ch9 - UTCC e

Download Report

Transcript ch9 - UTCC e

บทที่ 9
การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
1
สาเหตุของการเกิดการค้าระหว่างประเทศ
1. ความแตกต่างกันทางด้านภูมิศาสตร์ และทรัพยากร
ดังนั้นแต่ละประเทศจะผลิตสิ นค้าได้ต่างชนิดกัน เช่น
-ภูมิศาสตร์ของประเทศไทยเหมาะแก่การทาการเกษตร อาทิการปลูกข้าว
-ประเทศในแถบตะวันออกกลางเหมาะแก่การผลิตน้ ามัน
-ประเทศบราซิลเหมาะแก่การปลูกกาแฟ
2. ความแตกต่างในเรื่ องของทักษะ หรื อความชานาญในการผลิต
เนื่องจากประชากรของแต่ละประเทศแตกต่างกันในเรื่ องเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ขนบธรรมเนียมประเพณี
การศึกษา ศาสนาและทัศนคติ เช่น
-คนไทยมีความชานาญในการปลูกข้าว
-คนอิตาลีมีความชานาญในการผลิตเสื้ อผ้า
-คนสวิตเซอร์แลนด์มีความชานาญในการผลิตนาฬิกา
2
ประโยชน์ ที่ได้ จากการเกิดการค้ าระหว่ างประเทศ
ด้ านการผลิต
- การที่ประเทศต่ างๆมุ่งผลิตสิ นค้ าที่ตนมีความชานาญและมีสภาพแวดล้ อมที่
เหมาะสม จึงก่อให้ เกิดการแบ่ งงานกันทาตามความถนัดขึน้ ระหว่ างประเทศต่ างๆ
-ดังนั้นการใช้ ทรัพยากรของโลกย่ อมมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึน้
-เกิดการเคลือ่ นย้ ายทรัพยากรและการถ่ ายทอดเทคโนโลยีระหว่ างประเทศคู่ค้า

ด้ านการบริโภค
-ผู้บริโภคจะมีทางเลือกมากขึน้ ทั้งในแง่ ชนิดของสิ นค้ าทีม่ ีความหลากหลาย
มีปริมาณและคุณภาพทีส่ ู งพอ สามารถตอบสนองความต้ องการของผู้บริโภค
ได้
-สิ นค้ าจะมีราคาถูกลง
-ดังนั้นการค้ าระหว่ างประเทศจึงสามารถสร้ างความพึงพอใจให้ แก่ ผ้ ูบริโภคแต่
3
ละประเทศได้

อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราระหว่ างประเทศ

เงินตราต่างประเทศ (foreign exchange)
หมายถึง เงินตราของประเทศอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เงินตราภายในประเทศ
(domestic currency)
เช่น ประเทศไทย เงินตราทุกสกุลของประเทศอื่น ๆ ถือว่าเป็ น
เงินตราต่างประเทศของไทยทั้งสิ้ น เช่น
 เงินปอนด์
 เงินเยน
 เงินดอลลาร์ สหรัฐ
 เงินยูโร
4

อัตราแลกเปลีย่ น (exchange rate)เป็ นอัตราทีเ่ ทียบระหว่ างค่ าของเงินสกุล
หนึ่ง(เช่ น เงินสกุลท้ องถิ่น)กับหนึ่งหน่ วยของเงินสกุลหลัก เช่ น ค่ าของเงิน
บาทเทียบกับ 1 หน่ วยดอลลาร์ สหรัฐเท่ ากับ 40บาท

เดิม 1 ดอลลาร์ เท่ ากับ 40 บาท เป็ น 1 ดอลลาร์ เท่ ากับ 42 บาท เรียกว่ า
อัตราแลกเปลีย่ นสู งขึน้ หรือ ค่ าเงินบาทลดลง หรือ ค่ าเงินบาทอ่อนลง

เดิม 1 ดอลลาร์ เท่ ากับ 40 บาท เป็ น 1 ดอลลาร์ เท่ ากับ 35บาท เรียกว่ า
อัตราแลกเปลีย่ นลดลง หรือ ค่ าเงินบาทสู งขึน้ หรือ ค่ าเงินบาทแข็งขึน้
5
พัฒนาการอัตราแลกเปลีย่ นของไทย

1.
2.
3.
4.
5.
หน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบดูแลการกาหนดอัตราแลกเปลีย่ น
คือธนาคารแห่ งประเทศไทย
โดยกองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่ น
(Exchange Equalization Fund ; EEF)
ระบบอัตราแลกเปลีย่ นคงที่(ปี 2506-2521)
อัตราแลกเปลีย่ นรายวัน(ปี 2521-2524)
อัตราแลกเปลีย่ นกาหนดโดย EEF (ปี 2524-2527)
อัตราแลกเปลีย่ นอิงกับตะกร้ าเงิน (ปี 2527-2540)
อัตราแลกเปลีย่ นลอยตัวแบบจัดการ(ปี 2540-ปัจจุบัน)
6
เดิม อัตราแลกเปลีย่ น 1 ดอลลาร์ สหรัฐฯ เท่ ากับ 40 บาท หรือ 40 ฿ : 1 $
ป.ป.
1. การเพิม่ ขึน้ ของค่ าเงิน (Revaluation)
อัตราแลกเปลีย่ นลดลงเป็ น 35 ฿ : 1 $
เงินบาทแข็งตัว(เพิม่ ค่ าเงินบาท)
ด้ านการส่ งออกในสายตาของชาวต่ างชาติจะรู้ สึกว่ าสิ นค้ าส่ งออกของไทยมีราคาแพงขึน้
(เพราะเงิน 1 $ สามารถแลกเป็ นเงินบาทได้ น้อยลงหรืออีกนัยหนึ่งก็คือต้ องใช้ เงิน $ ในจานวนมาก
ขึน้ เพือ่ ซื้อสิ นค้ าไทย)
เช่ นเดิมไทยส่ งออกข้ าวไปขายให้ สหรัฐฯในราคากิโลกรัมละ 40 ฿ : 1 $
แต่ เมื่อเพิม่ ค่ าเงินบาทเป็ น 35 ฿ : 1 $ ทาให้ คนสหรัฐฯต้ องใช้ เงินดอลลาร์ มากขึน้ ในการซื้อข้ าว 1
กิโลกรัม
ด้ านการนาเข้ าในสายตาของคนไทยจะรู้สึกว่ าสิ นค้ านาเข้ ามีราคาถูกลง
เช่ นเดิมไทยนาเข้ าช็อคโกแลตจากสหรัฐอเมริกา แท่ งละ 1 $ (หรือ 40 บาท/แท่ ง)
เมือ่ เพิม่ ค่ าเงินบาทเป็ น 35 ฿ : 1 $ ทาให้ คนไทยต้ องใช้ เงินบาทน้ อยลงในการซื้อช็ อคโกแลต 1 แท่ ง
 นั่นคือสิ นค้ าส่ งออกของไทยจะมีราคาแพงขึน้ แต่ ราคาสิ นค้ านาเข้ าจะถูกลง
 ดังนั้นจึงส่ งผลให้ การส่ งออกน้ อยลงและนาเข้ ามากขึน้
7
เดิม อัตราแลกเปลีย่ น 1 ดอลลาร์ สหรัฐฯ เท่ ากับ 40 บาท หรือ 40 ฿ : 1 $
ป.ป.
2. การลดค่ าเงิน (Devaluation)
อัตราแลกเปลีย่ นสู งขึน้ เป็ น 42 ฿ : 1 $
เงินบาทอ่ อนตัว(ลดค่ าเงินบาท)
ด้ านการส่ งออกในสายตาของชาวต่ างชาติจะรู้สึกว่ าสิ นค้ าส่ งออกของไทยมีราคาถูกลง
(เพราะเงิน 1 $ สามารถแลกเป็ นเงินบาทได้ มากขึน้ )
เช่ นถ้ าเดิมไทยส่ งออกข้ าวไปขายให้ สหรัฐฯในราคากิโลกรัมละ 40 ฿ : 1 $
แต่ เมื่อลดค่ าเงินบาทเป็ น 42 ฿ : 1 $ ทาให้ คนสหรัฐฯต้ องใช้ เงินดอลลาร์ ลดลงในการซื้อข้ าว 1
กิโลกรัม
 ด้ านการนาเข้ า ในสายตาคนไทยจะรู้สึกว่ าสิ นค้ านาเข้ ามีราคาแพงขึน้
(เพราะต้ องใช้ เงินบาทมากขึน้ เพือ่ แลกกับเงิน $ ในการซื้อสิ นค้ านาเข้ า)
เช่ นเดิมไทยนาเข้ าช็อคโกแลตจากสหรัฐอเมริกา แท่ งละ 1 $ (หรือ 40 บาท/แท่ ง) เมื่อลด
ค่ าเงินบาทเป็ น 42 ฿ : 1 $ ทาให้ คนไทยต้ องใช้ เงินบาทมากขึน้ ในการซื้อช็อคโกแลต 1 แท่ ง
 นั่นคือราคาสิ นค้ าส่ งออกจะถูก แต่ ราคาสิ นค้ านาเข้ าจะแพง
 ดังนั้นจึงส่ งผลให้ การส่ งออกมากขึน้ และนาเข้ าน้ อยลง
8
การแก้ไขปัญหาการขาดดุลการค้า
โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน




ดุลการค้า
คือมูลค่าสุ ทธิระหว่างมูลค่าการส่ งออก( EXPORT :X)และมูลค่าการนาเข้า(IMPORT
: M ) หรื อ X – M
ถ้ามูลค่าการส่ งออกน้อยกว่ามูลค่าการนาเข้านัน่ คือ (X-M) มีค่าเป็ นลบ หรื อ
ประเทศขาดดุลการค้า
การขาดดุลการค้าเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ทาให้ ระดับทุนสารองระหว่างประเทศ ลดลง
การแก้ไขการขาดดุลการค้า ทาได้โดย
 เพิ่มมูลค่าการส่ งออก
 ลดการนาเข้า
 หรื อทาทั้งสองด้านพร้อมกัน
9
การแก้ไขปัญหาการขาดดุลการค้ า
โดยการเปลีย่ นแปลงอัตราแลกเปลีย่ น



เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงค่าของเงินหรื ออัตราแลกเปลี่ยนมีผลกระทบต่อราคา
และปริ มาณการส่ งออกและการนาเข้า
เพื่อแก้ไขการขาดดุลการค้า จึงควร ลดค่าของเงิน จะมีผลทาให้
 สิ นค้าออกมีราคาลดลงในสายตาของชาวต่างประเทศ การส่ งออกของประเทศ
จะเพิ่มขึ้น
 สิ นค้าเข้ามีราคาขายในประเทศสู งขึ้น การนาเข้าจะลดลง
การลดค่าของเงินจะช่วยแก้ไขปัญหาการขาดดุลการค้าได้หรื อไม่ ยังขึ้นอยูก่ บั
เงื่อนไขอื่น เช่น
่ ของอุปสงค์สินค้าออกในต่างประเทศและอุปสงค์สินค้าเข้า
 ความยืดหยุน
 ประเทศคู่คา้ ได้มีการลดค่าเงินหรื อไม่
10
6.3 ดุลการชาระเงินระหว่ างประเทศ



ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ ( Balance of Payment) เป็ นบัญชี ผลสรุ ปของ
ธุรกรรมทุกประเภท (การค้า บริ การ เงินโอน เงินทุน ฯลฯ) ในช่วงเวลาหนึ่งๆ
ระหว่างผูม้ ีถิ่นที่อยูใ่ นประเทศ (resident) และผูท้ ี่มีถิ่นที่อยูใ่ นต่างประเทศ
(nonresident)
ผูม้ ีถิ่นที่อยูใ่ นประเทศ (resident) ของประเทศใด หมายถึง บุคคล ห้างร้าน และ
องค์การธุรกิจที่พานักอาศัยในประเทศ ยกเว้น นักท่องเที่ยวต่างชาติ นักศึกษา
ต่างชาติ ตลอดจนเจ้าหน้าที่สถานฑูต สถานกงศุล และธุรกิจที่เป็ นสาขาของธุรกิจ
ต่างชาติ
ธุรกรรมทุกประเภท หมายถึง รายการที่ก่อให้เกิดการโอนอานาจความเป็ นเจ้าของ
สิ นค้าบริ การและทรัพย์สินต่าง ๆ จากผูม้ ีถิ่นฐานของประเทศหนึ่งไปยังผูม้ ีถิ่นฐาน
ของอีกประเทศหนึ่ง ทั้ง รายการที่เกี่ยวข้องกับการได้รับเงินหรื อการชาระเงิน
ระหว่างประเทศ และการแลกเปลี่ยนสิ นค้าต่อสิ นค้าระหว่างประเทศ หรื อ การ
บริ จาค
11
ส่ วนประกอบของดุลการชาระเงิน
1. ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)
2. บัญชีเงินทุน (Capital and Financial
Account)แบ่ งเป็ น บัญชีทุนและบัญชีการเงิน
3. เงินสารองระหว่ างประเทศ
(International Reserve Account)
4. รายการความผิดพลาดคลาดเคลือ่ น
(Errors and Omissions)
12
ดุลการชาระเงิน
1.
บัญชีเดินสะพัด (Current Account) ประกอบด้ วย
1.1 ดุลการค้ าและดุลบริการ
-ดุลการค้ า (Trade Account) คือ การบันทึกรายการ
สิ นค้ านาเข้ าและส่ งออกของประเทศ
ส่ งออก > นาเข้ า
ดุลการค้ าเกินดุล
ส่ งออก = นาเข้ า
ดุลการค้ าสมดุล
ดุลการค้ าขาดดุล
ส่ งออก < นาเข้ า
-ดุลบริการ (Service Account) คือการบันทึกรายการรับ
และให้ บริการทางด้ านการขนส่ ง ท่ องเทีย่ ว การบริการของรัฐ และ
การบริการอืน่ ๆ เช่ น นักร้ องต่ างชาติเข้ ามาแสดงคอนเสริต์ในไทย
13
1. บัญชีเดินสะพัด (ต่อ)
1.2รายได้ (Income Account) รายได้ รับจากแรงงานที่ไปทางาน
ต่ างประเทศ , รายได้ จากการลงทุน ส่ วนรายจ่ ายนั้นจะเกีย่ วกับ
ส่ วนของทุนและหนีส้ ิ น เช่ น การจ่ ายเงินปันผล
1.3 เงินโอนและบริจาค (Current Transfers) คือ การบันทึก
รายการให้ เปล่ าทีเ่ ป็ นตัวเงินและสิ่ งของเช่ น การส่ งเงินกลับมาให้
ญาติ , การส่ งเงินไปให้ บุตรหลานทีเ่ รียนในต่ างประเทศ
14
2. บัญชีเงินทุน
(Capital and Financial Account)
เป็ นบัญชีทบี่ ันทึกด้ านการเงินระหว่ างประเทศทีม่ กี ารเคลือ่ นย้ ายทุนและหนีส้ ิ นระหว่ าง
ประเทศ(ทั้งทุนไหลเข้ าและออก) คือเงินทุนไหลเข้ า - เงินทุนไหลออก
1.บัญชีทุน(capital account) ได้แก่ การโอนทุน ซึ่งส่ วนใหญ่ เป็ นการย้ายทรัพย์สิน
ของผู้ย้ายทีอ่ ยู่
2.บัญชีการเงิน (financial account)
2.1 เงินลงทุนโดยตรง (Direct Investment) คือ รายการทีม่ ีการเคลือ่ นย้ าย
ลงทุนไปยังอีกประเทศหนึ่งเพือ่ หวังผลระยะยาว เช่ น การสร้ างโรงงาน
2.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) ทั้งระยะสั้ นและระยะ
ยาว เช่ น การขายหุ้นชินคอร์ ป
2.3 เงินทุนประเภทอืน่ ๆ (Other Investment) คือ รายการสิ นเชื่อทางการค้ า
เงินกู้ยมื และบัญชีเงินฝากระหว่ างประเทศ
15
3. เงินสารองระหว่ างประเทศ
(International Reserve Account)


คือ สิ นทรัพย์ ต่างประเทศทีถ่ ือครองหรือควบคุมโดยธนาคารกลางและสามารถนา
มาใช้ ประโยชน์ ทนั ทีทจี่ าเป็ น
ทุนสารองของประเทศจะประกอบด้ วย
-เงินตราต่ างประเทศ
-ทองคา
-สิ ทธิพเิ ศษถอนเงิน (Special Drawing Rights : SDR)
สิ นทรัพย์ ส่งสมทบกองทุนการเงินระหว่ างประเทศ และสิ นทรัพย์ ในรู ปเงินตรา
ต่ างประเทศ
16
4. รายการความผิดพลาดคลาดเคลือ่ น
(Errors and Omission)
เป็ นตัวเลขที่เกิดจากการปรับค่ารายการ
ดุลการชาระเงินให้มีความถูกต้องมาก
ยิง่ ขึ้น ซึ่งความผิดพลาดที่อาจเกิดจากการ
เก็บข้อมูล
17
ความหมายของการขาดดุลและเกินดุลในดุลการชาระเงินระหว่ าง
ประเทศ (Deficit and Surplus in Balance of Payment)

ในบัญชี ดุลการชาระเงินระหว่ างประเทศ อาจมีรายการที่ทาให้ เงินตรา
ไหลออกไม่ เท่ ากับเงินตราไหลเข้ า ซึ่ งเรี ยกว่ า ความไม่ สมดุ ล หรื อ
ไม่ ได้ ดุล ในบัญชีดุลการชาระเงิน
*ถ้ ารายการทีเ่ งินตราไหลเข้ ามากกว่ าไหลออก เรียกว่ า เกินดุล
*ถ้ ารายการทีเ่ งินตราไหลเข้ าน้ อยกว่ าไหลออกเรียกว่ า ขาดดุล

ทั้งนีก้ ารเกินดุล และขาดดุลในบัญชี นีจ้ ะถูกชดเชยให้ หมดไปโดยบัญชี ที่
เรียกว่ า บัญชีทุนสารองระหว่ างประเทศ
18
ดังนั้นบัญชี ทุนสารองระหว่ างประเทศจะแตกต่ างจากบัญชี อนื่ ๆ เพราะ
การเพิ่มขึ้น หรื อลดลงของการเกินดุลบัญชี เดินสะพัดและบัญชี เงินทุน
จะส่ งผลต่ อการทุนสารองระหว่ างประเทศ
 ในกรณีทด
ี่ ุลการชาระเงินขาดดุล จะต้ องนาเอาส่ วนหนึ่งส่ วนใดของทุน
สารองระหว่ างประเทศมาชดเชยส่ วนทีข่ าดดุลและทาให้ทุนสารองลดลง
จากเดิม
 ในกรณีทด
ี่ ุลการชาระเงินเกินดุล ผลทีเ่ กิดขึน้ ในบัญชีทุนสารองระหว่ าง
ประเทศ จะทาให้ ทุนสารองเพิม่ ขึน้ จากเดิม
19
เกินดุลสุ ทธิ
ขาดดุลสุ ทธิ
บัญชีกระแสเดินสะพัด
บัญชีกระแสเดินสะพัด
เงินไหลเข้ า > เงินไหลออก
เงินไหลเข้ า < เงินไหลออก
เท่ ากับ 2 ล้ านดอลลาร์ ฯ
เท่ ากับ 5 ล้ านดอลลาร์ ฯ
บัญชีทุนและการเงิน
บัญชีทุนและการเงิน
เงินไหลเข้ า < เงินไหลออก
เงินไหลเข้ า < เงินไหลออก
เท่ ากับ 1 ล้ านดอลลาร์ ฯ
เท่ ากับ 2 ล้ านดอลลาร์ ฯ
บัญชีทุนสารองระหว่ างประเทศ
บัญชีทุนสารองระหว่ างประเทศ
เงินตราไหลเข้ า เพิม่ ขึน้ 1 ล้ านดอลลาร์ ฯ
เงินตราไหลออก ลดลง 7 ล้ านดอลลาร์ ฯ
20
ประโยชน์ ของบัญชีดุลการชาระเงินระหว่ างประเทศ
- ทราบถึ ง ฐานะทางการเงิ น ของประเทศว่ า ขณะนั้ น เรามี ป ริ ม าณเงิ น ตรา
-
ต่ างประเทศมากน้ อยเพียงใดและมีการเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หรือลดลงเท่ าใด
ทราบถึงรายการแลกเปลีย่ นทางเศรษฐกิจกับต่ างประเทศ
สามารถนาไปใช้ วางนโยบายการค้ าและการเงินระหว่ างประเทศให้ เหมาะสม
21