ปัญหาการตีความ ร่างพ.ร.บ. พ.ศ.

Download Report

Transcript ปัญหาการตีความ ร่างพ.ร.บ. พ.ศ.

เสวนาวิชาการ
เรือ่ ง
“ปั ญหาการตีความ ร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...”
วันอังคารที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมชัน้ ๗ อาคารสานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
จัดโดย หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
เหตุผลและความเป็ นมา


กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ได้ทาการยกร่าง พ.ร.บ. ป้ องกันและปราบปราม
สิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ... โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อป้ องกันและปราบปรามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่
จะกระตุน้ ส่งเสริม หรือยัว่ ยุให้เกิดพฤติกรรมอันตราย ได้แก่
๑) การกระทาวิปริตทางเพศ
๒) ความสัมพันธ์หรือการกระทาทางเพศกับเด็ก
๓) การกระทาทารุณกรรมต่อเด็ก
๔) การฆ่าตัวตายของเด็กหรือเป็ นหมูค่ ณะ
๕) การใช้ยาเสพติด และ
๖) การกระทาความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพยื ฆ่าผูอ้ นื่ หรือ
ทาร้ายร่างกายโดยทรมานหรือโดยกระทาทารุณโหดร้าย
กาหนดให้มีมาตรการต่างๆ ทีท่ าให้สามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการกระทาความผิดและครอบคลุม
รูปแบบของ การกระทาความผิดได้มากขึ้น ทัง้ การเข้าตรวจค้น ยึด หรืออายัดสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรม
อันตรายหรือพยานหลักฐานทีเ่ กี่ยวข้อง ซึง่ จะกาหนดให้เป็ นความผิดมูลฐานตามกฏหมาย ว่าด้วยการ
ป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือให้นาเงินค่าปรับและเงินทีร่ บิ ได้มอบให้เป็ นกองทุนคุม้ ครอง
เด็ก ร้อยละ ๖๐ และกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ร้อยละ ๔๐
เหตุผลและความเป็ นมา
เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้
เพื่อปกป้ องและคุม้ ครองเด็ก
และเยาวชนจากสือ่ หรือวัตถุทจี่ ะกระตุน้ ส่งเสริม หรือยัว่ ยุ ให้
เกิดพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมกับวัย ซึง่ เป็ นอันตรายต่อเด็กและ
เยาวชน
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในการ
เห็นชอบร่างพระราชบัญญัตฉิ บับทีส่ านักงานคณะกรรมการ
กฤษฏีกาได้ตรวจพิจารณาเสร็จแล้ว
เหตุผลและความจาเป็ นในการเสนอร่างพระราชบัญญัติ
 เนื่องด้วยกฎหมายอาญาทีเ่ กี่ยวกับวัตถุลามกในปั จจุบน
ั ไม่สามารถบังคับใช้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ ไม่มีกฎหมายกาหนดมาตรการในการป้ องกันและ
ปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับวัตถุลามก เช่น สือ่ ทีม่ ีการแสดงกิจกรรม
ทีว่ ปิ ริตทางเพศและสือ่ ลามกทีเ่ กี่ยวกับเด็ก ซึง่ พิธีสารเลือกรับต่อท้ายอนุสญั ญา
ว่าด้วยสิทธิเด็ก กาหนดให้รฐั ภาคีตอ้ งบัญญัติให้เป็ นความผิดอาญาและมี
มาตรการป้ องกันและปราบปรามทีเ่ หมาะสมไว้ดว้ ย ประกอบกับยังมีสอื่ ทีส่ ง่ เสริม
หรือยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายทีร่ า้ ยแรงอืน่ ๆ เช่น การใช้ยาเสพติด การฆ่าตัวตาย
หรือการกระทาทารุณกรรมต่อเด็ก ซึง่ ต้องปราบปรามไปพร้อมกันด้วย ดังนัน้
เพื่อให้การปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายมีประสิทธิภาพ สมควรมี
กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย
จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ
กาหนดความหมายของสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย ซึง่ รวมถึงสิง่ ยัว่ ยุท่ีน่าจะก่อให้เกิดการกระทา
วิปริตทางเพศ ความสัมพันธ์หรือการกระทาทางเพศกับเด็ก การกระทาทารุณกรรมต่ อเด็ก
การฆ่าตัวตายของเด็กหรือเป็ นหมู่คณะ การใช้ยาเสพติด การกระทาความผิดต่อชีวิตและ
ความผิดต่อทรัพย์ และขยายความหมายของคาว่า “เด็ก” ให้ครอบคลุมถึงตัวแสดงที่ปรากฏ
อยู่ในสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายที่มีเนื้อหาหรือลักษณะที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเป็ นเด็กด้วย
(ร่างมาตรา ๓)
 พระราชบัญญัตน
ิ ้ ีไม่กระทบกระเทือนถึงอานาจหน้าทีข่ องส่วนราชการหรือเจ้าหน้าทีอ่ น่ื ตาม
กฎหมายอืน่ ทีม่ ีลกั ษณะหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย และกาหนดให้
คณะรัฐมนตรีเป็ นผูม้ ีอานาจในการวินิจฉัยและการวางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบตั ริ าชการ
และการประสานงานระหว่างส่วนราชการหรือเจ้าหน้าทีต่ ามพระราชบัญญัตนิ ้ ีกบั ส่วนราชการ
หรือเจ้าหน้าทีต่ ามกฎหมายอืน่ (ร่างมาตรา ๔)

สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ
่ คง
 กาหนดให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน
ของมนุษย์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
ยุตธิ รรม และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม ซึง่ เป็ นรัฐมนตรีของ
กระทรวงทีม่ ีภารกิจเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี
เป็ นรัฐมนตรีผรู ้ กั ษาการตามกฎหมาย และให้รฐั มนตรีแต่ละกระทรวง
มีอานาจหน้าทีต่ ามทีก่ าหนดเฉพาะในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับอานาจหน้าที่
ของตนเท่านัน้ (ร่างมาตรา ๕)
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ

หมวดคณะกรรมการ กาหนดให้มีคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรม
อันตราย ประกอบด้วย





(๑) รองนายกรัฐมนตรีทน่ี ายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็ นประธานกรรมการ
(๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์เป็ นรองประธานกรรมการ
(๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผูบ้ ญั ชาการตารวจ
แห่งชาติ เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม และอัยการสูงสุด
(๔) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒซิ งึ่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
แต่งตัง้ จานวนห้าคน โดยต้องแต่งตัง้ จากบุคคลทีม่ ีความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์
ด้านจิตวิทยา จิตเวช เด็กและเยาวชน สือ่ สารมวลชน และสังคมวิทยา ด้านละหนึ่งคน ทัง้ นี้
ให้มีกรรมการผูท้ รงคุณวุฒเิ ป็ นสตรีไม่นอ้ ยกว่าสองคน
(๕) ผูอ้ านวยการสานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ งู อายุ เป็ น
กรรมการและเลขานุการ และคณะกรรมการจะแต่งตัง้ ข้าราชการในสานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและ
พิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ งู อายุ ไม่เกินสองคนเป็ นผูช้ ว่ ยเลขานุการก็ได้ (ร่างมาตรา ๖)
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ

หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่
่ ีอานาจในการเข้าไปตรวจค้นในสถานที่ หรือเคหสถานของบุคคล ค้นบุคคล
 พนักงานเจ้าหน้าทีม
หรือยานพาหนะ เมื่อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีสงิ่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายหรือทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้ใช้
หรือจะใช้ในการกระทาความผิดซึง่ อาจใช้เป็ นพยานหลักฐานได้ (ร่างมาตรา ๑๔ (๑) และ (๒))
 ยึดหรืออายัดสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายหรือพยานหลักฐานทีเ่ กี่ยวข้องกับการกระทาความผิด
(ร่างมาตรา ๑๔ (๓))
 การใช้อานาจในการเข้าไปตรวจค้นนัน
้ พนักงานเจ้าหน้าทีจ่ ะต้องขอออกหมายค้นก่อน
ดาเนินการ เว้นแต่จะมีเหตุอนั ควรเชือ่ ว่าหากเนิน่ ช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ สิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรม
อันตรายหรือพยานหลักฐานที่เกีย่ วข้องกับการกระทาความผิดจะถูกยักย้าย ซุกซ่อน ทาลาย
หรือทาให้เปลีย่ นสภาพไปจากเดิม และต้องบันทึกรายงานผลต่อศาลที่มีเขตอานาจภายหลัง
การดาเนินการดังกล่าว
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ
 การใช้อานาจเข้าทาการค้นโดยไม่มีหมายค้นและการเข้าค้นในเวลากลางคืนจะต้อง
เป็ นไปตามระเบียบทีร่ ฐั มนตรีกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ป้ องกันและปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย (ร่างมาตรา ๑๔)
่ วกับการกระทาความผิดในพัสดุ
 พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจในการเข้าถึงข้อมูลเกีย
ภัณฑ์ จดหมาย ตูไ้ ปรษณียภัณฑ์ ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูล
จราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อปรากฏหลักฐานอันควร
เชื่อได้ว่าจะได้ขอ้ มูลที่เกีย่ วกับการกระทาความผิด ทัง้ นี้ จะต้องได้รบั อนุญาตจาก
ศาลและต้องรายงานผลการดาเนินการให้ศาลทราบด้วย (ร่างมาตรา ๑๖)
สาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ

หมวด ๓ ความผิดและบทกาหนดโทษ
 ผูใ้ ห้บริการตามกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ทร่ี ูว้ า่ มีสง่ิ ยัว่ ยุ
พฤติกรรมอันตรายในระบบคอมพิวเตอร์ทอี่ ยูใ่ นความควบคุมของตน แต่มิได้จดั การถอนหรือ
กาจัดออกในทันที ต้องรับโทษตามอัตราโทษทีก่ าหนด (ร่างมาตรา ๒๒)
 ผูก้ ระทาความผิดเกี่ยวกับสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย
ตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี แม้กระทานอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษในราชอาณาจักรด้วย
(ร่างมาตรา ๒๔)
่ ามพระราชบัญญัตนิ ้ ีแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าทีผ่ มู ้ ีอานาจตาม
 กาหนดให้พนักงานเจ้าหน้าทีต
กฎหมายว่าด้วยการโรงแรม โรงภาพยนตร์ หรือสถานบริการ ดาเนินการเพิกถอนหรือพักใช้
ใบอนุญาตผูป้ ระกอบกิจการซึง่ ได้รบั อนุญาตตามกฎหมายนัน้ หากปรากฏหลักฐานว่าได้รูเ้ ห็น
เป็ นใจให้มีการกระทาความผิดเกี่ยวกับสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตรายในสถานประกอบการของตน
(ร่างมาตรา ๒๕)
เสวนาวิชาการ
เรือ่ ง
“ปั ญหาการตีความ ร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามสิง่ ยัว่ ยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...”
วันอังคารที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมชัน้ ๗ อาคารสานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
จัดโดย หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี