การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science

Download Report

Transcript การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science

ฐานข้อมูล ISI Web of Science
แสงเดือน คำมีสว่ำง
บรรณำรักษ์
ศูนย์บรรณสำรและสื่ อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง
เนื้อหาการบรรยาย
ISI Web of Science คืออะไร?
ทำไม เราต้องใช้ ISI Web of Science?
เข้าใช้ ISI Web of Science ได้อย่างไร?
ทำไม ต้ องลงทะเบียนกำรเข้ ำใช้ ?
การลงทะเบียน [Register]
การหาแบบ Search
การสืบค้นข้อมูล
การค้นหาแบบ Cited Reference Search
การจัดการผลลัพธ์
เทคนิคการสืบค้น
การหาค่า Impact factor
การเอกสารฉบับเต็มจาก DOI / Crossref
ISI Web of Science คืออะไร?
เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง (Citation Database) ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและ
สาระสังเขปของรายการอ้างอิง และรายการที่อ้างถึง
 เป็นฐานข้อมูลสหสาขาวิชา ครอบคลุมทุกกลุ่มสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็น
วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ จากวารสารมากกว่า
10,000 รายชื่อ
 ให้ข้อมูลตั้งแต่ ปี 2001 – ปัจจุบัน
 ลักษณะของข้อมูลที่ให้บริการจะเป็นรูปแบบรายการบรรณานุกรม
และสาระสังเขป ในรูปแบบของ HTML โดยไม่มีบริการเอกสาร
ฉบับเต็ม (Full Text)
 สำมำรถสื บค้ นได้ โดยไม่ จำกัดจำนวนผู้ใช้
ทำไม เรำต้องใช้ ISI Web of Science?
เนื่องจำก Web of Science เป็ นฐำนข้ อมูลที่ใช้ ในกำรสื บค้ นข้ อมูลกำรตีพิมพ์ งำนวิจัยของ
นักวิจัยในวำรสำรระดับนำนำชำติ ฉะนั้น ข้ อมูลที่เรำจะสื บค้ นได้ กจ็ ะเป็ นข้ อมูลที่ว่ำ นักวิจัยคน
หนึ่งมีผลงำนตีพมิ พ์ กรี่ ำยกำร อะไรบ้ ำง อยู่ในวำรสำรฉบับไหน แต่ ละรำยกำรมีกำรใช้ รำยกำร
อ้ ำงอิงเท่ ำไหร่ ซึ่งจะตีควำมได้ ว่ำ นักวิจัยเรื่องนั้น ได้ ศึกษำ ค้ นคว้ ำเรื่ องนั้นมำกน้ อยแค่ ไหน
นอกจำกนีย้ งั ให้ ข้อมูลว่ ำแต่ ละรำยกำรได้ รับกำรอ้ ำงถึง (Cited) เท่ ำใด ใครนำไปอ้ ำงถึงบ้ ำง ซึ่ง
จำนวนกำรอ้ ำงถึงผลงำนวิจัยก็เป็ นเสมือนเป็ นกำรให้ คะแนนควำมมีคุณค่ ำของผลงำนวิจัยชิ้นนั้น
ยิง่ มีกำรนำไปอ้ ำงถึงมำก ยิง่ ทำให้ ตีควำมได้ ว่ำ งำนวิจัยนั้นได้ รับกำรยอมรับ นอกจำกนี้ Web
of Science ยังสำมำรถใช้ สืบค้ น Impact Factor ของวำรสำรได้ อกี ต้ วย
เข้ำใช้ ISI Web of Science ได้อย่ำงไร?
นักศึกษำ อำจำรย์ และบุคลำกร ของมหำวิทยำลัยแม่ ฟ้ำหลวงสำมำรถเข้ ำใช้ บริกำรฐำนข้ อมูล ISI
Web of Science ได้ จำกทุกสำนักวิชำ /หน่ วยงำน / หอพักนักศึกษำ หรือผ่ ำนระบบเครื อข่ ำยไร้
สำย (Wireless LAN) ภำยในมหำวิทยำลัยภำยใต้ ระบบเครือข่ ำยของมหำวิทยำลัย ส่ วนกรณีใช้ ท่ี
บ้ ำนหรือที่ทำงำนนอกมหำวิทยำลัยให้ ใช้ ผ่ำนระบบ SSL VPN สำมำรถ Download โปรแกรม
และคู่มอื กำรติดตั้งได้ ที่
http://www.mfu.ac.th/center/lib/DB%20PPT/How%20to%20connect%20MFU%20internet%20from%20outside.pdf
โดยใช้ Username และ Password ที่ศูนย์ บริกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศออกให้
กรณีมีคำถำม หรื อเข้ ำใช้ งำนไม่ได้ โปรดติดต่อฝ่ ำยระบบเครื อข่ำย
คอมพิวเตอร์ ศูนย์บริกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศ ชัน้ 3 อำคำร RE
โทร. 0-5391-6397 หรื อ E-mail: [email protected]
ทำไม ต้ องลงทะเบียนกำรเข้ ำใช้ ?
กำรใช้ ฐำนข้ อมูล ISI Web of Science ผู้ใช้ สำมำรถเข้ ำใช้ ฐำนได้ เลยไม่
จำเป็ นต้ องลงทะเบียน ถ้ ำใช้ ผ่ำนระบบเครือข่ ำยของมหำวิทยำลัย แต่ กำร
ลงทะเบียนก็จะทำให้ ผู้ใช้ สำมำรถใช้ บริกำรเสริมอืน่ ๆ ของ ISI Web of
Science ได้ เช่ น
- การ Save Search
- การใช้ E-mail Alerts
- การเก็บ Marked List
- การใช้ Endnote Web
ฯลฯ
การลงทะเบียน [Register]
จากหน้า HOME การลงทะเบียนเป็นสมาชิก ให้ใช้เม้าท์คลิกที่ Register
การลงทะเบียน [Register]
ระบบจะให้ตรวจสอบ
e-mail ที่เราจะใช้สมัคร
เมื่อพบว่ายังไม่เคยสมัคร
ให้กรอกข้อมูลส่วนตัวลง
ในแบบฟอร์มและทาการ
Submit
หมายเหตุ
- หัวข้อที่มี * สีแดงหมายถึงต้อง
กรอกข้อมูลในช่องนั้นให้ครบหากไม่
ใส่จะไม่สามารถลงทะเบียนได้
- การตั้งรหัสผ่าน ใช้อักษร 8 ตัวขึ้น
ไป และประกอบไปด้วยตัวเลข
ตัวอักษร และอักขระพิเศษ เช่น @
< > เป็นต้น
การสืบค้นข้อมูล
กำรค้ นหำข้ อมูลใน ISI Web of Science จำแนกออกเป็ น 2 รู ปแบบใหญ่ๆ
ดังนี้
1. Search เป็ นกำรค้นหำบทควำมจำกคำสำคัญในหัวเรื่ อง ชื่อเรื่ อง ผูแ้ ต่ง
ชื่อวำรสำร เป็ นต้น
2. Cited Reference Search เป็ นกำรค้นหำข้อมูลที่บทควำมนำมำ
อ้ำงอิง ซึ่ งอำจเป็ นบทควำม หนังสื อ หรื อ สิ ทธิบตั ร เป็ นต้น หรื อ
ต้องกำรค้นหำว่ำมีใครนำผลงำนนี้ไปอ้ำงอิงในบทควำมบ้ำง
การค้นหาแบบ Search
1. พิมพ์คำหรือวลีลงในช่ องรับคำค้น
2. ระบุเขตข้ อมูลที่ต้องกำรสืบค้น เช่ น Topic,
Title, Author, Publication Name,
Address เป็ นต้ น
3. ระบุคำเชื่อมหำกมีคำค้นมำกกว่ำ 1 คำ
4. คลิกที่ Change Limits เพือ่ เลือก ช่ วงเวลำ
ตีพมิ พ์ของเอกสำรจำกส่ วน Timespan และ
เลือกฐำนข้ อมูลที่จะใช้ ใน กำรสืบค้นจำกส่ วน
Citation Databases
5. คลิก Search เพือ่ สืบค้นข้ อมูล
*Topic = ค้นจำกทุกเขตข้ อมูลใน บรรณำนุกรม
รวมถึงบทคัดย่ อ
หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search
1. แสดงจำนวนผลลัพธ์ ทพี่ บ
2. สื บค้ นเฉพำะภำยในรำยกำรผลลัพธ์ ปัจจุบัน
จำกส่ วน Search within results for เพือ่
จำกัดผลลัพธ์ ให้ แคบลง โดยพิมพ์คำหรื อวลี และ
คลิกทีป่ ุ่ ม Search
3. Refine Results เป็ นกำรปรับปรุงหรือ
กรองผลลัพธ์ ทไี่ ด้ จำกกำรสื บค้ นเดิมให้ แคบลงได้
จำก โดยเลือกรู ปแบบในกำรแสดงผล เช่ น
Subject Areas, Document Types,
Authors, Source Titles, Publication
Years, Institutions, Languages,
Countries/Territories โดยคลิก
เครื่องหมำยถูกหน้ ำหัวเรื่องทีต่ ้ องกำร หรือคลิกที่
more เพือ่ แสดงหัวเรื่องทั้งหมด จำกนั้นคลิกที่
Refine เพือ่ แสดงผล
4. เลือกจัดการผลลัพธ์ที่ค้นพบได้หลายรูปแบบ เช่น สั่งพิมพ์, ส่งทาง
E-mail, จัดเก็บรายการ, บันทึกข้อมูล, ส่งออกรายการบรรณานุกรม
เป็นต้น
5. คลิกที่ Sort by เพื่อจัดเรียงลาดับผลลัพธ์ใหม่ตาม Latest Date,
Times Cited, Relevance, First Author, Source Title, Publication
Year เป็นต้น
6. คลิกที่บทความเพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด หรือคลิกที่ตัวเลขที่ Times
Cited เพื่อดูรายการบทความที่อ้างถึง
การค้นหาแบบ Cited Reference Search
เลือกสืบค้นจากหน้า Home
1. คลิกที่ Cited Reference
Search
2. Cited Author: พิมพ์นามสกุล
หรือ ตามด้วยอักษรแรกของผูแ
้ ต่ง
ที่ต้องการค้นหา
3. Cited Work: พิมพ์อักษรย่อของ
ชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ คลิกที่ journal
abbreviation list เพื่อตรวจอักษร
ย่อจากรายการของชื่อสิ่งพิมพ์
4. Cited Year(s): พิมพ์ปี หรือช่วง
ของปีที่ตีพม
ิ พ์
5. คลิกที่ Search
ผลลัพธ์ของ Cited Reference Search
1. คลิกที่ช่องหน้า Record ที่ต้องการ
เลือกได้มากกว่าหนึ่ง และคลิกที่ปุ่ม
Finish Search เพื่อเรียกดูรายการ
บทความที่อ้างถึง (Citing Article)
2. Cited Author : รายชื่อผู้แต่งที่
ได้รับการอ้างอิง
3. Cited Work : ชื่อของสิ่งพิมพ์ ซึ่ง
สามารถเรียกแสดงชื่อเรื่องไปพร้อม
กันด้วย คลิกที่ Show Expanded
Titles
4. Year : ปีที่พิมพ์
5. Volume : เล่มที่ Volume
6. Page : เลขหน้า
7. Citing Articles : จำนวนครั้งที่
บทควำม (Record) นีไ้ ด้ รับกำรอ้ำงถึง
8. คลิกที่ View Record ในรำยกำรทีป่ รำกฏ
เพือ่ ดูข้อมูลโดยละเอียด
การแสดงหน้าจอบทคัดย่อ
1. รำยละเอียดของบทควำม ประกอบด้ วย
ชื่อบทควำม ผู้แต่ ง แหล่งข้ อมูล
2. Times Cited : จำนวนกำรถูกอ้ำงอิง
(เฉพำะในฐำนข้ อมูล Web of Science)
3. Cited References: จำนวนเอกสำร
ที่นำมำอ้ำงอิง
4. บทคัดย่ อและรำยละเอียดของบทควำม
5. จำนวนและรำยละเอียดของบทควำมที่
นำไปอ้ำงอิงทั้งหมด
6. จำนวนและบทควำมที่นำมำอ้ำงอิง
การจัดการผลลัพธ์
Print/E-mail/Save/Export Reference
1. คลิกเลือกหน้ารายการที่ต้องการ
2. เลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์
เก็บไว้ใน Marked List
Print
E-mail
การ export สู่โปรแกรมจัดการ
บรรณานุกรม
เทคนิคการสืบค้น
1. ตัวเชื่อมเพือ่ สร้ ำงเงือ่ นไขกำรสื บค้ น คือ AND OR NOT SAME
2. กำรค้ นหำกลุ่มคำ หรือ วลี ให้ ใช้ เครื่องหมำย “...” อัญประกำศ เพือ่ กำหนดลำดับและตำแหน่ ง
ของกลุ่มคำไม่ ให้ แยกคำ
3. เครื่องหมำยพิเศษทีช่ ่ วยกำรกำรสื บค้ น
? ใช้ แทนตัวอักษรหนึ่งตัวอักษร โดยให้ วำงตำแหน่ งกลำงหรือ
ท้ ำยคำ เช่ น Fib?? จะพบทั้ง Fibre และ Fiber
* กำรละตัวอักษรตั้งแต่ ศูนย์ ตัวอักษรขึน้ ไป โดยให้ วำงตำแหน่ งกลำงหรือ
ท้ ำยคำ เช่ น S*food จะพบทั้ง Seafood และ Soyfood
$ แทนทีศ่ ูนย์ ตัวอักษรหรือหนึ่งตัวอักษรเท่ ำนั้น เช่ น Col$r จะพบทั้ง Color และ
Colour
(…) ใช้ เพือ่ จัดลำดับกำรสื บค้ นก่ อนหรือหลัง เช่ น Rabies AND (cat OR dog) ระบบจะ
สื บค้ นบทควำมทีม่ ี cat หรือ dog ก่ อน จำกนั้นจึงจะค้ นหำ Rabies
Impact Factor
Impact Factor คือ ค่าความถี่ทบ
ี่ ทความในวารสารนัน
้ ได้รับ
การอ้างอิงในแต่ละปี ซึ่งโดยปกติจะใช้ย้อนหลังประมาณ 2 ปี
ถือว่าเป็นเครื่องมือในการประเมินคุณภาพของบทความหรือจัด
อันดับวารสาร
การหาค่า Impact Factor
1. เข้ ำสู่ หน้ ำหลัก คลิกเมนู Search โดยให้ เลือกเขตคำค้ นเป็ น Publication name จำกนั้นให้ กด
เครื่องหมำย เพือ่ ทำกำร Search
หำชื่อวำรสำรที่ถูกต้ อง
การหาค่า Impact Factor (ต่อ)
เลือกวารสารที่ต้องการ จากนั้นให้ คลิก Add
ชื่อวารสารจะปรากฎด้านล่างจากนั้นให้ คลิก OK
การหาค่า Impact Factor (ต่อ)
การหาค่า Impact Factor (ต่อ)
เลือก Create Citation Report
การหาค่า Impact Factor (ต่อ)
สามารถเลือกปี ที่ต้องการทราบได้
1.
2.
Average Citations per Item [?] : 10.01 คือ ค่ำ Impact Factor หมำยถึง เฉลีย่ หนึ่งบทควำมมีกำร
นำไปอ้ำงอิงทั้งหมด 10.01 ครั้ง (โดยปกติค่ำ Impact Factor ที่ใช้ จะย้ อนหลังไปประมำณ 2 ปี
h-index [?] : 71 คือ ค่ำที่แสดงควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงกำรตีพมิ พ์และกำรถูกอ้ำงอิง หมำยถึง มีอย่ ำงน้ อย 71
บทควำมขึน้ ไปที่มีกำรอ้ำงอิงตั้งแต่ 71 ครั้ง
เอกสารฉบับเต็ม
กำรค้ นหำเอกสำรฉบับเต็มจำก
1. นำ DOI ของบทควำมวำรสำรไปหำจำก
http://www.doi.org/
2. เอำบรรณำนุกรมไปหำจำก http://www.crossref.org/
เอกสารฉบับเต็มจากหมายเลข DOI
DOI (Digital Object Identifier ) เป็ นชื่อรหัสมำตรฐำนของทรัพยำกรสำรสนเทศในรูปดิจทิ ัล โดยรหัสดังกล่ำวมีท้ังตัวเลข
และตัวอักษร กำหนดขึน้ มำเพือ่ ใช้ ระบุตำแหน่ งหรือที่อยู่ (URL) ของทรัพยำกรสำรสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ให้ สำมำรถค้นหำ
ทรัพยำกรสำรสนเทศ เช่ น บทควำม วำรสำร หนังสือ และทรัพย์ สินทำงปัญญำต่ ำงๆ ผ่ำนอินเทอร์ เน็ตได้ กำรค้นหำด้ วย
หมำยเลข DOI ทำได้ โดย
1. เข้าไปยังเว็บไซด์ http://www.doi.org/
2. นำหมำยเลข DOI ที่ได้ จำกฐำนข้ อมูลมำสื บค้ นในเมนู
Resolve a DOI Name จำกนั้น กด Submit
ตัวอย่างจาก Web of Science
1.
ค้ นหำเอกสำรทีต่ ้ องกำร จำกนั้น นำหมำยเลข DOI ไป Search เพือ่ หำเอกสำรฉบับเต็มจำก
http://www.doi.org/
2. นำหมำยเลข DOI ไป Search เพือ่ หำเอกสำรฉบับเต็มจำก http://www.doi.org/
ตัวอย่างจาก Web of Science (ต่อ)
Full Text ที่ได้จาก BioOne
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก Crossref
Crossref เป็ นควำมร่ วมมือกันของสำนักพิมพ์ช้ ันนำมำกกว่ำ 380 แห่ ง เป็ นองค์กรที่ไม่ หวังผลกำไร ดังนั้นจึงทำให้ ผ้ใู ช้ บริกำร
สำมำรถสืบค้นสิ่งพิมพ์ บทควำมวำรสำรไปยังกลุ่มสำนักพิมพ์ที่เป็ นสมำชิก ครอบคลุมบทควำมมำกกว่ำ 1 ล้ำนบทควำม
กำรค้นหำเอกสำรจำก Crossref สำมำรถทำได้ ดงั นี้
1. ค้ นหำจำกเลข DOI โดยเข้ ำไปที่ http://www.crossref.org จำกนั้นก็นำหมำยเลข DOI
ค้ นหำจำกเมนู DOI Resolver จำกนั้นก็กด Submit
2. ระบบจะลิงค์ไปยังเว็บที่ให้บริการ Full text
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก Crossref (ต่อ)
1. ค้นหาจากรายละเอียดทางบรรณานุกรม โดยเข้าไปที่ http://www.crossref.org
จากนั้นก็ไปยังเมนู FOR RESEARCHERS เลือก Free DOI name look up
2. Search จากชื่อผู้แต่งและชื่อบทความ
จากเมนู Search on article title จากนั้น
กด Search
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก Crossref (ต่อ)
3. ปรำกฎลิงค์ เพือ่ นำไปสู่ บทควำม Full Text
Link Full Text จาก SpringerLink
Thank You
For more information. . .Please contact
Reference Librarian
Tel . 053 916335, 053 916311
E- mail : [email protected]