กรณีการทดสอบกลุ่มตัวอย่างมากกว่าสองกลุ่มที่อิสระต่อกัน (Tests for

Download Report

Transcript กรณีการทดสอบกลุ่มตัวอย่างมากกว่าสองกลุ่มที่อิสระต่อกัน (Tests for

กรณีการทดสอบกลุ่มตัวอย่ างมากกว่ าสองกลุ่มทีอ่ สิ ระต่ อกัน
(Tests for Several Independent samples)
เป็ นการทดสอบเกีย่ วกับค่ าเฉลีย่ ของข้ อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่มขึน้ ไป โดย
ข้ อมูลแต่ ละกลุ่มสุ่ มอย่ างเป็ นอิสระต่ อกัน เช่ น
-ต้ องการทดสอบระดับความพึงพอใจของสิ นค้ าจาแนกตามอาชีพ
ผู้บริโภค
-คะแนนสอบวิชาภาษาเยอรมันของนักเรียน 3 กลุ่ม ทีม
่ าจากวิธีการสอน
3 วิธี
ในการทดสอบกรณีกลุ่มตัวอย่ างมากกว่ าสองกลุ่มทีอ่ สิ ระต่ อกันนี้ มีสถิติที่
เกีย่ วข้ องอยู่ 3 ตัวคือ
1. The Kruskal-Wallis One-Way Analysis of Variance Test
เป็ นวิธีการทดสอบกลุ่มตัวอย่ าง K กลุ่ม ทีไ่ ด้ จากประชากร K กลุ่ม ว่ ามี
ค่ าเฉลีย่ แตกต่ างกันหรือไม่
2. The Median Test for More Than Two Independent Sample
เป็ นการทดสอบความแตกต่ างทั้งค่าเฉลีย่ และการกระจายของข้ อมูล K ชุ ด
3. Jonckheere-Terpstra
เป็ นการทดสอบสมมติฐานเพือ่ หาข้ อสรุปว่ าค่ าเฉลีย่ ของประชากรที่
ศึกษาตั้งแต่ สามกลุ่มขึน้ ไปนั้นแตกต่ างกันหรือไม่ ในสมมติฐานจะ
เรียงลาดับความมากน้ อยของค่าเฉลีย่ ได้
ในทีน่ ีจ้ ะยกตัวอย่ างกรณีที่ใช้ สถิติทดสอบ
แบบ The Kruskal-Wallis One-Way Analysis of Variance Test
ตัวอย่าง
สมมติว่าผู้วจิ ัยต้ องการทดสอบราคาของสิ นค้ าชนิดหนึ่งที่ผลิตจากผู้ผลิตทีใ่ ช้ ยหี่ ้ อ
แตกต่ างกันจานวน 4 ยีห่ ้ อว่ ามีราคาจาหน่ ายตามร้ านค้ าต่ างๆ แตกต่ างกันหรือไม่ ที่
ระดับนัยสาคัญ 0.05 จึงทาการเก็บข้ อมูลของราคาสิ นค้ า 4 ยีห่ ้ อตามร้ านค้ าต่ างๆ
ได้ ข้อมูลดังนี้
จากตัวอย่ างมีการจาแนกสิ นค้ าเป็ นกลุ่มๆ ด้ วยยีห่ ้ อถือว่ าเป็ นการแบ่ งกลุ่ม
ด้ วยหลักเกณฑ์ หรือปัจจัยเดียวจึงใช้ วธิ ีการวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทาง
เดียวโดยมีสมมติฐานทางสถิติคอื
ต่ อไปเป็ นการทดสอบค่ าเฉลีย่ สาหรับหลายกลุ่มตัวอย่ างที่อสิ ระต่อกัน
ด้ วยโปรแกรม SPSS
ความหมายของผลลัพธ์ ที่ได้ จากโปรแกรม SPSS
เป็ นส่ วนที่แสดงค่ าสถิติ สาหรับทดสอบความแตกต่ างของค่ าเฉลีย่ ของ
อันดับในแต่ ละกลุ่มโดยค่ าสถิติของ Kruskal – Wallis ซึ่งแปลงมาอยู่
ในรูปของ Chi- Square และค่ าความน่ าจะเป็ น Asymp.Sig ภายใต้
สมมติฐานทางสถิติดังนี้
ความหมายของผลลัพธ์ ที่ได้ จากโปรแกรม SPSS
จะปฏิเสธสมมติฐาน เมื่อค่ า Asymp.Sig ที่โปรแกรมคานวณได้ มีค่า
น้ อยกว่ า ค่ า ทีผ่ ู้วจิ ัยกาหนด ถ้ ากาหนดระดับนัยสาคัญ เป็ น 0.05
จากผลลัพธ์ ที่ได้ พบว่ าค่าความน่ าจะเป็ น Asymp.Sig คือ 0.01 มีค่าน้ อย
กว่ า ค่ า ที่กาหนดไว้
ดังนั้นจึงตัดสิ นใจ ปฏิเสธสมมติฐาน
และสรุปผลได้ ว่า มีสินค้ าอย่ างน้ อย 2 ยีห่ ้ อที่มีราคาเฉลีย่ แตกต่ างกันที่
ระดับนัยสาคัญ 0.05
0
กรณีการทดสอบกลุ่มตัวอย่ างมากกว่ าสองกลุ่มทีส่ ั มพันธ์ กนั
(Tests for several Related samples)
เป็ นการทดสอบเกีย่ วกับค่ าเฉลีย่ ของข้ อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่มขึน้ ไป โดย
ข้ อมูลแต่ ละกลุ่มสั มพันธ์ กนั ได้ จากหน่ วยตัวอย่ างหน่ วยเดียวกัน เช่ น
- ต้ องการทดสอบว่ าผลการวัดปริมาณของซัลเฟอร์ มอน็อกไซด์ ใน
บรรยากาศด้ วยเครื่องมือทั้ง 3 แบบในแต่ ละวัน ให้ ผลแตกต่ างกัน
หรือไม่
ในการทดสอบกรณีกลุ่มตัวอย่ างมากกว่ าสองกลุ่มทีส่ ั มพันธ์ กนั นี้ มีสถิติที่
เกีย่ วข้ องอยู่ 3 ตัวคือ
1. Friedman test
เป็ นวิธีการทดสอบว่ ากลุ่มตัวอย่ างได้ รับการสุ่ มมาจากประชากร
เดียวกันหรือไม่ หรือมาจากกลุ่มประชากรทีม่ ีการแจกแจงเหมือนกัน
หรือไม่ ข้ อมูลต้ องอยู่ในมาตรา Ordinal ขึน้ ไป เช่ น
- กาหนดวิธีการสอนทีต่ ่ างกัน 4 วิธี แก่นักเรียนทีส่ ุ่ มมา 15 คน ปรากฏ
คะแนนผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนหลังเสร็จสิ้นการสอน เพือ่
ทดสอบว่ านักเรียนชอบวิธีการสอนทั้ง 4 วิธีต่างกันหรือไม่
2. Kendall’s W
การทดสอบนีใ้ ช้ ในการทดสอบความสอดคล้องของการให้
คะแนนข้ อมูลต้ องอยู่ในมาตรา Ordinal ขึน้ ไป เช่ น
- การทดสอบความสอดคล้องของการให้ คะแนนของ
คณะกรรมการในการประกวดต่ าง ๆ
3. Cochran’s Q
มีหลักการเหมือนของ Friedman test แต่ จะใช้ กบั ข้ อมูลชนิด
dichotomous(มีค่าเพียง 2 ค่ า) เช่ น
- ในการทดลองให้ นักเรียนหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาหนึ่งด้ วยวิธีที่
แตกต่ างกัน 3 วิธี โดยตรวจให้ คะแนนดังนี้ โดยสุ่ มนักเรียนมา 12
คน
- ให้ 1 คะแนน ถ้ าแก้โจทย์ ปัญหาได้
- ให้ 0 คะแนน ถ้ าแก้โจทย์ ปัญหาไม่ ได้
ในที่นีจ้ ะยกตัวอย่ างกรณีที่ใช้ สถิติทดสอบแบบ Friedman test
ตัวอย่าง
สมมติว่าผู้วจิ ัยต้ องการทดสอบความพึงพอใจของผู้ชมโทรทัศน์ ยหี่ ้ อต่ างๆ
4 ยีห่ ้ อ โดยทาการคัดเลือกผู้บริโภคจานวน 5 คนให้ ชมโทรทัศน์ ท้งั 4 ยีห่ ้ อ และให้
คะแนนในรู ปของความพึงพอใจทีม่ รี ะดับคะแนน 1 ถึง 5 ในแต่ ละด้ าน คือ ด้ าน
เสี ยง ภาพ รู ปทรง ราคา การบริการ รวมคะแนนทั้งหมด 10 คะแนน ทีร่ ะดับ
นัยสาคัญ 0.05 ได้ คะแนนรวมดังนี้
โดยมีสมมติฐานทางสถิติคอื
ต่ อไปเป็ นการทดสอบค่ าเฉลีย่ สาหรับหลายกลุ่มตัวอย่ างทีส่ ั มพันธ์ กนั
ด้ วยโปรแกรม SPSS
ความหมายของผลลัพธ์ ที่ได้ จากโปรแกรม SPSS
เป็ นส่ วนที่แสดงค่ าสถิติ สาหรับทดสอบความแตกต่ างของ
ค่ าเฉลีย่ ของอันดับในแต่ ละกลุ่มโดยค่าสถิติของ Friedman ภายใต้
สมมติฐานทางสถิติดังนี้
ความหมายของผลลัพธ์ ที่ได้ จากโปรแกรม SPSS
การทดสอบจะพิจารณาจากค่ าของ Friedman ทีอ่ ยู่ในรู ปของค่ าสถิติ
Chi- Square หรือค่ าความน่ าจะเป็ นในการยอมรับสมมติฐาน Asymp.Sig
จะปฏิเสธสมมติฐาน
เมือ่ ค่ า Asymp.Sig ทีโ่ ปรแกรมคานวณได้ มคี ่ า น้ อยกว่ า ค่ า ทีผ่ ้ ูวจิ ัยกาหนด
ถ้ ากาหนดระดับนัยสาคัญ เป็ น 0.05
ความหมายของผลลัพธ์ ที่ได้ จากโปรแกรม SPSS
จากผลลัพธ์ ที่ได้ พบว่ าค่าความน่ าจะเป็ น Asymp.Sig คือ 0.046
มีค่าน้ อยกว่ า ค่ า ที่กาหนดไว้
ดังนั้นจึงตัดสิ นใจ ปฏิเสธสมมติฐาน
และสรุปผลได้ ว่า ค่ าเฉลีย่ ระดับความพึงพอใจมีอย่ างน้ อย 2
ยีห่ ้ อ
แตกต่ างกันทีร่ ะดับนัยสาคัญ 0.05