สไลด์ประกอบการบรรยายของ กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์

Download Report

Transcript สไลด์ประกอบการบรรยายของ กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์

“ข้อสังเกตบางประการตาม ร่างพระราชบัญญัติ
ป้องกัน และปราบปราม
สิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...”
เวทีว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เนต และการเตรียมตัวขององค์กรประชาสังคมในประเทศไทย
วันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๓๐ น.
ณ ห้องประชุมจุฬาเกษม อาคารชินโสภณพนิช มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
โดย กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์
อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
เหตุผลและความเป็ นมา



กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ได้ทาการยกร่าง พ.ร.บ. ป้ องกันและปราบปราม
สิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ... โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อป้ องกันและปราบปรามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่
จะกระตุน้ ส่งเสริม หรือยัว่ ยุให้เกิดพฤติกรรมอันตราย ได้แก่
๑) การกระทาวิปริตทางเพศ
๒) ความสัมพันธ์หรือการกระทาทางเพศกับเด็ก
๓) การกระทาทารุณกรรมต่อเด็ก
๔) การฆ่าตัวตายของเด็กหรือเป็ นหมูค่ ณะ
๕) การใช้ยาเสพติด และ
๖) การกระทาความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฆ่าผูอ้ นื่ หรือ
ทาร้ายร่างกายโดยทรมานหรือโดยกระทาทารุณโหดร้าย
กาหนดให้มีมาตรการต่างๆ ทีท่ าให้เจ้าหน้าทีส่ ามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการกระทาความผิดและ
ครอบคลุมรูปแบบของ การกระทาความผิดได้มากขึ้น ทัง้ การเข้าตรวจค้น ยึด หรืออายัดสิง่ ยัว่ ยุ
พฤติกรรมอันตรายหรือพยานหลักฐานทีเ่ กี่ยวข้อง ซึง่ จะกาหนดให้เป็ นความผิดมูลฐานตามกฎหมาย ว่า
ด้วยการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ให้นาเงินค่าปรับและเงินทีร่ บิ ได้มอบให้เป็ นกองทุนคุม้ ครองเด็ก ร้อยละ ๖๐ และกองทุนส่งเสริมการจัด
สวัสดิการสังคม ร้อยละ ๔๐
เหตุผลและความเป็ นมา
เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้
เพื่อปกป้ องและคุม้ ครองเด็ก
และเยาวชนจากสือ่ หรือวัตถุทจี่ ะกระตุน้ ส่งเสริม หรือยัว่ ยุ ให้
เกิดพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมกับวัย ซึง่ เป็ นอันตรายต่อเด็กและ
เยาวชน
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในการ
เห็นชอบร่างพระราชบัญญัตฉิ บับทีส่ านักงานคณะกรรมการ
กฤษฏีกาได้ตรวจพิจารณาเสร็จแล้ว
เหตุผลและความจาเป็ นในการเสนอร่างพระราชบัญญัติ
 เนื่องด้วยกฎหมายอาญาทีเ่ กี่ยวกับวัตถุลามกในปั จจุบน
ั ไม่สามารถบังคับใช้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ ไม่มีกฎหมายกาหนดมาตรการในการป้ องกันและ
ปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับวัตถุลามก เช่น สือ่ ทีม่ ีการแสดงกิจกรรม
ทีว่ ปิ ริตทางเพศและสือ่ ลามกทีเ่ กี่ยวกับเด็ก ซึง่ พิธีสารเลือกรับต่อท้ายอนุสญั ญา
ว่าด้วยสิทธิเด็ก กาหนดให้รฐั ภาคีตอ้ งบัญญัติให้เป็ นความผิดอาญาและมี
มาตรการป้องกันและปราบปรามที่เหมาะสมไว้ดว้ ย ประกอบกับยังมีสอื่ ทีส่ ง่ เสริม
หรือยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายทีร่ า้ ยแรงอืน่ ๆ เช่น การใช้ยาเสพติด การฆ่าตัวตาย
หรือการกระทาทารุณกรรมต่อเด็ก ซึง่ ต้องปราบปรามไปพร้อมกันด้วย ดังนัน้
เพื่อให้การปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายมีประสิทธิภาพ สมควรมี
กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย
จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี
สาระสาคัญของร่ างพระราชบัญญัติ
 กำหนดควำมหมำยของสิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำย ซึ่ งรวมถึง
สิ่ ง ยัว่ ยุที่น่ำจะก่อให้เกิดกำรกระทำวิปริ ตทำงเพศ ควำมสัมพันธ์
หรื อกำรกระทำทำงเพศกับเด็ก กำรกระทำทำรุ ณกรรมต่อเด็ก กำร
ฆ่ำตัวตำยของเด็กหรื อเป็ นหมู่คณะ กำรใช้ยำเสพติด กำรกระทำ
ควำมผิดต่อชีวิตและควำมผิดต่อทรัพย์ และขยำยควำมหมำยของ
คำว่ำ “เด็ก” ให้ครอบคลุมถึงตัวแสดงที่ปรำกฏอยูใ่ นสิ่ งยัว่ ยุ
พฤติกรรมอันตรำยที่มีเนื้อหำหรื อลักษณะที่ทำให้เข้ำใจได้วำ่ เป็ น
เด็กด้วย (ร่ ำงมำตรำ ๓)
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ
่ คง
 กาหนดให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน
ของมนุษย์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
ยุตธิ รรม และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม ซึง่ เป็ นรัฐมนตรีของ
กระทรวงทีม่ ีภารกิจเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี
เป็ นรัฐมนตรีผรู ้ กั ษาการตามกฎหมาย และให้รฐั มนตรีแต่ละกระทรวง
มีอานาจหน้าทีต่ ามทีก่ าหนดเฉพาะในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับอานาจหน้าที่
ของตนเท่านัน้ (ร่างมาตรา ๕)
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ

หมวดคณะกรรมการ กาหนดให้มีคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรม
อันตราย ประกอบด้วย





(๑) รองนายกรัฐมนตรีทน่ี ายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็ นประธานกรรมการ
(๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์เป็ นรองประธานกรรมการ
(๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผูบ้ ญั ชาการตารวจ
แห่งชาติ เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม และอัยการสูงสุด
(๔) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒซิ งึ่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
แต่งตัง้ จานวนห้าคน โดยต้องแต่งตัง้ จากบุคคลทีม่ ีความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์
ด้านจิตวิทยา จิตเวช เด็กและเยาวชน สือ่ สารมวลชน และสังคมวิทยา ด้านละหนึ่งคน ทัง้ นี้
ให้มีกรรมการผูท้ รงคุณวุฒเิ ป็ นสตรีไม่นอ้ ยกว่าสองคน
(๕) ผูอ้ านวยการสานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ งู อายุ เป็ น
กรรมการและเลขานุการ และคณะกรรมการจะแต่งตัง้ ข้าราชการในสานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและ
พิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ งู อายุ ไม่เกินสองคนเป็ นผูช้ ว่ ยเลขานุการก็ได้ (ร่างมาตรา ๖)
“ข้อสังเกตบางประการตาม ร่างพระราชบัญญัติ
ป้องกัน และปราบปราม
สิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...”
เวทีว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เนต และการเตรียมตัวขององค์กรประชาสังคมในประเทศไทย
วันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๓๐ น.
ณ ห้องประชุมจุฬาเกษม อาคารชินโสภณพนิช มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
โดย กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์
อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
สิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำย

สิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำย หมำยควำมว่ำ เอกสำร ภำพ สิ่ งพิมพ์ รู ปรอย เครื่ องหมำย รู ป
ถ่ำย ภำพยนตร์ เสี ยงหรื อถ้อยคำ ข้อควำม ข้อมูล หรื อสิ่ งใดๆที่กระตุน้ ส่ งเสริ ม หรื อยัว่ ยุ
โดยประกำรที่น่ำจะก่อให้เกิด
 ๑) กำรกระทำวิปริ ตทำงเพศ
 ๒) ควำมสัมพันธ์หรื อกำรกระทำทำงเพศกับเด็ก
 ๓) กำรกระทำทำรุ ณกรรมต่อเด็ก
 ๔) กำรฆ่ำตัวตำยของเด็กหรื อเป็ นหมู่คณะ
 ๕) กำรใช้ยำเสพติด และ
 ๖) กำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับกำรก่อกำรร้ำย ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฆ่ำผูอ้ ื่น
หรื อ ทำร้ำยร่ ำงกำยโดยทรมำนหรื อโดยกระทำทำรุ ณโหดร้ำย
สิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำย
ภำพยนตร์
ดนตรี
กำร์ ตูน
เกมส์
วรรณกรรม
ภำพยนตร์
ภำพยนตร์
ภำพยนตร์
ดนตรี
 ฉันเหมือนคนไม่มีกำลัง
และหมดแรงจะยืนจะลุกจะเดินไป
ฉันเหมือนคนกำลังจะตำย
ที่ขำดอำกำศจะหำยใจ
ฉันเหมือนคนที่โดนเธอแทงข้ำงหลัง
แล้วมันทะลุถึงหัวใจ
เธอจะให้ฉนั มีชีวติ ต่อไปอย่ำงไร
 ไม่มีอีกแล้ว กับเธอ
ไม่มีเหลือสักอย่ำง
... อยำกตำย
- แทงข้ำงหลังทะลุถึงหัวใจ -
.
กำร์ตูน
เกมส์
วรรณกรรม
 ...“อย่ำงที่ต่ำงประเทศที่มีเด็กฟั งเพลงแล้วฆ่ำตัวตำย เขำก็จะถำมว่ำ
แล้วมันเป็ นควำมผิดของศิลปิ นหรื อเปล่ำที่จะต้องรับผิดชอบต่อ
สิ่ งนั้น ผมถือว่ำมันก็ไม่ใช่เป็ นควำมผิดของศิลปิ น เพรำะหน้ำที่
ของคนทำเพลงก็คือ คนเขียนเพลง ส่ วนหน้ำที่คนฟังคือฟังแล้ว
นำไปตีควำม นำไปใช้ยงั ไง อันนี้เป็ นเรื่ องสิ ทธิส่วนบุคคลของคน
ฟังแล้ว”...
ตุล ไวทูรเกียรติ
สมำชิกวง "อพำร์ทเมนท์คุณป้ ำ
http://www.dek-d.com/board/view/908861/
ประเด็นที่ผรู ้ ่ ำงกฎหมำยควรพิจำรณำ
วิจำรณญำณของผูร้ ับสื่ อ
ควำมเท่ำทันสื่ อ
กำรอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว
กฎหมำยควรถูกใช้ในฐำนะเป็ นเพียงกลไก
หนึ่ง แต่ไม่ใช่เป็ นมำตรกำรหลัก
สาระสาคัญของร่ างพระราชบัญญัติ
หมวด ๒ พนักงำนเจ้ำหน้ำที่
 พนักงำนเจ้ำหน้ำที่มีอำนำจในกำรเข้ำไปตรวจค้นในสถำนที่ หรื อเคหสถำนของบุคคล
ค้นบุคคลหรื อยำนพำหนะ เมื่อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ำมีสิ่งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำยหรื อ
ทรัพย์สินที่ได้ใช้หรื อจะใช้ในกำรกระทำควำมผิดซึ่งอำจใช้เป็ นพยำนหลักฐำนได้ (ร่ ำง
มำตรำ ๑๔ (๑) และ (๒))
 ยึดหรื ออำยัดสิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำยหรื อพยำนหลักฐำนที่เกี่ยวข้องกับกำรกระทำ
ควำมผิด (ร่ ำงมำตรำ ๑๔ (๓))
 กำรใช้อำนำจในกำรเข้ำไปตรวจค้นนั้น พนักงำนเจ้ำหน้ำที่จะต้องขอออกหมำยค้นก่อน
ดำเนินกำร เว้ นแต่ จะมีเหตุอนั ควรเชื่อว่ าหากเนิ่นช้ ากว่ าจะเอาหมายค้ นมาได้ สิ่ งยัว่ ยุ
พฤติกรรมอันตรายหรือพยานหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้ องกับการกระทาความผิดจะถูกยักย้ าย
ซุกซ่ อน ทาลาย หรือทาให้ เปลีย่ นสภาพไปจากเดิม และต้ องบันทึกรายงานผลต่ อศาลทีม่ ี
เขตอานาจภายหลังการดาเนินการดังกล่ าว (ร่ างมาตรา ๑๔ วรรค ๒)

สาระสาคัญของร่ างพระราชบัญญัติ
 พนักงำนเจ้ำหน้ำที่มีอำนำจในกำรเข้ าถึงข้อมูลเกี่ยวกับกำรกระทำ
ควำมผิดในพัสดุภณ
ั ฑ์ จดหมำย ตูไ้ ปรษณี ยภัณฑ์ ระบบ
คอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจรำจรทำงคอมพิวเตอร์
หรื อจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อปรำกฏหลักฐำนอันควรเชื่ อได้วำ่
จะได้ขอ้ มูลที่เกี่ยวกับกำรกระทำควำมผิด ทั้งนี้ จะต้องได้รับ
อนุญำตจำกศำลและต้องรำยงำนผลกำรดำเนินกำรให้ศำลทรำบ
ด้วย (ร่ ำงมำตรำ ๑๖)
สาระสาคัญของร่ างพระราชบัญญัติ
หมวด ๓ ควำมผิดและบทกำหนดโทษ
 ผูใ้ ห้บริ กำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ที่รู้วำ่ มีสิ่งยัว่ ยุ
พฤติกรรมอันตรำยในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยูใ่ นควำมควบคุมของตน แต่มิได้จดั กำร
ถอนหรื อกำจัดออกในทันที ต้องรับโทษตำมอัตรำโทษที่กำหนด (ร่ ำงมำตรำ ๒๒)
 ผูก
้ ระทำควำมผิดเกี่ยวกับสิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำย
ตำมพระรำชบัญญัติน้ ี แม้กระทำนอกรำชอำณำจักร ต้องรับโทษในรำชอำณำจักรด้วย
(ร่ ำงมำตรำ ๒๔)
 กำหนดให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ตำมพระรำชบัญญัติน้ ี แจ้งให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ผม
ู้ ีอำนำจ
ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรโรงแรม โรงภำพยนตร์ หรื อสถำนบริ กำร ดำเนินกำรเพิกถอน
หรื อพักใช้ใบอนุญำตผูป้ ระกอบกิจกำรซึ่งได้รับอนุญำตตำมกฎหมำยนั้น หำกปรำกฏ
หลักฐำนว่ำได้รู้เห็นเป็ นใจให้มีกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับสิ่ งยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรำยใน
สถำนประกอบกำรของตน (ร่ ำงมำตรำ ๒๕)

“ข้อสังเกตบางประการตาม ร่างพระราชบัญญัติ
ป้องกัน และปราบปราม
สิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...”
เวทีว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เนต และการเตรียมตัวขององค์กรประชาสังคมในประเทศไทย
วันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๓๐ น.
ณ ห้องประชุมจุฬาเกษม อาคารชินโสภณพนิช มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
โดย กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์
อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี