a9610_2 - กรมการ จัดหา งาน

Download Report

Transcript a9610_2 - กรมการ จัดหา งาน

“การใช้ แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อ
และการเลือกอาชีพ”
วันพุธ ที่ 24 กันยายน 2557
เวลา 10.00-12.00
13.00-15.00
ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กิจกรรม/หัวข้ อ
เวลา 10.00 – 12.00 น. บรรยายความเป็ นมาของแบบวัดบุคลิกภาพ
เพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
-ขั้นตอนการสร้ าง
-วิธีการสร้ าง
-วิธีการทดสอบกลุ่มตัวอย่ าง
-การเก็บรวบรวมข้ อมูล และการพัฒนาคุณภาพ
กิจกรรม/หัวข้ อ
เวลา 13.00 – 15.00 น. ฝึ กปฏิบัติ
-การใช้ แบบวัด
-การรวมคะแนน การบันทึกคะแนน
-การวิเคราะห์ และการแปลผลคะแนนจาก
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือก
อาชีพมาใช้ ประกอบการแนะแนว/ให้ คาปรึกษา
ทางอาชีพ
กิจกรรม/หัวข้ อ
เวลา 10.00 – 12.00 น. บรรยายความเป็ นมาของแบบวัดบุคลิกภาพ
เพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
-ขั้นตอนการสร้ าง
-วิธีการสร้ าง
-วิธีการทดสอบกลุ่มตัวอย่ าง
-การเก็บรวบรวมข้ อมูล และการพัฒนาคุณภาพ
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อ
และการเลือกอาชีพ
เสนอต่ อ
กรมการจัดหางาน
โดย
อ.ชูเกียรติ จากใจชน และ อ.พลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ
คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์ หลุยส์
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
โดย
1) อ.ชู เกียรติ จากใจชน ประธานสาขาจิตวิทยา และประธานหลักสู ตร
จิตวิทยาการประกอบการธุรกิจนานาชาติ คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัย
เซนต์ หลุยส์
2) อ.พลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ หัวหน้ ากลุ่มวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและ
องค์ การ คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์ หลุยส์
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
• ผลงานร่ วมล่าสุ ดของ อ.ชู เกียรติ จากใจชน และ อ.พลภัทร เจริญเวียงเวช
กิจ คือ
• 1) แบบทดสอบวัดความซื่อสั ตย์ (Integrity Test) [Version1:2012] สาหรับ
ใช้ ในการคัดเลือกบุคลากร/งานทรัพยากรมนุษย์ องค์ การทีน่ าผลงานนีไ้ ปใช้
กับบริษัทในเครือ คือ บริษัท สหพัฒนพิบูล จากัด (มหาชน) และเมื่อไม่
นานมานีท้ างบริษัท สยามกลการ จากัด ได้ ให้ ความสนใจและอยู่ในระหว่ าง
การติดต่ อหารือแลกเปลีย่ นทัศนะ
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
• ผลงานร่ วมล่าสุ ดของ อ.ชู เกียรติ จากใจชน และ อ.พลภัทร เจริญเวียงเวช
กิจ คือ
• 2) แบบวัดสมรรถนะในงาน ด้ านการบริหารงานขาย และการจัดการธุรกิจ
• 3) แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
• ช่ วงก่อนหน้ านี้พฒ
ั นาขึ้นสาหรั บใช้ ในภาคธุรกิจเอกชน วัดครอบคลมุ เฉพาะ
6 กล่ มุ บุคลิกภาพ (Holland’s Six Vocational Personality Types) เท่ านั้น
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
(SLC.LIBARTS.I/O.INVENTORY7105[VERSION1:2013]
• (ฉบับของวิทยาลัยเซนต์ หลุยส์ )
• ฐานคติ (Basic Assumptions) ในการสร้ างแบบสอบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การตัดสิ นใจ
ในการเลือกศึกษาต่ อและประกอบอาชีพ (SLC.LIBARTS.I/O.INVENT7105
[VERSION1:2013]
• 1) อาศัยพืน้ ฐานทฤษฎีการเลือกอาชีพของ ฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of
Vocational Choice) ประกอบด้ วยบุคลิกภาพ 6 กลุ่ม (Holland’s Six Vocational
Personality Types) แต่ ใช้ หลักการ Radical Thinking ในการสร้ างเครื่องมือ
ความสนใจ (Interests)
กิจกรรม (Activities)
6 กลุ่มบุคลิกภาพ
(Holland’s Six Vocational
Personality Types)
6 กลุ่มบุคลิกภาพ
(Holland’s Six Vocational
Personality Types)
 ได้ แก่
 1) กลุ่ม R คือ บุคคลชอบเกีย่ วข้ องกับสิ่ งที่เป็ นรู ปธรรม (Realistic Type)
 2) กลุ่ม I คือ บุคคลที่ชอบใช้ ความคิดแก้ ปัญหา (Investigative Type)
 3) กลุ่ม C คือ บุคคลที่ชอบทาตามระเบียบแบบแผน (Conventional Type)
 4) กลุ่ม S คือ บุคคลที่ชอบสั งคมกับบุคคลอืน่ (Social Type)
 5) กลุ่ม E คือ บุคคลที่มีความทะเยอทะยาน ชอบมีอานาจ (Enterprising Type)
 6) กลุ่ม A คือ บุคคลที่ชอบศิลปะ ความงาม (Artistic Type)
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
(SLC.LIBARTS.I/O.INVENT7105[VERSION1:2013]
• 2) อาศัยพืน้ ฐานจากนโยบายกระทรวงแรงงาน
•
จากนโยบายรัฐบาลนายกรัฐมนตรี (นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร) ที่
ได้ แถลงต่ อรัฐสภาเมื่อวันที่ 23 – 24 สิ งหาคม 2554 ในส่ วนที่เกีย่ วข้ อง
กับภารกิจของกระทรวงแรงงาน จึงขอมอบให้ หน่ วยงานในสั งกัด
กระทรวงแรงงานนาไปปฏิบัติในประเด็น ต่ าง ๆ ดังนีไ้ ด้ แก่
• ข้ อ 2. พัฒนาระบบข้ อมูลข่ าวสารและการบริหารจัดการด้ านแรงงานเพือ่
การมีงานทา โดยมุ่งเน้ นดาเนินการใน 6 เรื่อง (4) ส่ งเสริ มการประกอบ
อาชีพอิสระให้ แก่ผ้ สู นใจ*** รวมทั้งประชาชนกลุ่มพิเศษ เช่ น ผู้ต้องขัง
ทีก่ าลังจะพ้นโทษ เพือ่ ให้ สามารถกลับมาใช้ ชีวติ ในสั งคมได้ อย่ างปกติ
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือกอาชีพ
(SLC.LIBARTS.I/O.INVENT7105[VERSION1:2013]
• 2) อาศัยพืน้ ฐานจาก นโยบายกระทรวงแรงงาน
• ข้ อ 7. เตรียมการในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้ องด้ านแรงงานเพือ่ รองรับการเข้ าร่ วมประชาคม
อาเซียน โดยมุ่งเน้ นดาเนินการใน 4 เรื่อง คือ
• (1) ปรับปรุ งกฎหมาย กฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วข้ องให้ สอดคล้ องกับแนวทางของประชาคม
อาเซียน
• (2) พัฒนาระบบการบริหารจัดการและการให้ บริการด้ านแรงงานให้ เป็ นมาตรฐาน
อาเซียน
• (3) ประชาสัมพันธ์ ให้ ความร้ ูเพือ่ สร้ างความตื่นตัวแก่ภาคแรงงาน*** ซึ่งต้ องเร่ ง
ดาเนินการ และ
• (4) ดาเนินการในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการกาหนดมาตรฐานแรงงานกลางอาเซี ยน
ทักษะสาคัญศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะด้ านดิจิตอล
และนวัตกรรม
-ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ และ -การรู้ เท่ าทันข้ อมูลข่ าวสาร
การแก้ปัญหา
-ความรู้ เรื่องการใช้ สื่อ
-ความคิดสร้ างสรรค์ และ
-ความสามารถด้ านเทคโนโลยี
นวัตกรรม
สารสนเทศ
-การสื่ อสาร
-การสร้ างความร่ วมมือ***
ทักษะอาชีพและชีวติ
-ความยืดหยุ่นและการ
ปรับตัว***
-ความคิดริเริ่มและการเรียนรู้
โดยนาตนเอง
-การปฏิสัมพันธ์ ข้ามสั งคม
และวัฒนธรรม***
-ความสามารถในการผลิต
-ความเป็ นผู้นาและความ
รับผิดชอบ
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การตัดสิ นใจในการเลือกศึกษาต่ อและประกอบอาชีพ
(SLC.LIBARTS.I/O.INVENTORY10150[VERSION2:2013](Phase III)
การทางานเป็ นทีม
(Teamwork)
Realistic Type
(15 items)
Investigative Type
(15 items)
Conventional Type
(15 items)
ความสามารถในการปรับตัว
(Adaptability)
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่
การตัดสิ นใจ
ในการเลือกศึกษาต่ อและ
ประกอบอาชีพ ในกลุ่ม
ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC)
Entrepreneurial
Characteristics
(15 items)
ความตระหนักในวัฒนธรรมข้ าม
ชาติ (Cross-cultural Awareness)
Social Type
(15 items)
Enterprising Type
(15 items)
Artistic Type
(15 items)
คุณภาพเครื่องมือของแบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือก
อาชีพ SLC.LIBARTS.I/O.INVENT7105[VERSION1:2013]
• จุดเด่ นของแบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การตัดสิ นใจในการเลือกศึกษาต่ อและประกอบอาชีพ
ฉบับของวิทยาลัยเซนต์ หลุยส์
• 1) ผ่ านผู้เชี่ยวชาญด้ านจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์ การ นักบริหารทรัพยากรมนุษย์
จานวน 15 ท่ าน ตรวจสอบความตรง (Validity) หรือค่ าอัตราส่ วนของความตรงตาม
เนือ้ หา (Content Validity Ratio) โดยค่ าตา่ สุ ด ต้ องมากกว่ าหรือเท่ ากับ .49 (> 12 คน)
หรือค่ าดัชนีความสอดคล้ อง (Index of Congruence) หรือ IOC เพือ่ ตรวจสอบความตรง
เชิงโครงสร้ างตามทฤษฎี (Construct Validity) โดยมีค่า IOCไม่ ต่ากว่ า 0.8 (ต้ องผ่าน
เกณฑ์ ข้ันต่า 12 คน จาก 15 คน)
• 2) ทวนสอบความตรงเชิงสภาพ (Concurrent Validity) จากผู้ศึกษาต่ อในศาสตร์
วิชาชีพตามทฤษฎีในแต่ ละกลุ่ม และตัวอย่ างจริงจากกลุ่มอาชีพต่ างๆ
คุณภาพเครื่องมือของแบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือก
อาชีพ (SLC.LIBARTS.I/O.INVENT7105[VERSION1:2013]
• 3) หาค่ าความเทีย่ ง (Reliability) ด้ วยการวัดความคงทีภ่ ายใน (Internal Consistency)
และด้ วยวิธีหาค่ า Coefficient Alpha Coefficient โดยมีค่าไม่ ต่ากว่ า 0.8 และ
บุคลิกภาพรายกลุ่มย่ อย (Subscales) ในแต่ ละกลุ่มไม่ ตา่ กว่ า 0.75
• 4) ทวนสอบความเทีย่ งแบบคู่ขนาน (Parallel Reliability) กับแบบวัดความสนใจของ
Holland’s Theory โดยใช้ กลุ่มตัวอย่ าง 35 คน
คุณภาพเครื่องมือของแบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือก
อาชีพ (SLC.LIBARTS.I/O.INVENT7105[VERSION1:2013]
 5) ในการสร้ างและพัฒนาคุณภาพเครื่องมือฉบับนี้ ดาเนินการโดยอาจารย์ และนักศึกษา
จิตวิทยาผู้ผ่านการเรียนรายวิชาการทดสอบและการวัดผลทางจิตวิทยา ซึ่งมีความรู้ และ
ประสบการณ์ ตรงจากการพัฒนาแบบสอบวัดความซื่อสั ตย์และแบบวัดอืน่ ๆ ไม่ต่า 3 ครั้ง
ในสภาพจริงภาคสนาม
 6) กลุ่มตัวอย่ างทีใ่ ช้ ทดลองเครื่องมือ (Try out) มีคุณลักษณะเป็ นตัวแทนวัยที่กาลัง
ศึกษาต่ อในระดับ ม.ปลาย ปวช. ปวส. และนักศึกษาระดับอุดมศึกษา บัณฑิต ตลอดจน
ผู้ใช้ แรงงานมีอายุ ตั้งแต่ 15 -60 ปี เป็ นส่ วนใหญ่
 7) การแปลผล มีความยืดหยุ่น ละเอียดกว่ าเดิม ให้ มุมมองในการแนะแนวทาง
การศึกษาต่ อและการประกอบอาชีพได้ ดี มีท้งั ความตรงเชิงสภาพ (Concurrent)
เพราะเก็บข้ อมูลจากสภาพจริง จากผลสั มฤทธิ์ทางเรียน ความถนัด และจากกลุ่ม ทีม่ ี
อาชีพอยู่แล้ วมาเปรียบเทียบกับคะแนน
ลักษณะของคน รุ่นของคนในทีท่ างาน
• รุ่นของคนแตกต่ างกัน
• มีความต้ องการ ความสนใจในอาชีพแตกต่ างกัน
รุ่นของคน
คุณลักษณะของบุคลากรทีแ่ ตกต่ างกัน
• กลุ่มสหัสวรรษ
(Millennium)
• อายุ 0 – 20 ปี
• (23-26 ปี )
• ผู้ใช้ จ่ายเงินอย่ างอิสระ
• เป็ นผู้ทหี่ ่ วงใยปัญหาใหญ่ (ระดับโลก) Ex ปัญหา
โลกร้ อน
• ยอมรับว่ า เรื่องครอบครัวไม่ ใช่ เรื่องประเพณีนิยม
อีกต่ อไป
• ยอมรับการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ ว่ าเป็ นเรื่องปกติ
• เข้ าใจความจาเป็ นในการฝึ กอบรมเพือ่ รักษา
ความสามารถในการทางาน
• เป็ นพวกทีม่ คี วามรู้ ในเรื่องโลกของ Cyber และ
การสื่ อสารด้ าน e-communication
• มีความคาดหวังสู ง ชอบทางานทีท่ ้ าทาย
รุ่นของคน Gen Xers
• Generation X
• อายุ 28 – 40
กลางๆ
• (44-46 ปี )
• มีประสบการณ์ และเชื่อมั่นในการใช้ เทคโนโลยี
ใหม่ ๆ
• ชอบแสดงความแตกต่ าง รักอิสระ ไม่ พงึ่ พาใคร
• มีลกั ษณะความเป็ นผู้ประกอบการ
• ยืดหยุ่น
• ชอบทางานเป็ นทีม
• คาดหวังข้ อมูลย้ อนกลับจากผู้ร่วมงานรุ่ นอาวุโส
• รู้สึกอึดอัดเมื่อต้ องเผชิญกับผู้มีอานาจ
• ไม่ ชอบตรวจสอบความโปร่ งใสของผู้อนื่
• ชอบแสดงความห่ วงใยในลักษณะส่ วนตัวในที่
ทางาน
Baby Boomers
• อายุ 48 – 58
• เป็ นรุ่นของคนทีเ่ กิด
มากกว่ าปกติช่วง
หลังสงครามโลกครั้ง
ที่ 2
• มีลกั ษณะเป็ นพวกนักอุดมคติ
• ชอบการแข่ งขัน
• ชอบตั้งคาถาม มีความสงสั ยใน
เรื่องอานาจหน้ าที่
Traditionalist
• กลุ่มอนุรักษ์ นิยม
• มีอายุปลาย 50 ถึง
อายุ 80 ต้ น
• พวกรักชาติ พร้ อมปกป้ องชาติ
• จงรักภักดี
• พวกอนุรักษ์ นิยม เน้ นการเงินของ
ภาครัฐเป็ นสาคัญ
• มีความสั ตย์ ซื่อต่ อสถาบัน
• ต้ องการอุทศิ ประสบการณ์ ของ
ตนเองให้ เกิดคุณค่ าคุณประโยชน์
• เคารพนับถือคนรุ่นเก่ าๆ ผู้นารุ่น
ก่ อนๆ
ทฤษฎีวเิ คราะห์ คุณลักษณะและองค์ ประกอบของบุคคล
(Trait-and-Factor Theory) (ต่ อ)
คุณลักษณะและองค์ ประกอบของบุคคล
มีอทิ ธิพลต่ อการเลือกอาชีพ คือ
• ความถนัดและสติปัญญา
• ความสนใจ, ค่ านิยม
• บุคคลแวดล้อม
• ผลสั มฤทธิ์ในการเรียน
• ครอบครัว อาชีพของพ่อแม่
• บุคลิกภาพและการปรับตัว,
• ถิ่นทีอ่ ยู่และค่ านิยมในชุ มชน
คาถามยอดนิยมของผู้มาขอรับบริการการแนะแนวอาชีพ
กิจกรรม/หัวข้ อ
เวลา 13.00 – 15.00 น. ฝึ กปฏิบัติ
-การใช้ แบบวัด
-การรวมคะแนน การบันทึกคะแนน
-การวิเคราะห์ และการแปลผลคะแนนจาก
แบบวัดบุคลิกภาพเพือ่ การศึกษาต่ อและการเลือก
อาชีพมาใช้ ประกอบการแนะแนว/ให้ คาปรึกษา
ทางอาชีพ