ทธิภาพของการสื่ อสาร เช่ น โมเด็ม เร้ าเตอร์ (Router)
4. โปรแกรม (Software)
หมายถึง ชุดควบคุมการทางานของอุปกรณ์ ในการสื่ อสารทีจ่ ะทา
หน้ าที่รับ-ส่ งข้ อมูล ควรเลือกชุดของโปรแกรมทีม่ ีระบบควบคุมการ
ทางานที่มีประสิ ทธิภาพ เหมาะสาหรับใช้ งานและราคาไม่ ควรแพง
เกินไป รวมถึงสามารถอัปเกรด (Upgrade) หรือเปลีย่ นแปลงแก้ ไข
ได้ ในอนาคต
ประเภทของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ แบ่ งได้ 3 ประเภท
1. แบ่ งตามลักษณะการใช้ งาน
2. แบ่ งตามพืน้ ที่ของการบริการ
3. แบ่ งตามรู ปแบบการประมวลผลข้ อมูลใน
ระบบเครือข่ าย
1. การแบ่ งเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ตามลักษณะ
การใช้ งาน
1.1 เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ แบบแม่ ข่าย – ลูกข่ าย
(Client-Server Networking)
1.2 เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ แบบเสมอภาคหรือเท่ า
เทียมกัน (Peer-to-Per Networking)
1.1 เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ แบบแม่ ข่าย – ลูกข่ าย
(Client-Server Networking)
แม่ ข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่
เป็ นศูนย์ กลางของระบบเครือข่ ายทีร่ วบรวมทรัพยากรต่ าง
และให้ คอมพิวเตอร์ ทเี่ ป็ นลูกข่ ายสามารถเข้ าไปใช้ ประโยชน์
จากทรัพยากรทีม่ อี ยู่
ลูกข่ ายหรือไกลแอ็นต์ (Client) เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่
เป็ นสถานีงาน เวิร์กสเตชัน (Workstation) หรือลูก
ข่ ายเพือ่ ให้ ผู้ใช้ ได้ ใช้ งานและเป็ นช่ องทางในการเข้ าถึง
และใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรต่ าง ของแม่ ข่าย
1.2 เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ แบบเสมอภาคหรือ
เท่ าเทียมกัน (Peer-to-Per Networking)
มี ลัก ษณะใช้ ค อมพิว เตอร์ เ ครื่ อ งหนึ่ ง ที่ มี
ฮาร์ ดดิสก์ และถูกเชื่อมต่ อกับระบบเครือข่ ายสามารถ
ทาหน้ าทีเ่ ป็ นทั้งลูกข่ ายและแม่ ข่ายได้ ในเวลาเดียวกัน
มี จ านวนไม่ เ กิ น 10 เครื่ อ ง จะสามารถแบ่ ง ปั น
ทรั พ ยากรต่ า ง เช่ น ไฟล์ เครื่ อ งพิมพ์ เพื่ อ ใช้ กัน
ภายในเครือข่ ายได้
2. การแบ่ งเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ตามพืน้ ที่
ของการบริการ
1.
เครือข่ ายท้ องถิ่นหรือเครือข่ ายเฉพาะบริ เวณ
(LAN: Local Area Network)
2. เครือข่ ายระดับเมือง (MAN: Metropolitan
Area Network)
3. เครือข่ ายระดับประเทศ (LAN: Wide Area
Network)
1. เครือข่ าย LAN (Local Area Network)
LAN มีระยะทางการเชื่อมต่ อประมาณ 2-3 กิโลเมตร
มักใช้ สื่อสารกันภายในองค์ กร เพื่อจุดประสงค์ ในการ
ใช้ อุปกรณ์ ส่วนกลาง ใช้ โปรแกรมและข้ อมู ลร่ วมกัน
และการรั บส่ งข้ อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ ระหว่ างกัน การ
เชื่ อมต่ อจะใช้ คอมพิวเตอร์ จานวนเท่ าใดก็ได้ โดยมี
การเชื่ อมต่ อโดยใช้ การสื่ อสารแบบไร้ รายและแบบมี
สาย การจัดทาระบบ LAN องค์ กรมักเป็ นผู้ทาเอง
2. เครือข่ าย MAN (Metropolitan Area Network)
เครื อข่ ายระดับเมือง MAN มีขนาดใหญ่ กว่ า LAN โดยมี
ระยะทางการเชื่ อมต่ อประมาณ 50 กิโลเมตร มักเกิดจาก
การเชื่อมโยงเครือข่ าย LAN ในบริเวณเดียวกันเข้ าด้ ว ยกัน
เข่ น การเผยแพร่ ข้อมูลภาพด้ วยระบบเคเบิลทีวี การเชื่ อมต่ อ
คอมพิวเตอร์ ระหว่ างสานักงานในเขตเมืองใหญ่ การส่ ง ข้ อมูล
ด้ วยคลื่นวิทยุซึ่งการส่ งข้ อมู ลจะเป็ นลักษณะของเครื อข่ าย
แบบแพร่ กระจายข้ อ มู ล คล้ า ยกั บ ดาวเที ย ม หรื อ ระบบ
เซลลู ลาร์ โฟนซึ่ งเป็ นเครื อข่ ายที่มีการนามาประยุกต์ ใช้ กับ
โทรศัพท์ มอื ถือในปัจจุบัน
3. เครือข่ าย WAN (Wide Area Network)
ระบบเครือข่ าย WAN เป็ นการเชื่อมต่ อระบบเครือข่ าย
LAN หลาย กลุ่มเข้ าด้ วยกัน เป็ นเครือข่ ายขนาดใหญ่
ระดั บ ประเทศ เช่ น ระบบสื่ อ สารโทรคมนาคมของ
องค์ การโทรศัพท์ (ทศท) หรือการสื่ อสารแห่ งประเทศไทย
(กสท) สาหรั บสื่ อสารอาจจะเป็ นคู่ สายโทรศั พท์ ธรรมดา
สายเช่ า วงจรไมโครเวฟ เส้ นใยแก้ วนาแสง สายเคเบิล
แบบ โคแอกเชี ย ล หรื อ ใช้ ร ะบบดาวเทีย มก็ไ ด้ ซึ่ ง โดย
พื้น ฐานระบบเครื อ ข่ า ยบริ เ วณกว้ า งนี้ สามารถใช้ ส่ ง
สั ญญาณ ข้ อมูล เสี ยง ภาพ วิดโี อ
3 แบ่ งตามรูปแบบการประมวลผลข้ อมูลในระบบ
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
3.1 การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized
Processing)
3.2 การประมวลผลแบบกระจายศูนย์
(Distributed Processing
3.1 การประมวลผลแบบรวมศูนย์
มีลักษณะเครื อข่ ายแบบดาวโดยมีศูนย์ กลางควบคุมอยู่ที่เครื่ อง
มินิคอมพิวเตอร์ หรื อเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะต่ อ พ่ วงด้ วย
อุปกรณ์ รับและส่ งข้ อมูลหรื อเทอร์ มินัล (Terminal) โดยอาจ
ถูกต่ อพ่ วงในระยะใกล้ หรื อไกลก็ได้ อุปกรณ์ ที่ต่อพ่ วงเหล่ านี้
จะส่ งข้ อมูลไปประมวลผลยังส่ วนกลางมีความสามารถในการ
ประมวลผลงานหลาย งานได้ พร้ อม กัน เพื่อให้ บริ การที่
เท่ าเทียมกันกับทุกหน่ วยงานที่เชื่อมโยงอยู่ในระบบซึ่งข้ อมูลจะ
ถูกเก็บบันทึกไว้ ที่หน่ วยงานศูนย์ กลางเพียงแห่ งเดียว
ข้ อดี
1.
2.
3.
4.
ประหยัดค่ าใช้ จ่ายในด้ านเครื่องมือ
มีมาตรฐานในการทางาน
ความชานาญ
การรักษาความปลอดภัย
ข้ อเสี ย
การกาหนดลาดับงาน
2. ความล่ าช้ า
3. ความขัดแย้ ง
1.
3.2 การประมวลผลแบบกระจายศูนย์
ลั ก ษณะของโครงสร้ างเครื อ ข่ า ยจะเป็ นแบบผสมโดยมี จุ ด
ควบคุมมีลกั ษณะข่ ายงานแบบดาว แล้ วกระจายเครื อข่ ายไปยัง
ส่ วนต่ า ง สถานที่ แ ต่ ล ะแห่ ง จะมี ค อมพิ ว เตอร์ ใช้ เป็ นของ
ตนเองโดยอาศั ยระบบสื่ อสารข้ อมู ล คอมพิวเตอร์ ที่ใช้ มักจะ
เป็ นเครื่ องขนาดกลางหรื อไมโครคอมพิวเตอร์ ข้ อมู ลที่มีการ
ประมวล ผลจะถูกบันทึกไว้ ในแต่ ละสถานที่มีฐานข้ อมู ลของ
ตนเอง และถูกใช้ เฉพาะหน่ วยงานที่เป็ นเจ้ าของฐานข้ อมูลนั้น
ส่ วนข้ อ มู ล ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ กี่ย วข้ อ งกัน ในแต่ ล ะหน่ ว ยงานจะ
สามารถเชื่อมโยงเข้ าด้ วยกันบนระบบเครือข่ าย
ข้ อดี
1. การควบคุม
2. มีความสะดวกในการขยายงาน
3. ช่ วยกระจายงาน
4. เพิม่ ประสิ ทธิภาพการทางาน
ข้ อเสี ย
1. เกิดความซ้าซ้ อนของข้ อมูล
2. มีค่าใช้ จ่ายสู ง
3. ไม่ มีมาตรฐานทีแ่ น่ นอน
4. ต้ องการควบคุมทีร่ ัดกุม
โครงสร้ างการเชื่อมต่ อเครือข่ าย
(Topology Network)
1. เครือข่ ายแบบดาว (Star Network)
2. เครือข่ ายแบบวงแหวน (Ring Network)
3. เครือข่ ายแบบบัส (Bus Network)
1. การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบดาว (Star Network)
บางครั้ งเรี ย กว่ า “การเชื่ อมต่ อเครื อข่ ายแบบฮั บ (Hub
Network)” เป็ นรู ปแบบการเชื่ อมต่ อโดยทาสถานี ต่าง
หลาย สถานีนามาเชื่ อมต่ อรวมกันกับอุปกรณ์ ต่อเชื่ อม
ตัวกลาง ซึ่งเรียกว่ า Concentrator หรือ HUB โดย
อุป กรณ์ ต่ อ เชื่ อ มตัวกลางนี้จ ะทาหน้ าที่รั บ ส่ งข้ อ มู ล จาก
สถานีหนึ่ง แล้ วส่ งไปให้ กับสถานีน้ัน ซึ่ง ถ้ าหากสายส่ ง
ข้ อ มู ลของสถานี ใ ดสถานี ห นึ่ งเกิดความเสี ย หาย ก็จะมี
ผลกระทบเฉพาะสถานีน้ันเท่ านั้น จะไม่ มีผลกับ สถานี
อืน่ เนื่องจากไม่ มกี ารใช้ สายส่ งข้ อมูลร่ วมกัน
ข้ อดี
1. เครื อข่ ายแบบสตาร์ จะมีโฮสต์ คอมพิวเตอร์ อยู่ที่จุด
เดียว ทาให้ ง่ายในการติดตั้งหรือจัดการกับระบบ
2. จุดใช้ งาน 1 จุด ต่ อกับสายส่ งข้ อมูล 1 เส้ น เมื่อเกิด
การเสี ย หายของจุ ด ใช้ ง านใดในเครื อ ข่ า ย จะไม่ ส่ งผล
กระทบต่ อการทางานของจุดอืน่
3. การติดต่ อสื่ อสารในเครือข่ ายแบบสตาร์ จะเกี่ ยวข้ อง
กัน ระหว่ า งโฮสต์ ค อมพิว เตอร์ กับ อุ ป กรณ์ อีก จุ ด หนึ่ ง
เท่ านั้น ส่ งผลให้ การควบคุมการส่ งข้ อมูลทาได้ ง่าย
ข้ อเสี ย
1 . เ นื่ อ ง จ า ก แ ต่ ล ะ จุ ด จ ะ ต่ อ โ ด ย ต ร ง กั บ โ ฮ ส ต์
คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้ องใช้ สายส่ งข้ อมูลจานวนมาก
ท าให้ ต้ องเสี ยค่ าใช้ จ่ ายเพิ่ ม ขึ้ น ในการติ ด ตั้ งและ
บารุงรักษา
2. การเพิ่มจุดใหม่ เข้ าในระบบจะต้ องเดินสายจากโฮสต์
คอมพิวเตอร์ ออกมาส่ งผลให้ การขยายระบบทาได้ ยาก
3. การท างานขึ้น อยู่ กั บ โฮสต์ ค อมพิ ว เตอร์ ถ้ า โฮสต์
คอมพิ ว เตอร์ เกิ ด เสี ย หายขึ้น ก็ จ ะไม่ ส ามารถใช้ งาน
เครือข่ ายได้
2. การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบวงแหวน(Ring
Network)
เป็ นระบบทีเ่ ชื่อมต่ อกันเป็ นลูป (Loop) ซึ่งประกอบ
ด้ ว ยสถานี ห ลาย สถานี เ ชื่ อ มต่ อ กั น โดยสถานี
สุ ด ท้ า ยจะต่ อ กั บ สถานี แ รก ท าให้ มี รู ป แบบของ
ระบบเป็ นแบบวงแหวน (Ring) โดยข้ อมูลที่ส่งจาก
สถานี ห นึ่ ง ไปยั ง สถานี ห นึ่ ง จะเป็ นไปในทิ ศ ทาง
เดียวกัน
ข้ อดี
1. ใช้ สายส่ งข้ อมู ลน้ อย ความยาวของสายส่ งข้ อมู ลที่ใช้ ใน
เครื อข่ ายแบบนีจ้ ะใกล้ เคียงกับแบบบัส แต่ จะน้ อยกว่ าแบบ
สตาร์ ทาให้ เพิม่ ความน่ าเชื่อถือของการส่ งข้ อมูลได้ มากขึน้
2. เหมาะสาหรั บการใช้ เคเบิลเส้ นใยแก้ วนาแสง เนื่องจากจะ
ช่ วยให้ ส่ งข้ อ มู ล ได้ ด้ ว ยความเร็ ว สู ง ตั ด ปั ญ หาด้ า น
สั ญญาณไฟฟ้ ารบกวน
3. ขยายระบบได้ ง่าย จากความพยายามที่จะหลีกเลี่ยงการมี
ศู นย์ กลางของระบบเครื อข่ ายแบบดาวจึงทาให้ ระบบแบบ
นีง้ ่ ายต่ อการขยายหรือเพิม่ จานวนสถานีเข้ าไปในระบบ
ข้ อเสี ย
1. สถานีงานแต่ ละสถานีไม่ เป็ นอิสระต่ างกัน เนื่องจากการส่ ง
ข้ อมูลแบบวงแหวน ต้ องผ่ านไปทุก จุดในวงแหวนก่อน
จะกลับมาหาผู้ส่ง ถ้ าเกิดความเสี ยหายจะทาให้ ท้งั ระบบไม่
สามารถติดต่ อกันได้ จนกว่ าจะได้ รับการแก้ ไขก่ อน
2. การควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดทาได้ ยาก เพราะ
ต้ องตรวจหาที่ละจุดว่ าเสี ยหายอย่ างไร
3. การจัดโครงสร้ างของระบบใหม่ ทาได้ ยาก เพราะระบบมี
โครงสร้ างแบบเฉพาะคือจะต้ องมีการเชื่ อมโยงสายเคเบิ ล
ให้ เป็ นระบบปิ ด การติดตั้งเครื อข่ ายมีลักษณะไม่ เอื้อต่ อ
การเชื่อมโยง
1. การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบบัส(Bus Network)
เครื อข่ ายแบบบัสจะเป็ นการเชื่ อมต่ อสายแบบเส้ นตรง โดย
สถานีงานต่ าง จะใช้ บัส หรื อถนนช่ องข้ อมู ล (Highway)
เป็ นแกนหลัก และเพื่อตัดปัญหาในการที่จะต้ องเดิน สายเคเบิล
แบบวงแหวนจึงใช้ เชื่ อมโยงเป็ นลักษณะแบบสายโซ่ แต่ ละ
สถานี จ ะมี ก ารติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ดู ด ซึ ม สั ญญาณหรื อ เทอร์
มิเนเตอร์ (Teminator) ทาให้ เสี ยค่ าใช้ จ่ายน้ อย แต่ มั กพบ
ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากคุ ณ สมบั ติ ท างไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ แ ละสิ่ ง ที่ ใ ช้
เชื่ อมโยง และระบบเครื อข่ ายบัสนี้มีจุดเชื่ อมต่ อค่ อนข้ างมาก
ถ้ าเกิดความเสี ยหาย ณ จุดเชื่ อมต่ อของสถานีใดสถานีหนึ่ง
อาจส่ งผลกระทบทาให้ ระบบโดยรวม
ข้ อดี
1. การใช้ สายส่ งข้ อมูลจะใช้ สายส่ งข้ อมูลร่ วมกันทาให้ ใช้
งานได้ อย่ างเต็มประสิ ทธิ ภ าพช่ วยลดค่ าใช้ จ่ ายในการ
ติดตั้งและการบารุงรักษา
2. เครื อ ข่ า ยแบบบั ส มี โ ครงสร้ างที่ ง่ า ยและมี ค วาม
น่ าเชื่อถือ เนื่องจากใช้ สายส่ งข้ อมูลเพียงเส้ นเดียว
3. การเพิ่มจุดใช้ บริ การใหม่ เข้ าไปในเครื อข่ ายสามารถ
ทาได้ ง่าย เนื่องจากจุดใหม่ จะใช้ สายส่ งข้ อมูลที่มีอยู่แล้ ว
ได้
ข้ อเสี ย
1. การหาข้ อผิดพลาดทาได้ ยาก เนื่องจากในเครือข่ าย จะ
ไม่ มศี ูนย์ กลางในการควบคุมอยู่ทจี่ ุดใดจุดหนึ่ง ดังนั้นการ
ตรวจสอบข้ อผิดพลาดจึงต้ องทาจากหลาย จุดใน
เครือข่ าย
2. ในกรณีทเี่ กิดการเสี ยหายในสายส่ งข้ อมูล จะทาให้ ท้งั
เครือข่ ายไม่ สามารถทางานได้
3. เมือ่ มีผู้ใช้ งานเพิม่ ขึน้ อาจทาให้ เกิดการชนกันของ
ข้ อมูลเมือ่ มีการรับส่ งข้ อมูล
โพรโทคอลในการสื่ อสารข้ อมูล
โปรโตคอลของระบบเครือข่ าย (Network Protocal) หรือ
ที่นิยมเรียกกันว่ า โปรโตคอลสแตก (Protocal stack) ก็คอื
ชุ ด ชองกฎหรื อ ข้ อ ตกลงในการแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ผ่ า น
เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ เพื่ อ ให้ แ ต่ ล ะสถานี ใ นเครื อ ข่ า ย
สามารถรั บส่ งข้ อมู ลระหว่ างกันได้ อย่ างถู กต้ อง เช่ น ใช้
IPX/SPX สาหรับ Network และใช้ TCP/IP ในการติดต่ อ
กับ UNIX ผ่ าน LAN แบบ Ethernet พร้ อม กัน
1. โพรโทคอลสแต็ก (Protool Stack) เป็ นชุดของโพรโทคอลซึ่ง
ใช้ในการติดต่อสื่ อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครื อข่าย โดย
เป็ นการแบ่งแยกการทางานให้ชดั เจนตามขั้นตอนที่กาหนด
2. โพรโทคอลไอพีเอ็กซ์ /เอสพีเอ็กซ์ (IPX/SPX) เป็ นการ
รวมสองโพรโทคอลเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็ นโพรโทคอลตัว
หลักในการติดต่อสื่ อสารในเครื อข่ายที่ใช้ในระบบปฏิบตั ิการ
IPX (Internetwork Packet Exchange) ใช้ในการรับส่ ง
ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่อยูใ่ นเครื อข่ายต่างกัน เมื่อโพรโท
คอล IPX ส่ งข้อมูลจะไม่มีการตรวจสอบความผิดพลาดใน
การส่ งข้อมูล
SPX (Sequenced Packet Exchange) เป็ นโพรโทคอลที่
ขยายความสามารถของโพรโทคอล IPX เมือ่ โพรโทคอล
SPX ส่ งข้ อมูลมันจะเชื่อมต่ อระหว่ างอุปกรณ์ สองเครือข่ าย
และคอยตรวจสอบการส่ งข้ อมูลเพือ่ การรับประกันว่ าการส่ ง
ข้ อมูลไม่ มขี ้ อผิดพลาด
3. โพรโทคอลเน็ตบีอยี ูไอ (NetBEUI)
NetBEUI (NetBIOS Extended User Interface) เป็ นโพรโท
คอลขนาดเล็กทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพสู งเนื่องจากตัวมันไม่ ต้องการ
หน่ วย ความจาและพลังในการประมวลผลในการทางานมาก
4. โพรโทคอลทีซีพ/ี ไอพี (ICP/IP)
โพรโทคอล TCP/IP เป็ นโพรโทคอลทีน่ ิยมใช้ ในการ
ติดต่ อ สื่ อสารระหว่ างเครือข่ ายและเป็ นโพรโทคอลหลัก
ของเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต 42
ฮาร์ ดแวร์ สาหรับเครือข่ าย
1. คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ในระบบเครือข่ าย
เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่องจะทาหน้ าที่เป็ นโหนด
(Node) ที่มีความสามารถในการรับ - ส่ งข้ อมูลกับโหนด
อืน่ ได้ และจะต้ องมีหมายเลขทีอ่ ยู่บนเครือข่ ายที่
เรียกว่ า เน็ตเวิร์กแอดเดรส (Network Address) ทีไ่ ม่
ซ้ากันเลย เช่ น เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์
PC เทอร์ มินัล เซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์
2. Repeater (อุปกรณ์ ทวนสั ญญาณ)
ทาหน้ าที่รับสั ญญาณดิจิตอลเข้ ามาแล้ วสร้ างใหม่ ให้
เป็ นเหมือนสั ญญาณเดิมที่ส่งมาจากต้ นทาง จากนั้น
ค่ อยส่ งต่ อออกไปยังอุปกรณ์ ตัวอื่น เนื่องจากการส่ ง
สั ญญาณไปในตัวกลางที่เป็ นสายสั ญญาณในระยะทาง
มากขึ้น แรงดั น ของสั ญ ญาณจะลดลงเรื่ อ ย จึ ง ใช้
Repeater มาทบทวนสั ญญาณให้ ส่งได้ ไกลขึน้ โดยที่
สั ญญาณไม่ สูญหาย
3. ฮับ (HUB)
เป็ นอุปกรณ์ ทใี่ ช้ เชื่อมต่ อระหว่ างเครื่องคอมพิวเตอร์ ใน
เครือข่ าย LAN โดยทาหน้ าทีใ่ นการทวนสั ญญาณเหมือน
Repeater แต่ จะกระจายสั ญญาณทีท่ วนออกไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ทุก เครื่อง ทีม่ กี ารเชื่อมต่ อระหว่ างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ กบั ฮับ
4. Bridge
เป็ นอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ส าหรั บ
เชื่ อมต่อ Segment ของ
เครื อข่าย 2 Segment หรื อ
มากกว่าเข้าด้วยกัน แต่มี
ความสามารถมากกว่า Hub
และ Repeater กล่าวคือ
สามารถกรองข้อมูลที่จะส่ ง
ต่ อ ได้ โดยตรวจสอบว่ า
ข้อมู ล ที่ ส่ ง นั้นมี ปลายทาง
อยูท่ ี่ใด
5. Router
เป็ นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเครื อข่าย 2 เครื อข่าย หรื อ
มากกว่าเข้าด้วยกันและสามารถกรองข้อมูลได้
เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่า
ตรงที่สามารถค้นหาเส้นทางในการส่ งแพ็คแก็
ตข้อมูลไปยังปลายทางได้ส้ นั ที่สุด
6. Switch
มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ
1. Layer-2 Switch /L 2 Switch ก็คือ Bridge แต่ เป็ น
Bridgeที่มี Interfaceในการเชื่อมต่ อกับ Segment มากขึน้ ทา
ให้ สามารถแบ่ งเครือข่ าย Lan ย่ อย เพื่อประโยชน์ ในการ
บริ หารจัดการเครื อข่ ายได้ ดียิ่งขึ้น และมีประสิ ทธิ ภาพใน
การท างานสู งกว่ า Bridgeท าให้ ในปั จ จุ บั น นิ ย มใช้ L2
Switch แทน Bridge
2. Layer-3 Switch/ L 3 Switch ก็ คือ Router ที่
ได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้น แต่ มี
ราคาถูกลง โดย L3 Switch นีจ้ ะสามารถจัดการกับ
เครือข่ ายที่มี Segment มาก ได้ ดีกว่ า Router
7. Firewall
เป็ นได้ ท้งั อุปกรณ์ ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์ แวร์ ที่องค์ กร
ต่ าง มีไว้ เพือ่ ป้ องกันเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ของตน
จากอันตรายที่มาจากเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ภายนอก
เช่ น ผู้บุกรุก หรือ Hacker Firewall จะอนุญาตให้
เฉพาะข้ อมูลทีม่ ีคุณลักษณะตรงกับเงือ่ นไขทีก่ าหนด
ไว้ ผ่านเข้ าออกระบบเครือข่ ายเท่ านั้น
8. Gateway
เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเครื อข่าย
ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งในปัจจุบนั นี้ได้รวมการ
ทางานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทาให้
Router สามารถทางานเป็ น Gateway ได้ จึงไม่
จาเป็ นต้องซื้ออุปกรณ์ตวั นี้อีกแล้ว
9. โมเด็ม (Modem)
MODEM
ส่ ง
D/A
Modulator
รับ
A/D
Demodulator
MODEM เป็ นอุปกรณ์เชื่อมต่อข้อมูล
สู่ช่องทางการสื่ อสารในระบบโทรศัพท์ มีหน้าที่ใน
การเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่างอะนาล็อกและ
ดิจิตอล
• เปลี่ยนดิจิตอลเป็ นอะนาล็อก (D/A) ในกรณี การส่ ง
ข้อมูล
• เปลี่ยนอะนาล็อกเป็ นดิจิตอล (A/D) ในกรณี การรับ
ข้อมูล
10. การ์ ดเชื่อมต่ อเครือข่ ายหรือแลนการ์ ด
(Network Interface Card : NIC)
เป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที่ติดตั้งถาวรภายใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้ ในการสื่ อสารระยะใกล้
(Local Area) ช่ วยในการควบคุม การรับส่ งข้ อมูล
ตัวกลางในการเชื่อมโยง
สายทองแดงแบบไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshield Twisted
Pair ) มีราคาถูกและนิยมใช้กนั มากที่สุด ส่วนใหญ่มกั ใช้
กับระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนี้มกั จะถูกรบกวนได้ง่าย
และไม่ค่อยทนทาน
สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน ( Shielded Twisted
Pair ) มีลกั ษณะเป็ นสอบเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้า
ด้วยกันเพื่อลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ ม้ รอบนอก มีราคาถูก
ติดตั้งง่าย น้ าหนักเบาและการรบกวนทางไฟฟ้ าต่า
สายโทรศัพท์จดั เป็ นส่ วนคู่บิดเกลียวแบบหุ ม้ ฉนวน
สายคู่ ตี เ กลี ย วไม่ มี ห้ ุ มฉนวน (Unshielded
twisted pair - UTP) เป็ นสายตัวนาที่นิยมนามาใช้
ในการสื่ อ สารข้อ มูล ในระบบเครื อ ข่ า ยในปั จจุ บ ัน
เนื่ องจากให้ประสิ ทธิ ภาพในการส่ งสัญญาณข้อมูล
ได้ดี และราคาไม่แพงจนเกินไป
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
สายแบบนี้ จะประกอบด้วยตัวนาที่ใช้ในการส่ งข้อมูลเส้นหนึ่งอยู่
ตรงกลางอีกเส้นหนึ่ งเป็ นสายดิ น ระหว่างตัวนาสองเส้นนี้ จะมี
ฉนวนพลาสติกกั้นสายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่ งข้อมูลได้ไกล
กว่าแบบบางแต่มีราคาแพงและติดตั้งได้ยากกว่า
ใยแก้ วนาแสง (Fiber-Optic)
ทาจากแก้ วหรือพลาสติกมีลกั ษณะเป็ นเส้ นบาง
คล้ ายเส้ นใยแก้ วจะทาตัวเป็ นสื่ อในการส่ งแสง
เลเซอร์ ที่มีความเร็วในการส่ งสั ญญาณเท่ ากับ
ความเร็วของแสง
ข้ อดีตรงที่ส่งสั ญญาณได้
ระยะทางไกลโดยไม่ มี
สั ญญาณรบกวน