Transcript PowerPoint
บทที่ 11: เงินเฟ้อ เงินฝื ด การว่างงาน
เงินเฟ้อ (Inflation)
คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้ าอุปโภคบริโภคสูงขึ้นเรื่อยๆ และไม่จาเป็ น
ว่าราคาสินค้ าทุกชนิดต้ องสูงขึ้นในเวลาที่เกิดเงินเฟ้ อ อาจมีสนิ ค้ าบาง
ชนิดที่ราคาลดลงได้ และบางชนิดราคาสูงขึ้น แต่ส่งิ สาคัญคือ เมื่อ
พิจารณาราคาทั้งหมดแล้ วโดยเฉลี่ยมีราคาสูงขึ้น เราดูเงินเฟ้ อได้ จาก
ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (Consumer Price Index: CPI)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) : ตัวเลขที่แสดงระดับราคาสินค้ าอุปโภคบริโภคของปี ใด
ปี หนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระดับราคาสินค้ าอุปโภคบริโภคของปี ฐาน โดยให้ ระดับราคา
อุปโภคบริโภคของปี ฐานเทียบเท่า 100
อัตราการเพิ่มของดัชนีราคาผู้บริโภคที่คานวณออกมาในรูปร้ อยละ แสดงถึง อัตราเงิน
เฟ้ อ
อัตราเงินเฟ้ อปี ที่ n = (CPI n - CPI n-1 ) * 100
CPI n-1
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
กลุ่มของสินค้ าและบริการที่นามาหา CPI (เพื่อนาไปหาเงินเฟ้ อต่อไป) จะเรียกว่า
“สินค้ าในตะกร้ า หรือ Market Basket”
ถ้ าสินค้ าในตะกร้ าเป็ นสินค้ าทัว่ ไปรวมถึงสินค้ ากลุ่มอาหารสดและกลุ่มพลังงาน เงิน
เฟ้ อที่คานวณเรียกว่า “เงินเฟ้ อทั่วไป หรือ Headline Inflation”
ถ้ าสินค้ าในตะกร้ าเป็ นสินค้ าเป็ นสินค้ าทั่วไปที่หักสินค้ ากลุ่มอาหารสดและกลุ่ม
พลังงานออกไป เงินเฟ้ อที่คานวณเรียกว่า “เงินเฟ้ อพื้นฐาน หรือ Core
Inflation”
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้ อแบ่งเป็ น 2 สาเหตุหลัก:
1. เงินเฟ้ อที่เกิดจากด้ านอุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น (Demand-Pull Inflation)
2. เงินเฟ้ อที่เกิดจากด้ านอุปทานรวมลดลง(Supply-Push Inflation)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
1. เงินเฟ้ อทีเ่ กิดจากด้านอุปสงค์รวมเพิม่ ขึ้ น
(Demand-Pull Inflation)
เป็ นเงินเฟ้ อที่เกิดจากอุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น( AD ) ในขณะที่อปุ ทานรวมของสินค้ า
และบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ ทาให้ เกิดอุปสงค์รวมมากกว่าอุปทานรวมของ
ประเทศ (AD>AS)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
อุปสงค์รวมของประเทศ (AD) เพิม่ ขึ้ นเนือ่ งจาก:
ส่วนประกอบของ AD เพิ่มขึ้น คือ C , I , G หรือ X เพิ่มขึ้น (ทาให้ Y สูงขึ้น)
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น (Ms :Money Supply) เนื่องจากการขยายสินเชื่อของ
สถาบันการเงินต่างๆ เช่น ธนาคารพาณิชย์ เป็ นต้ น (ทาให้ Y สูงขึ้น)
หรือพิจารณาได้ จาก
AD = fn (Y)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์รวม
ระดับราคา
AS
เงินเฟ้อจะเริ่มเกิด
ตั้งแต่ ระดับราคาสู ง
กว่า 120 เป็ นต้ นไป
135
120
AD3
110
AD2
AD1
0
100,000
130,000
ระดับการจ้ างงานเต็มที่
ปริมาณสิ นค้ า/
บริการ
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
AD
0
การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์รวม
P
E’
AD2
F
AD1 เงิเริน่ มเฟ้เกิดอ P’
E
P
Yf
Ya
รายได้ระดับที่การจ้างงานเต็มที่
Y
0
AS
AD’
AD
Qf
Q
ผลผลิตสูงสุ ดที่มีการจ้างงานเต็มที่
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
แนวทางการแก้ปัญหาเงินเฟ้ อด้านอุปสงค์รวม
ใช้ วิธคี วบคุมอุปสงค์ (Demand Management)
1. ลดระดับองค์ประกอบต่างๆในอุปสงค์รวม (AD)
2. ควบคุมปริมาณเงินในประเทศ (Ms)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
2. เงินเฟ้ อทีเ่ กิดจากด้านอุปทานรวมลดลง
(Supply-Push Inflation)
เป็ นเงินเฟ้ อที่เกิดขึ้นเนื่องจากต้ นทุนการผลิตสินค้ าเพิ่มขึ้น ทาให้ ผ้ ูผลิตจะต้ อง
เสนอขายสินค้ าในราคาที่สงู ขึ้น
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ต้นทุนการผลิตเพิม่ ขึ้ นเนือ่ งจาก
ค่าจ้ างแรงงานเพิ่มขึ้น*
ราคาเชื้อเพลิงและวัตถุดิบสูงขึ้น (ถ้ าต้ นทุนเพิ่มขึ้นจากราคาเชื้อเพลิงและ
วัตถุดิบสูงขึ้นอาจจะทาให้ เกิดเงินเฟ้ อแบบ “stagflation” คือ เกิดเงินเฟ้ อ
ขึ้นพร้ อมกับเศรษฐกิจตกต่า ดูหัวข้ อถัดไป)
การเพิ่มขึ้นของอัตรากาไรของผู้ผลิต
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปทานรวม
ระดับราคา
AS3
AS2
130
120
AS1
110
AD
0
50,000
60,000 70,000
90,000
ระดับการจ้ างงานเต็มที่
ปริมาณสิ นค้ า/บริการ
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปทานรวม
AS
P
P’’
P’
P
0
E’
E
Q’’ Q’ Qf
AD
Q
ผลผลิตสูงสุ ดที่ระดับการจ้างงานเต็มที่
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
แนวทางการแก้ปัญหาเงินเฟ้ อด้านอุปทานรวม
รัฐบาลใช้ นโยบายต่างๆเพื่อที่จะช่วยลดต้ นทุนการผลิตของผู้ผลิต
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
เงินเฟ้ อแบบผสม (Mixed Inflation)
เป็ นเงินเฟ้ อที่เกิดจากทั้งอุปสงค์รวมสูงขึ้น (Demand-Pull Inflation)และ
อุปทานรวมลดลง (Supply-Push Inflation)
เมื่ออุปสงค์รวมของสินค้ าสูงขึ้น จะทาให้ ราคาสินค้ าสูงขึ้นด้ วย (AD สูงขึ้น)
ขณะเดียวกัน คนงานมักเรียกร้ องค่าแรงสูงขึ้นชดเชยรายได้ ท่แี ท้ จริงที่ลดลง
ทาให้ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นไปพร้ อมกัน (AS ลดลง)
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
การวิเคราะห์เงินเฟ้อแบบผสม
ระดับราคา
E4
200
180
E3
140
E2=Ef
AS2
120
AD3
E1
AD2
AS1
AD1
0
5
6
7 7.8
ปริมาณสิ นค้ า/บริการ
9
ระดับการจ้ างงานเต็มที่
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ผลกระทบของเงินเฟ้ อ
อานาจการซื้อลดลง
การออมและการลงทุนลดลง
การกระจายรายได้ เหลื่อมลา้ มากขึ้น
ฐานะการคลังของรัฐบาลแย่ลง
การส่งออกของประเทศลดลง การนาเข้ าเพิ่มขึ้น
เงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
บุคคลทีไ่ ด้รบั ผลประโยชน์จากเงินเฟ้ อ
เจ้ าของธุรกิจ ผู้ผลิต นักเก็งกาไร ลูกหนี้
บุคคลทีเ่ สียประโยชน์จากเงินเฟ้ อ
ผู้ท่มี ีรายได้ ประจา เจ้ าหนี้
Stagflation
เกิดจากเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้ อแบบ Supply Push
Inflation (จากต้ นทุนด้ านเชื้อเพลิงหรือวัตถุดิบสูงขึ้น)
ร่วมกับการเกิดภาวะการว่างงาน
ในปี ค.ศ. 1970 เคยเกิดภาวะ Stagflation ขึ้นเป็ นภาวะที่
เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจโลก สาเหตุจากราคานา้ มันโลกสูงขึ้นมาก
การแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ
ทาได้โดยลดอุปสงค์รวม ( ลด AD ) ซึ่งสามารถทาได้ โดยใช้ “นโยบาย
การเงิน” และ “นโยบายการคลัง”
นโยบายการคลัง : เกี่ยวข้ องกับการจัดเก็บภาษี และ การใช้ จ่ายของ
รัฐบาล เมื่อเกิดเงินเฟ้ อรัฐบาลควรมีงบประมาณเกินดุล
นโยบายการเงิน : เกี่ยวข้ องกับการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์เมื่อเกิดเงินเฟ้ อ
ธนาคารควรลดการปล่อยสินเชื่อ
เงินฝื ด ( Deflation )
เป็ นสถานการณ์ท่ตี รงข้ ามกับเงินเฟ้ อ โดยที่ระดับราคาสินค้ าและบริการจะลดลง
เรื่อยๆ เนื่องจากอุปสงค์มีน้อยกว่าปริมาณสินค้ าทาให้ สนิ ค้ าเหลือ ราคาสินค้ าลดลง
การผลิตลดลง การจ้ างงานลดลง รายได้ ลดลง
ผลของเงินฝื ด : อานาจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น
ผูท้ ีไ่ ด้ผลประโยชน์ : เจ้ าหนี้ , ผู้ท่มี รี ายได้ ประจา
ผูท้ ีเ่ สียผลประโยชน์ : ผู้ท่มี รี ายได้ จากกาไร , ลูกหนี้
การแก้ปัญหาเงินฝื ด : ใช้ นโยบายการเงิน การคลัง เพื่อกระตุ้นให้ อปุ สงค์รวมสูงขึ้น
การว่างงาน ( Unemployment )
บุคคลซึ่งอยู่ในวัยทางาน หมายถึง บุคคลที่มอี ายุ 15 ปี ข้ นึ ไป และในภาวการณ์ใดที่
บุคคลซึ่งอยู่ในวัยทางานดังกล่าว มีความสามารถที่จะทางาน และสมัครใจที่จะ
ทางานแต่ไม่สามารถที่จะทางานได้ จึงทาให้ ไม่มงี านทา ในช่วงสัปดาห์แห่งการ
สารวจการมีงานทา เรารียกภาวการณ์น้ วี ่าการว่างงาน เราถือว่าบุคคลเหล่ านี้ว่างงาน
โดยไม่สมัครใจ (Involuntary Unemployment)
การว่างงาน (ต่อ)
ประเภทของการว่างงานแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทหลัก:
1. การว่างงานโดยเปิ ดเผย
2. การว่างงานแอบแฝง หรือ การทางานต่ากว่าระดับ
การว่างงาน (ต่อ)
1. การว่างงานโดยเปิ ดเผย
บุคคลที่ไม่ได้ ทางานในช่วงระยะเวลาที่สารวจการมีงานทา ซึ่งเขาอาจจะว่างงานชั่วคราว
หรือว่างงานเป็ นระยะเวลานานๆก็ได้
มีสาเหตุจาก:
การว่างงานชั่วคราว (ในระยะเวลาสั้นๆ) ไม่เป็ นปัญหาเศรษฐกิจที่รน
ุ แรง
การว่างงานตามฤดูกาล
การว่างงานเนื่องจากวัฏจักรเศรษฐกิจ
การว่างงานเนื่องจากความก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยี
การว่างงาน (ต่อ)
2. การว่างงานแอบแฝง หรือ การทางานตา่ กว่าระดับ
บุคคลที่เมื่อดูเผินๆจะไม่เห็นว่าเขาเป็ นคนว่างงาน เพราะเขายังคงมีงานทา แต่เป็ นการ
ทางานต่ากว่าระดับความรู้ ความสามารถหรือเป็ นการทางานที่ไม่ทาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น
การว่างงานแอบแฝงนี้บางทีมกั เรียกว่า การทางานต่ากว่าระดับ
มีสาเหตุจาก:
ทางานต่ากว่าระดับความรู้ (หรือไม่เหมาะสมกับความรู้)
ใช้ คนทางานจานวนมากเกินความจาเป็ น
การว่างงาน (ต่อ)
ลักษณะของว่างงานแอบแฝง:
มักเป็ นการทางานที่ไม่ทาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น
มักมีคนงานหลายคนร่วมกันทางาน ถ้ าได้ มกี ารโยกย้ ายคนงานออกเสียจานวนหนึ่ง
ผลผลิตรวมที่ได้ รับก็ยงั คงเท่าเดิม
มักเป็ นการช่วยกันทางานโดยไม่มกี ารจ่ายค่าแรงตอบแทน แต่อาศัยการแบ่งปัน
ผลผลิตร่วมกัน เช่น การทางานโดยอาศัยแรงงานจากสมาชิกในครอบครัวเป็ นต้ น
การทางานในลักษณะดังกล่าวจึงอาจใช้ คนทางานจานวนมากเกินความจาเป็ น
การว่างงาน (ต่อ)
ผลกระทบของการว่างงาน
การใช้ ประโยชน์จากแรงงานไม่เต็มที่ ซึ่งเป็ นการสูญเสียทรัพยากรอย่างเปล่า
ประโยชน์
การออมและการลงทุนของประเทศลดลง
การกระจายรายได้ เหลื่อมลา้ มากขึ้น
การคลังรัฐบาลจะแย่ลง
การว่างงาน (ต่อ)
การแก้ปัญหาการว่างงานแบ่งได้เป็ น 2 วิธีหลัก:
1. แก้ ปัญหาโดยใช้ นโยบายระดับประเทศ
2. แก้ ปัญหาโดยดูจากประเภทของการจ้ างงาน
การว่างงาน (ต่อ)
1. แก้ปัญหาโดยใช้นโยบายระดับประเทศ
มีเป้ าหมายเพื่อให้ เกิดการลงทุนหรือขยายการผลิตโดยใช้ นโยบายการเงินและการคลัง
2. แก้ปัญหาโดยดูจากประเภทของการจ้างงาน
เช่น ถ้ าเกิดการว่างงานจากความก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยี รัฐฯควรจัดให้ มีการอบรม
เพิ่มความรู้ให้ กบั แรงงานและมีการให้ ข้อมูลข่าวสารของการจ้ างงาน หรือถ้ าเกิดการ
ว่างงานตามฤดูกาลของชาวนา รัฐฯควรจัดหางานอื่นให้ ทาในนอกฤดูเก็บเกี่ยว หรือ
สนับสนุนให้ ชาวนาปลูกพืชหมุนเวียน เป็ นต้ น