Transcript PowerPoint

บทที่ 10: ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
และการเปลี่ยนแปลง
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
รายได้ ประชาชาติดุลยภาพ (Ye) จะเกิดขึ้นที่อปุ สงค์รวมของประเทศ
(Aggregate Demand: AD) มีค่าเท่ากับอุปทานรวมของประเทศ
(Aggregate Supply: AS)
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
รายได้ประชาชาติที่เกิดขึ้ นจริง (Ya): เป็ นรายได้ ประชาชาติท่เี กิดขึ้นจริง
ข ะใดข ะหนึ่ง ซึ่งรายได้ ประชาชาติท่เี กิดขึ้นจริงอาจจะเท่าหรือไม่เท่ากับ
รายได้ ประชาชาติท่ดี ุลยภาพก็ได้ ถ้ า Ye=Ya แสดงว่าระบบเศรษฐกิจอยู่ใน
ดุลยภาพ
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
AD, AS
AS = Y
AD = AS = Ye
E
AD<AS AD = C+I+G+(X-M)
AD>AS
45 •
0
Y1
Ye
Y2
Y
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
AD = C+I+G+(X-M)
AS = Y
ดังนั้น
AD = AS
C+I+G+(X-M) = Y
แก้ สมการหา Y ซึ่งค่าที่ได้ จะเป็ นรายได้ ประชาชาติดุลยภาพ (Y = Ye)
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
แนวทางการวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพแบ่งได้ 2 แนวทาง
1. อุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม (AD=AS)
2. ส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด (S+T+M=I+G+X)
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
1. อุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม
รายได้ ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ อุปสงค์รวม (AD) เท่ากับอุปทานรวม (AS)
AD = AS
C+I+G+(X-M) = Y
แก้ สมการหา Y ซึ่งค่าที่ได้ จะเป็ นรายได้ ประชาชาติดุลยภาพ (Y = Ye)
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
การวิเคราะห์จากกราฟ
AD, AS
AS = Y
AD = AS = Ye
E
AD<AS AD = C+I+G+(X-M)
AD>AS
45 •
0
Y1
Ye
Y2
Y
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
Ex. ให้ ใช้ ข้อมูลต่อไปนี้หารายได้ ประชาชาติดุลยภาพ, C, M, I, T
C = 400+0.6Yd, I = 100+0.2Y, G = 1200, X = 600
M = 50+0.5Y, t = 0.1
(Y= 2250/0.76, )
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
2. ส่วนรัว่ ไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด
รายได้ ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ ส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด
 ส่วนรั่วไหลคือส่วนที่ทาให้ รายได้ ประชาชาติลดลง เมื่อตัวแปร
ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้ วย S , T , M
 ส่วนอัดฉีดคือส่วนที่ทาให้ รายได้ ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัวแปร
ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้ วยรายจ่ายอิสระ Ia , G , X
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
รายได้ ประชาชาติจะอยู่ในระดับดุลยภาพเมื่อ:
S + T + M = Ia + G + X
โดย Ia : เป็ นการลงทุนอิสระ
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
วิเคราะห์จากกราฟ
S+T+M, I+G+X
S+T+M
Ia
0
E
Ye
I+G+X
Y
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
Ex. ให้ ใช้ ข้อมูลต่อไปนี้หารายได้ ประชาชาติดุลยภาพ, C, M, I, T
C = 400+0.6Yd, I = 100+0.2Y, G = 1200, X = 600
M = 50+0.5Y, t = 0.1
การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
สามารถเกิดขึ้นได้ เมื่อ:
 ปัจจัยที่กาหนดรายได้ ประชาชาติเปลี่ยน
 อุปสงค์รวมและ/หรืออุปทานรวมเปลี่ยน
เช่น
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มผี ลต่อ C , I , G , (X-M) ตัวได้ ตวั หนึ่งเปลี่ยนหรือ
ทุกตัวพร้ อมกัน หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนรั่วไหลและ
ส่วนอัดฉีด (S, T, M, I, G, X)
การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
วิเคราะห์ การเปลีย่ นแปลงของระดับดุลยภาพ
โดยวิธีอุปสงค์ รวมเท่ ากับอุปทานรวม
AD
วิเคราะห์ การเปลีย่ นแปลงของระดับดุลยภาพ
โดยวิธีส่วนรั่วไหลเท่ ากับส่ วนอัดฉีด
AS = Y
S+T+M=I+G+X
S+T+M
AD2
I+G’+X
AD1
เมื่อ G
เมื่อ G
0
45 •
0
Y1
Y2
Y
Y1 Y2
I+G+X
Y
การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
Ex. จากข้ อมูลเก่า (ข้ างล่าง)
C = 400+0.6Yd, I = 100+0.2Y, G = 1200, X = 600
M = 50+0.5Y, t = 0.1
สมมติให้ รัฐเพิ่มการใช้ จ่ายจาก 1200 ล้ านบาท เป็ น 2000 ล้ านบาท จงหารายได้
ประชาชาติดุลยภาพที่เปลี่ยนไป
(ตอบ รายได้ ดุลยภาพใหม่เท่ากับ 4013.157)
ตัวทวีคณ
ู ( multiplier )
คือ ค่าที่เป็ นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบอิสระใดๆ
(Autonomous Variables) ในอุปสงค์รวม (AD) แล้ ว ระดับรายได้
ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปกี่เท่าขององค์ประกอบอิสระนั้นๆ
∆Y = k.∆A
เมื่อ
∆Y: การเปลี่ยนแปลงของรายได้ ประชาชาติ
∆A : การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบอิสระเช่น Ia, Ca, G, Ma เป็ นต้ น
k : ตัวทวีคู (Multiplier)
การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
EX. หาตัวทวีคู (Multiplier) ของการใช้ จ่ายของรัฐบาลที่มตี ่อรายได้ ประชาชาติ
จากตัวอย่างที่ผ่านมา
ตอบ k = 1.32
การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ (ต่อ)
Ex. จากข้ อมูลเก่า (ข้ างล่าง)
C = 400+0.6Yd, I = 100+0.2Y, G = 1200, X = 600
M = 50+0.5Y, t = 0.1
สมมติให้ ท่วั โลกนิยมสินค้ าไทย ทาให้ รายได้ จากการส่งออกของไทยมีมูลค่าสูงขึ้นจาก
600 ล้ านบาท เป็ น 1,000 ล้ านบาท จงหารายได้ ประชาชาติท่เี ปลี่ยนไปและหาตัว
ทวีคู ของการส่งออก
(ตอบ รายได้ ดุลยภาพใหม่เท่ากับ 3,486.84 ล้ านบาท, k = 1.32)
ตัวทวี ( multiplier ) (ต่อ)
Ex. ให้ หาตัวทวีจากอุปสงค์รวมต่อไปนี้ (สมมติให้ ระบบเศรษฐกิจมีรัฐบาลและมี
การค้ าระหว่างประเทศ)
1. ให้ หาตัวทวีของ Ca, Ia, และ G โดยให้
C = Ca+bYd, I = Ia, G = Ga, t = t, T = tY
2. ให้ หาตัวทวีของ Ca, Ia, X, และ T โดยให้
C = Ca+bYd, I = Ia+iY, G = Ga, X = Xa
M = Ma+mY, t = t, T = Ta+tY
ตัวทวี ( multiplier ) (ต่อ)
Ex. จากข้ อมูลเก่า (ข้ างล่าง)
C = 400+0.6Yd, I = 100+0.2Y, G = 1200, X = 600
M = 50+0.5Y, t = 0.1
สมมติให้ รัฐเพิ่มการใช้ จ่ายจาก 1200 ล้ านบาท เป็ น 2000 ล้ านบาท จงหารายได้
ประชาชาติท่เี ปลี่ยนไป จงหาตัวทวีท้งั วิธธี รรมดา และโดยใช้ Derivative
(ตัวทวีของการใช้ จ่ายรัฐบาล คือ dY/dG = k = 1/[1-(1-t)b-i+m] = 1.316)
ตัวทวี ( multiplier ) (ต่อ)
สูตรการหารายได้ประชาชาติรูปแบบต่างๆ (จาก AD = AS = Y)
1. ระบบเศรษฐกิจมีรัฐบาล (G≠0) และมีการค้ าระหว่างประเทศ (X≠0 และ
M≠0)
จาก AS = AD
Y = C+I+G+(X-M)
2. ระบบเศรษฐกิจมีรัฐบาล (G≠0) แต่ไม่มีการค้ าระหว่างประเทศ (X=0 และ
M=0)
จาก AS = AD
Y = C+I+G
3. ระบบเศรษฐกิจที่ไม่มรี ัฐบาล (G=0) แต่ไม่มกี ารค้ าระหว่างประเทศ (X=0
และ M=0)
จาก AS = AD
Y = C+I
ตัวทวี ( multiplier ) (ต่อ)
การบ้ าน: หาตัวทวีคู (Multipliers) ขององค์ประกอบอิสระ Ca, Ia, G,
X, และ Ma ของระบบเศรษฐกิจต่อไปนี้
1.ระบบเศรษฐกิจอย่างง่ายที่ไม่มรี ัฐบาลและไม่มกี ารค้ าระหว่างประเทศ
2. ระบบเศรษฐกิจที่มรี ัฐบาลแต่ไม่มกี ารค้ าระหว่างประเทศ
3. ระบบเศรษฐกิจที่มรี ัฐบาลและมีการค้ าระหว่างประเทศ
ช่วงห่างรายได้ ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝื ด
(Income Gap, Inflationary Gap, and
Deflationary Gap)
รายได้ ประชาชาติดุลยภาพที่เกิดขึ้นจริงในข ะใดข ะหนึ่ง อาจจะมีค่าไม่เท่ากับรายได้
ประชาชาติ ระดับที่มกี ารจ้ างงานเต็มที่ (full employment income หรือ
potential income ) เมื่อไม่เท่ากัน ส่วนต่างดังกล่าวเรียกว่า ช่วงห่างรายได้
(income gap )
ช่วงห่างรายได้ ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝื ด (ต่อ)
 รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (Ye) จะเกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์รวม (AD) มีค่า
เท่ากับอุปทานรวม (AS)
 รายได้ประชาชาติ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (Yf) จะเกิดขึ้นเมื่อ
ประชาชนทุกคนมีงานทา ทรัพยากรทั้งหมดถูกใช้ อย่างเต็มที่และเต็ม
ประสิทธิภาพ เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
AD, AS
AD2
E2
ADf
Ef
AD1
E1
0
Y1
Yf
Y2
Y
ช่วงห่างรายได้ ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝื ด (ต่อ)
เมื่อรายได้ ประชาชาติดุลยภาพที่เกิดขึ้นจริงไม่เท่ากับรายได้ ประชาชาติ ระดับที่มี
การจ้ างงานเต็มที่ จะทาให้ เกิดส่วนต่างระหว่างรายได้ ท้งั สอง เรียกว่า ช่วงห่างรายได้
(Income Gap) และยังก่อให้ เกิดความแตกต่างระหว่างความต้ องการใช้ จ่ายมวล
รวมที่เกิดขึ้นจริง (ADa) กับความต้ องการใช้ จ่ายมวลรวมที่มกี ารจ้ างงานเต็มที่
(ADf) ซึ่งแบ่งได้ เป็ น 2 ชนิด คือ
1. ช่วงห่างการเฟ้ อ ( Inflationary gap ) : สภาวะที่ความต้ องการใช้ จ่าย
มวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่ามากกว่าความต้ องการใช้ จ่ายมวลรวมที่มกี ารจ้ างงานเต็มที่
2. ช่วงห่างการฝื ด ( Deflationary gap ) : สภาวะที่ความต้ องการใช้ จ่าย
มวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่าต่ากว่าความต้ องการใช้ จ่ายมวลรวมที่มกี ารจ้ างงานเต็มที่
ช่วงห่างรายได้ ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝื ด (ต่อ)
กราฟช่วงห่างการเฟ้ อและช่วงห่างการฝื ด
AD , AS
ช่วงห่างการเฟ้ อ
A
E2
Ef
AS = Y
AD2
ADF
AD1
E1
ช่วงห่างการฝื ด
0
45
o
F : ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment)
Y1
YF
Y2
Y