ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยและ สถิติสำหรับการวิจัย

Download Report

Transcript ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยและ สถิติสำหรับการวิจัย

ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับการวิจยั และ
สถิติสาหรับการวิจยั
Introduction to Research and
Statistic for Research
ความหมายของการวิจัย
• คำว่ำ การวิจยั มาจากคาวา่ Research มีรำกศัพท์มำจำก
Re + Search
– Re แปลว่ำ ซ้ ำ
– Search แปลว่ำ ค้น
• ดังนั้น Research แปลว่ำ ค้นคว้ำซ้ ำแล้วซ้ ำอีก ซึ่ งน่ำจะหมำยถึง กำร
ค้นหำควำมรู้ควำมจริ ง ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ควำมรู้
ควำมจริ งที่น่ำเชื่อถือ ถูกต้อง เพรำะมีขอ้ มูลที่เพียงพอต่อกำรสรุ ป
เป็ นควำมรู ้ควำมจริ งนั้น ๆ
สรุปความหมายการวิจยั
• การวิจยั คือ กระบวนการหาความรูความจริ
ง
้
ใหม่ ที่มีระบบแบบแผนตำมหลักวิชำ อำศัยหลักเหตุผล ที่รอบคอบ
รัดกุม ละเอียดและเชื่อถือได้ และควำมรู้ควำมจริ งนั้นจะนำไปเป็ น
หลักกำร ทฤษฎี หรื อ ข้อปฏิบตั ิที่ทำให้มนุษย์ได้รับรู้และนำไปใช้
เพื่อให้สำมำรถดำรงชีวติ ด้วยควำมสงบสุ ขหรื อป้ องกันและ
หลีกเลี่ยงภัยอันตรำยต่ำง ๆ ได้
วิธีหาความรูข้ องมนุษย์
ยุคปัจจุบัน ชาร์ ล ดาร์ วนิ (Charles Darwin ) นำวิธีอนุมำนของ
อริ สโตเติลและวิธีอุปมำนของ เบคอน มำรวมกัน เมื่อรวมทั้งสองวิธีเรี ยกว่ำ
วิธีการอนุมาน-อุปมาน (Deductive-Inductive Method) เป็ น 5 ขั้น
1. ขั้นปัญหำ (Problem)
2. ขั้นตั้งสมมติฐำน (Hypothesis)
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล (Gathering Data)
4. ขั้นวิเครำะห์ขอ้ มูล (Analysis)
5. ขั้นสรุ ป (Conclusion)
ลักษณะของการวิจยั
1. กำรวิจยั เป็ นกำรค้นคว้ำที่ตอ้ งอำศัยควำมรู ้ ควำมชำนำญ และควำมมี
ระบบ
2. กำรวิจยั เป็ นงำนที่มีเหตุผลและมีเป้ ำหมำย
3. กำรวิจยั จะต้องมีเครื่ องมือหรื อเทคนิคในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ที่มี
ควำมเที่ยงตรง และเชื่อถือได้
4. กำรวิจยั จะต้องมีกำรรวบรวมข้อมูลใหม่และ ควำมรู ้ใหม่
5. กำรวิจยั เป็ นกำรศึกษำค้นคว้ำที่มุ่งหำข้อเท็จจริ ง
6. กำรวิจยั ต้องอำศัยควำมเพียรพยำยำม ควำมซื่อสัตย์ กล้ำหำญ
7. กำรวิจยั จะต้องมีกำรบันทึกและเขียนกำรรำยงำน กำรวิจยั อย่ำง
ระมัดระวัง
ลักษณะที่ไม่ใช่การวิจยั
1. กำรที่นิสิตนักศึกษำไปค้นคว้ำ เอกสำรตำรำแล้วนำมำเรี ยบเรี ยง
ตัดต่อ
2. กำรค้นพบ (Discovery) โดยทัว่ ไป โดยบังเอิญ
3. กำรรวบรวมข้อมูลแล้วนำมำ จัดทำตำรำง
4. กำรทดลองปฏิบตั ิกำร ตำมคู่มือที่แนะนำไว้
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
1. เพือ่ ใช้ ในการบรรยาย
2. เพือ่ ใช้ ในการอธิบาย
3. เพือ่ ใช้ ในการทานาย
4. เพือ่ ใช้ ในการควบคุม
5. เพือ่ ใช้ ในการพัฒนา
ประโยชน์ของการวิจยั
1. ช่วยให้ได้ควำมรู้ใหม่ ทั้งทำงทฤษฎีและปฏิบตั ิ
2. ช่วยพิสูจน์หรื อตรวจสอบควำมถูกต้องของกฏเกณฑ์ หลักกำร
และทฤษฎีต่ำงๆ
3. ช่วย ให้เข้ำใจสถำนกำรณ์ ปรำกฏกำรณ์และพฤติกรรมต่ำง ๆ
4. ช่วยพยำกรณ์ผลภำยหน้ำของสถำนกำรณ์ ปรำกฏกำรณ์และ
พฤติกรรมต่ำง ๆ ได้อย่ำง ถูกต้อง
5. ช่วยแก้ไขปัญหำได้อย่ำงถูกต้องและมีประสิ ทธิภำพ
ประโยชน์ของการวิจยั … ต่อ
6. ช่วยในกำรวินิจฉัย ตัดสิ นใจได้อย่ำงเหมำะสม
7. ช่วยปรับปรุ งกำรทำงำนให้มีประสิ ทธิ ภำพมำกขึ้น
8. ช่วยปรับปรุ งและพัฒนำสภำพควำมเป็ นอยู่ และวิธีดำรงชีวิตได้
ดียงิ่ ขึ้น
9. ช่วยกระตุน้ บุคคลให้มีเหตุผล รู ้จกั คิดและค้นคว้ำหำควำมรู้อยู่
เสมอ
จรรยาบรรณของนักวิจยั
1. กำรทำกำรวิจยั ที่ตอ้ งใช้กลุ่มตัวอย่ำงเพื่อทำกำรศึกษำวิจยั กลุ่ม
ตัวอย่ำงเหล่ำนั้นจะต้องรับรู้และยินยอมที่จะเป็ นกลุ่ม ตัวอย่ำง
และมัน่ ใจว่ำตนเองจะไม่ได้รับควำมเสี ยหำยหรื ออันตรำยใด ๆ
2. กำรทำกำรวิจยั จะต้องมีกำรรักษำผลประโยชน์แก่กลุ่มตัวอย่ำง
โดยเฉพำะกำรวิจยั ที่ตอ้ งใช้กลุ่มตัวอย่ำงในกำรทดลองที่ตอ้ งเสี่ ยง
ต่ออันตรำยต่อร่ ำงกำยแล้ว ไม่ควรกระทำ ควรจะใช้สตั ว์อื่นแทน
มนุษย์ เช่น หนูในกำรทดลองยำ เป็ นต้น
จรรยาบรรณของนักวิจยั … ต่อ
3. กำรทำกำรวิจยั ที่ตอ้ งอำศัยข้อมูลส่ วนบุคคลเพื่อมำทำกำร
วิเครำะห์ ซึ่ งบำงครั้งเป็ นข้อมูลที่ตอ้ งกำรปกปิ ด หรื อเป็ นข้อมูลด้ำน
ลบของบุคคล ดังนั้น ผูว้ จิ ยั จะต้องระมัดระวังไม่เปิ ดเผย ข้อมูล
ส่ วนบุคคล นอกจำกจะเป็ นผลกำรวิเครำะห์ในภำพรวมของกลุ่ม
ตัวอย่ำงทั้งหมด
4. กำรทำกำรวิจยั จะต้องมีควำมระมัดระวัง เพื่อให้กลุ่มตัวอย่ำงมี
ควำมปลอดภัยจำกอันตรำยต่ำง ๆ ทั้งทำงด้ำนร่ ำงกำย จิตใจของ
บุคคลอื่นซึ่งกำรวิจยั จะครอบคลุมไปถึง
จรรยาบรรณของนักวิจยั … ต่อ
5. ผูท้ ำวิจยั จะต้องมีควำมซื่อสัตย์และเป็ นกลำงในเรื่ องที่ตนทำ
วิจยั ไม่ดำเนินกำรโดยควำมลำเอียง ไม่วำ่ จะเป็ นขั้นตอนของกำร
เลือกกลุ่มตัวอย่ำง กำรเก็บข้อมูลกำรวิจยั หรื อตีควำมผลกำร
วิเครำะห์ขอ้ มูล
6. ผูว้ จิ ยั จะต้องมีควำมรับผิดชอบในงำนวิจยั ของตน ไม่วำ่ จะเป็ น
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มตัวอย่ำง หรื อผลกำรวิจยั ที่ปรำกฏผล
ออกมำจะต้องเป็ นไปอย่ำงสร้ำงสรรค์ ไม่เป็ นกำรทำขึ้นเพื่อทำลำย
ควำมสงบสุ ขของคนในสังคม หรื อทำลำยบุคคลหรื อกลุ่มบุคคล
หนึ่งบุคคลใด
สถิติในการวิจยั
คือ กำรเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงปริ มำณอย่ำงเป็ นระบบ ซึ่ งใน
กำรวิจยั จะใช้สถิติหำคุณภำพของเครื่ องมือ และใช้ในกำรกำหนด
ขนำดของตัวอย่ำงให้เหมำะสมกับประชำกร และสำหรับวิเครำะห์
ข้อมูล แต่ก่อนทำกำรวิเครำะห์ขอ้ มูลนั้น ผูว้ จิ ยั จะต้องคำนึงถึง
ข้อจำกัดของสถิติแต่ละตัว และควำมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ของงำนวิจยั
สถิติในการวิจยั … ต่อ
• ประเภทของข้อมูลมีควำมสำคัญมำก สำหรับกำรนำข้อมูลไปวิเครำะห์ทำง
สถิติ เพรำะสถิติแต่ละตัวมีขอ้ จำกัดในกำรนำไปวิเครำะห์ ซึ่งขึ้นอยูก่ บั
ประเภทของข้อมูล ฉะนั้นผูว้ ิจยั จะต้องมีควำมรู ้วำ่ ข้อมูลแต่ละตัวอยูใ่ น
ประเภทใด ซึ่งข้อมูลทำงกำรวิจยั มีอยูห่ ลำยประเภท ดังต่อไปนี้
– นำมบัญญัติ (Nominal Scale)
– เรี ยงอันดับ (Ordinal Scale)
– อันตรภำค (Interval Scale)
– อัตรำส่ วน (Ratio Scale)
นามบัญญัติ (Nominal Scale)
• ข้อมูลประเภทนี้เป็ นข้ อมูลทีแ่ บ่ งเป็ นกลุ่มเป็ นประเภท ที่แยกออก
จากกัน เช่น เพศ แบงเป็
่ น ชาย, หญิง อำชีพ
แบ่งเป็ น ข้ำรำชกำร รัฐวิสำหกิจ ค้ำขำย เป็ นต้น
• ข้อมูลเหล่ำนี้จะใช้ สถิติง่ำย ๆ ในกำรคำนวณ คือ ควำมถี่ สัดส่ วน
ร้อยละ ซึ่ งข้อมูลเหล่ำนี้เป็ นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่ำนั้น จะ
นาไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ ได้ ในทางสถิติ เพราะไม่ มีความหมาย
เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
• ข้อมูลประเภทนี้ เป็ นข้ อมูลทีใ่ ช้ จดั อันดับของสิ่ งต่ าง ๆ โดยเรียง
อันดับของข้ อมูลตามวัตถุประสงค์ ทตี่ ้งั ไว้ จากสู งสุ ดไปหาตา่ สุ ด
เช่น ลำดับที่ของกำรสอบลำดับของกำรประกวดสิ่ งต่ำง ๆ หรื อ
ควำมนิยมเป็ นต้น ซึ่งจะนาไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ ได้ เช่ นกัน
• สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์คือ ควำมถี่ สัดส่ วน ร้อยละ
อันตรภาค (Interval Scale)
• ข้อมูลประเภทนี้ เป็ นข้ อมูลทีบ่ อกถึงความแตกต่ างระหว่ างค่าทีว่ ดั ได้ แต่ ละ
ช่ วง ทีม่ ีความห่ างเท่ ากัน ทุกช่ วง เป็ นข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวเลข สามารถ บวก ลบ
กันได้ แต่ ไม่ มีศูนย์ แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ , ระดับควำมคิดเห็น
โดยแปลควำมหมำยจำกแบบสอบถำมที่เป็ นแบบมำตรำส่ วนประมำณค่ำ
หรื อ คะแนนสอบ 0 – 100 ซึ่งช่วงของตัวเลขจะแบ่งเท่ำ ๆ กัน และมีค่ำ
เป็ นศูนย์ไม่แท้เพรำะ ตัวเลข 0 ไม่ได้ มีควำมหมำยว่ำ ไม่มี แต่ตำมควำม
เป็ นจริ งแล้วยังมีค่ำอยู่
• สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์คือ ควำมถี่ สัดส่ วน ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบน
มำตรฐำน และสถิติช้ นั สูงทุกตัว
อัตราส่ วน (Ratio Scale)
• ข้ อมูลประเภทนี้ เป็ นข้ อมูลทีใ่ ช้ วดั ในระดับสู ง สามารถบวก ลบ คูณ
หาร ได้ และมีศูนย์ แท้ เช่น น้าหนัก, ควำมเร็ ว ควำม
กว้ำง ควำมหนำ พื้นที่ จำนวนเงิน, อำยุ ระยะทำง ซึ่งถ้ำมีค่ำเป็ น 0
หมำยถึง ไม่มี
• ข้อมูลเหล่ำนี้สำมำรถนำไปวิเครำะห์กบั สถิติได้ทุกตัว
ตัวอย่างประเภทของข้อมูล
ป
ตัวอย่างประเภทของข้อมูล … ต่อ
ตัวอย่างประเภทของข้อมูล … ต่อ
3. ระดับอุณหภูมิที่วดั ได้ในภาคต่างๆ ของประเทศไทยมีดงั นี้
ภาคเหนื อ 22-25 องศาเซลเซียส
ภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ 22-28 องศาเซลเซียส
ภาคกลาง 25 – 28 องศาเซลเซียส
ภาคตะวันออก 24 – 26 องศาเซลเซียส
ภาคใต้ 25 – 30 องศาเซลเซียส
( มาตราอันตรภาค )
หลักการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
กำรพิจำรณำว่ำจะใช้สถิติใดในกำรวิเครำะห์ขอ้ มูล ผูว้ ิจยั
จะต้องพิจำรณำ องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับหลักกำรทำงสถิติ 3
ประกำรดังนี้
น
่ ามา
1. ลักษณะของตัวอย่ างที่นามาศึกษา ตัวอยางที
่
ศึกษำนั้นได้มำโดยกำรสุ่ มตัวอย่ำงหรื อไม่ หำกมีกำรสุ่ มตัวอย่ำงจึง
จะใช้สถิติแบบพำรำเมตริ ก (Parametric statistic) แต่ถำ้ ไม่มีกำรสุ่ ม
ตัวอย่ำงจะต้องใช้สถิติแบบนอน พำรำเมตริ ก (Nonparametric
statistic )
หลักการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล … ต่อ
2. ประเภทของข้ อมูล ลักษณะของขอมู
ั ไดมี
้ ลทีว่ ด
้
4 ประเภท สถิติบำงอย่ำงสำมำรถใช้ได้กบั ข้อมูลทุกระดับ แต่
บำงอย่ำงใช้ได้กบั ข้อมูลบำงระดับก่อนตัดสิ นใจว่ำจะใช้สถิติใดใน
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล ผูว้ จิ ยั ควรพิจำรณำว่ำ ข้อมูลที่รวบรวมมำได้
นั้นเป็ นข้อมูลระดับใดเสี ยก่อน เพื่อจะได้เลือกใช้สถิติได้ถูกต้อง
หลักการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล … ต่อ
3. จุดมุ่งหมายของการวิจยั ผูวิ
ั จะตองพิ
จารณาวา่
้ จย
้
วัตถุประสงค์ของกำรวิจยั นั้นมีกี่ตวั แปร มีจุดมุ่งหมำยเพื่ออธิบำย
ลักษณะ ข้อเท็จจริ งของตัวแปร หรื อต้องกำรเปรี ยบเทียบ หรื อ
ต้องกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร ต้องมีกำรทดสอบ
สมมุติฐำนอะไรบ้ำง จึงจะสำมำรถเลือกใช้สถิติได้ถูกต้อง
ตารางแสดงสถิติที่ใช้
• สถิติพนฐานส
ื้
าหรับข้อมูลระดับต่าง ๆ
ตารางแสดงสถิติที่ใช้ … ต่อ
• สถิติสาหรับทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
ตารางแสดงสถิติที่ใช้ … ต่อ
• สถิติสาหรับทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม
สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ขอ้ มูลในการวิจยั
สถิติพนื้ ฐาน ไดแก
่ แสดงความหมายทัว่ ไป
้ ่ สถิตวิ เิ คราะหเพื
์ อ
ของ ข้อมูล และใช้เป็ น พื้นฐำนในกำรคำนวณสถิติข้นั สูงต่อไป ซึ่งสถิติพ้นื ฐำนได้แก่
1.1 กำรแจกแจงควำมถี่ (frequency)
1.2 กำรวัดแนวโน้มเข้ำสู่ส่วนกลำง ได้แก่
- ค่ำเฉลี่ย (Mean)
- มัธยฐำน (Median)
- ฐำนนิยม (Mode)
1.3
กำรวัดกำรกระจำย ได้แก่
- พิสยั (Range)
- ควำมเบี่ยงเบน มำตรฐำน (Standard Deviation)
- ควำมแปรปรวน (Variance)
สถิตทิ ใี่ ช้ ในวิเคราะห์ ข้อมูลในการวิจัย … ต่ อ
สถิติสาหรับการทดสอบสมมติฐาน เป็ นสถิตท
ิ ใี่ ช้สาหรับ
กำรวิเครำะห์เพื่อทดสอบสมมติฐำนว่ำเป็ นจริ งตำมที่กำหนดไว้หรื อไม่
ได้แก่
1.1 กำรทดสอบควำมแตกต่ำงระหว่ำงกลุ่ม ได้แก่ t-test F-test และ
ไคสแควร์ (chi-square)
1.2 กำรหำควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ได้แก่ กำรหำ
สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ (correlation)
1.3 กำรพยำกรณ์ (regression)
การวิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยคอมพิวเตอร์
• โปรแกรมสำเร็ จรู ปที่ใช้ในกำรวิจยั มีหลำยโปรแกรม ที่นิยมใช้กนั
มำกในปั จจุบนั ได้แก่ โปรแกรม SPSS for Win (Statistical Package
for Social Sciences for windows)
• การเตรียมข้ อมูลสาหรับการวิเคราะห์ ทางสถิติ มีดงั ต่ อไปนี้
1. ตรวจสอบควำมสมบูรณ์ของข้อมูล
2. กำหนดหมำยเลขลงบนเครื่ องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูล
(Running Number)
การวิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยคอมพิวเตอร์ … ต่ อ
3. สร้ำงคู่มือลงรหัสของตัวแปรในเครื่ องมือ (code book )
4. พิจำรณำว่ำข้อมูลที่ได้มำเป็ นข้อมูลประเภทใด เพื่อจะได้
เลือกใช้สถิติสำหรับกำรวิจยั ได้อย่ำงเหมำะสม
การวิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยคอมพิวเตอร์ … ต่ อ
5. กำรเตรี ยมคำสัง่ คำสัง่ ที่จะต้องใช้ในกำรปฏิบตั ิกำรคอมพิวเตอร์ โดย
5.1 คำสัง่ รำยกำรข้อมูล (data list ) เป็ นกำรเขียนคำสัง่ ตำมคู่มือลง
รหัสที่กำหนด เพื่อให้เข้ำใจตรงกันระหว่ำงผูว้ ิจยั กับคอมพิวเตอร์
5.2 กำหนดสถิติที่ตอ้ งกำรใช้ ผูว้ ิจยั จะต้องกำหนดได้วำ่ ข้อมูลที่
บันทึกลงในคอมพิวเตอร์น้ นั ต้องกำรให้วิเครำะห์โดยใช้สถิติใด
6. ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลตำมคำสัง่ ที่
กำหนดไว้