นำเสนอฐานข้อมูลISI-Web-of

Download Report

Transcript นำเสนอฐานข้อมูลISI-Web-of

ฐานข้อมูล ISI WEB OF SCIENCE
จัดทาโดย กลุ่ม ลมุศิตา (สาขาวิชาการบัญชี)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
นางสาวจันทร์หอม บุญโสม
รหัส 55633501007
นางสาวยุพิน หารไกร
รหัส 55633501016
นางสาววงเดือน สวัสดิ์เอื้อ
รหัส 55633501017
นางสาวศรีสุดา เทียมวงค์
รหัส 55633501018
นางสาวสุรินทรา อินธิสอน
รหัส 55633501021
นางสาวธนวรรณ ทองนรินทร์ รหัส 5563350102
เสนอ
อาจารย์ วรพจน์ พรหมจักร
เนื้อหาการบรรยาย
ISI Web of Science คืออะไร?
ทำไม เราต้องใช้ ISI Web of Science?
เข้าใช้ ISI Web of Science ได้อย่างไร?
ทำไม ต้องลงทะเบียนกำรเข้ำใช้?
การลงทะเบียน [Register]
การหาแบบ Search
การสืบค้นข้อมูล
การค้นหาแบบ Cited Reference Search
การจัดการผลลัพธ์
เทคนิคการสืบค้น
การหาค่า Impact factor
การเอกสารฉบับเต็มจาก DOI / Crossref
ISI WEB OF SCIENCE คืออะไร
เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง (Citation Database) ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและ
สาระสังเขปของรายการอ้างอิง และรายการที่อ้างถึง
 เป็นฐานข้อมูลสหสาขาวิชา ครอบคลุมทุกกลุ่มสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็น
วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ จากวารสารมากกว่า
10,000 รายชื่อ
 ให้ข้อมูลตั้งแต่ ปี 2001 – ปัจจุบัน
 ลักษณะของข้อมูลที่ให้บริการจะเป็นรูปแบบรายการบรรณานุกรม
และสาระสังเขป ในรูปแบบของ HTML โดยไม่มีบริการเอกสาร
ฉบับเต็ม (Full Text)
 สามารถสืบค้นได้โดยไม่จากัดจานวนผู้ใช้
ทาไม เราต้องใช้ ISI WEB OF SCIENCE
เนื่องจาก Web of Science เป็นฐานข้อมูลที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลการตีพิมพ์
งานวิจัยของนักวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ ฉะนั้น ข้อมูลที่เราจะสืบค้นได้
ก็จะเป็นข้อมูลที่ว่า นักวิจัยคนหนึ่งมีผลงานตีพิมพ์กี่รายการ อะไรบ้าง อยู่ใน
วารสารฉบับไหน แต่ละรายการมีการใช้รายการอ้างอิงเท่าไหร่ ซึ่งจะตีความได้ว่า
นักวิจัยเรื่องนั้น ได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนั้นมากน้อยแค่ไหน นอกจากนี้ยังให้ข้อมูล
ว่าแต่ละรายการได้รับการอ้างถึง (Cited) เท่าใด ใครนาไปอ้างถึงบ้าง ซึ่ง
จานวนการอ้างถึงผลงานวิจัยก็เป็นเสมือนเป็นการให้คะแนนความมีคุณค่าของ
ผลงานวิจัยชิ้นนั้น ยิ่งมีการนาไปอ้างถึงมาก ยิ่งทาให้ตีความได้ว่า งานวิจัยนั้น
ได้รับการยอมรับ นอกจากนี้ Web of Science ยังสามารถใช้สืบค้น Impact
Factor ของวารสารได้อีกต้วย
เข้าใช้ ISI WEB OF SCIENCE ได้อย่างไร
นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
สามารถเข้าใช้บริการฐานข้อมูล ISI Web of Science ได้จาก
ทุกสานักวิชา /หน่วยงาน / หอพักนักศึกษา หรือผ่านระบบเครือข่าย
ไร้สาย (Wireless LAN) ภายในมหาวิทยาลัยภายใต้ระบบเครือข่าย
ของมหาวิทยาลัย ส่วนกรณีใช้ที่บ้านหรือที่ทางานนอกมหาวิทยาลัย
ให้ใช้ผ่านระบบ SSL VPN สามารถ Download โปรแกรมและคู่มือ
การติดตั้งได้ที่ http://www.mfu.ac.th/center/lib
ทาไม ต้องลงทะเบียนการเข้าใช้
การใช้ฐานข้อมูล ISI Web of Science ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ฐานได้เลยไม่
จาเป็นต้องลงทะเบียน ถ้าใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย แต่การ
ลงทะเบียนก็จะทาให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเสริมอื่นๆ ของ ISI Web of
Science ได้ เช่น
- การ Save Search
- การใช้ E-mail Alerts
- การเก็บ Marked List
- การใช้ Endnote Web
ฯลฯ
การลงทะเบียน [REGISTER]
จากหน้า HOME การลงทะเบียนเป็นสมาชิก ให้ใช้เม้าท์คลิกที่ Register
การลงทะเบียน [REGISTER]
ระบบจะให้ตรวจสอบ
e-mail ที่เราจะใช้สมัคร
เมื่อพบว่ายังไม่เคยสมัคร
ให้กรอกข้อมูลส่วนตัวลง
ในแบบฟอร์มและบทการ
Submit
หมายเหตุ
- หัวข้อที่มี * สีแดงหมายถึงต้อง
กรอกข้อมูลในช่องนั้นให้ครบหากไม่
ใส่จะไม่สามารถลงทะเบียนได้
- การตั้งรหัสผ่าน ใช้อักษร 8 ตัวขึ้น
ไป และประกอบไปด้วยตัวเลข
ตัวอักษร และอักขระพิเศษ เช่น @
< > เป็นต้น
การสืบค้นข้อมูล
การค้นหาข้อมูลใน ISI Web of Science จาแนกออกเป็น 2 รูปแบบ
ใหญ่ๆ ดังนี้
1. Search เป็นการค้นหาบทความจากคาสาคัญในหัวเรื่อง ชื่อเรื่อง
ผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น
2. Cited Reference Search เป็นการค้นหาข้อมูลที่บทความนามา
อ้างอิง ซึ่งอาจเป็นบทความ หนังสือ หรือ สิทธิบัตร เป็นต้น หรือ
ต้องการค้นหาว่ามีใครนาผลงานนี้ไปอ้างอิงในบทความบ้าง
การค้นหาแบบ SEARCH
1. พิมพ์คำหรือวลีลงในช่องรับคำค้น
2. ระบุเขตข้อมูลที่ตอ้ งกำรสืบค้น เช่น Topic,
Title, Author, Publication Name,
Address เป็ นต้น
3. ระบุคำเชือ่ มหำกมีคำค้นมำกกว่ำ 1 คำ
4. คลิกที่ Change Limits เพือ่ เลือก ช่วงเวลำ
ตีพมิ พ์ของเอกสำรจำกส่วน Timespan และ เลือก
ฐำนข้อมูลที่จะใช้ใน กำรสืบค้นจำกส่วน Citation
Databases
5. คลิก Search เพือ่ สืบค้นข้อมูล
*Topic = ค้นจำกทุกเขตข้อมูลใน บรรณำนุกรม
รวมถึงบทคัดย่อ
หน้าแสดงผลลัพธ์ของ SEARCH
1. แสดงจำนวนผลลัพธ์ที่พบ
2. สืบค้นเฉพำะภำยในรำยกำรผลลัพธ์ปัจจุบนั จำก
ส่วน Search within results for เพือ่ จำกัด
ผลลัพธ์ให้แคบลง โดยพิมพ์คำหรือวลี และคลิกที่ปุ่ม
Search
3. Refine Results เป็ นกำรปรับปรุงหรือ
กรองผลลัพธ์ท่ไี ด้จำกกำรสืบค้นเดิมให้แคบลงได้จำก
โดยเลือกรูปแบบในกำรแสดงผล เช่น Subject
Areas, Document Types, Authors,
Source Titles, Publication Years,
Institutions, Languages,
Countries/Territories โดยคลิกเครือ่ งหมำย
ถูกหน้ำหัวเรือ่ งที่ตอ้ งกำร หรือคลิกที่ more เพือ่
แสดงหัวเรือ่ งทัง้ หมด จำกนัน้ คลิกที่ Refine เพือ่
แสดงผล
4. เลือกจัดการผลลัพธ์ที่ค้นพบได้หลายรูปแบบ เช่น สั่งพิมพ์, ส่งทาง
E-mail, จัดเก็บรายการ, บันทึกข้อมูล, ส่งออกรายการบรรณานุกรม
เป็นต้น
5. คลิกที่ Sort by เพื่อจัดเรียงลาดับผลลัพธ์ใหม่ตาม Latest Date,
Times Cited, Relevance, First Author, Source Title, Publication
Year เป็นต้น
6. คลิกที่บทความเพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด หรือคลิกที่ตัวเลขที่ Times
Cited เพื่อดูรายการบทความที่อ้างถึง
การค้นหาแบบ CITED REFERENCE SEARCH
เลือกสืบค้นจากหน้า Home
1. คลิกที่ Cited Reference
Search
2. Cited Author: พิมพ์นามสกุล
หรือ ตามด้วยอักษรแรกของผูแ
้ ต่ง
ที่ต้องการค้นหา
3. Cited Work: พิมพ์อักษรย่อของ
ชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ คลิกที่ journal
abbreviation list เพื่อตรวจอักษร
ย่อจากรายการของชื่อสิ่งพิมพ์
4. Cited Year(s): พิมพ์ปี หรือช่วง
ของปีที่ตีพม
ิ พ์
5. คลิกที่ Search
ผลลัพธ์ของ CITED REFERENCE SEARCH
1. คลิกที่ช่องหน้า Record ที่ต้องการ
เลือกได้มากกว่าหนึ่ง และคลิกที่ปุ่ม
Finish Search เพื่อเรียกดูรายการ
บทความที่อ้างถึง (Citing Article)
2. Cited Author : รายชื่อผู้แต่งที่
ได้รับการอ้างอิง
3. Cited Work : ชื่อของสิ่งพิมพ์ ซึ่ง
สามารถเรียกแสดงชื่อเรื่องไปพร้อม
กันด้วย คลิกที่ Show Expanded
Titles
4. Year : ปีที่พิมพ์
5. Volume : เล่มที่ Volume
6. Page : เลขหน้า
7. Citing Articles : จำนวนครัง้ ที่บทควำม
(Record) นี้ได้รบั กำรอ้ำงถึง
8. คลิกที่ View Record ในรำยกำรที่ปรำกฏ
เพือ่ ดูขอ้ มูลโดยละเอียด
การแสดงหน้าจอบทคัดย่อ
1. รำยละเอียดของบทควำม ประกอบด้วย ชือ่
บทควำม ผูแ้ ต่ง แหล่งข้อมูล
2. Times Cited : จำนวนกำรถูกอ้ำงอิง
(เฉพำะในฐำนข้อมูล Web of Science)
3. Cited References: จำนวนเอกสำรที่
นำมำอ้ำงอิง
4. บทคัดย่อและรำยละเอียดของบทควำม
5. จำนวนและรำยละเอียดของบทควำมที่นำไป
อ้ำงอิงทัง้ หมด
6. จำนวนและบทควำมที่นำมำอ้ำงอิง
การจัดการผลลัพธ์
Print/E-mail/Save/Export Reference
1. คลิกเลือกหน้ารายการที่ต้องการ
2. เลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์
เก็บไว้ใน Marked List
Print
E-mail
การ export สู่โปรแกรมจัดการ
บรรณานุกรม
เทคนิคการสืบค้น
1.
2.
3.
ตัวเชือ่ มเพือ่ สร้ำงเงือ่ นไขกำรสืบค้น คือ AND OR NOT SAME
กำรค้นหำกลุ่มคำ หรือ วลี ให้ใช้เครือ่ งหมำย “...” อัญประกำศ เพือ่ กำหนดลำดับและตำแหน่งของ
กลุ่มคำไม่ให้แยกคำ
เครือ่ งหมำยพิเศษที่ช่วยกำรกำรสืบค้น
? ใช้แทนตัวอักษรหนึง่ ตัวอักษร โดยให้วำงตำแหน่งกลำงหรือ
ท้ำยคำ เช่น Fib?? จะพบทัง้ Fibre และ Fiber
* กำรละตัวอักษรตัง้ แต่ศนู ย์ตวั อักษรขึ้นไป โดยให้วำงตำแหน่งกลำงหรือ
ท้ำยคำ เช่น S*food จะพบทัง้ Seafood และ Soyfood
$ แทนที่ศนู ย์ตวั อักษรหรือหนึง่ ตัวอักษรเท่ำนัน้ เช่น Col$r จะพบทัง้ Color และ Colour
(…) ใช้เพือ่ จัดลำดับกำรสืบค้นก่อนหรือหลัง เช่น Rabies AND (cat OR dog) ระบบจะ
สืบค้นบทควำมที่มี cat หรือ dog ก่อน จำกนัน้ จึงจะค้นหำ Rabies
IMPACT FACTOR
Impact Factor คือ ค่าความถี่ที่บทความในวารสารนั้น
ได้รับการอ้างอิงในแต่ละปี ซึ่งโดยปกติจะใช้ย้อนหลัง
ประมาณ 2 ปี ถือว่าเป็นเครื่องมือในการประเมินคุณภาพ
ของบทความหรือจัดอันดับวารสาร
เอกสารฉบับเต็ม
สาสามารถสืบค้นหาเอกสารฉบับเต็มได้จาก
1. http://www.doi.org/
2. http://www.crossref.org/
ตัวอย่างเอกสารฉบับเต็มจากหมายเลข
DOI (Digital Object Identifier ) เป็ นชื่อรหัสมาตรฐานของทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจทิ ัล โดยรหัสดังกล่าวมีท้งั ตัวเลข
และตัวอักษร กาหนดขึน้ มาเพือ่ ใช้ ระบุตาแหน่ งหรือที่อยู่ (URL) ของทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ให้ สามารถค้นหา
ทรัพยากรสารสนเทศ เช่ น บทความ วารสาร หนังสือ และทรัพย์ สินทางปัญญาต่ างๆ ผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ การค้นหาด้ วย
หมายเลข DOI ทาได้ โดย
1. เข้าไปยังเว็บไซด์ http://www.doi.org/
2. นำหมำยเลข DOI ที่ได้จำกฐำนข้อมูลมำสืบค้นในเมนู
Resolve a DOI Name จำกนัน้ กด Submit
ตัวอย่างจาก WEB OF SCIENCE
1.
ค้ นหาเอกสารทีต่ ้ องการ จากนั้น นาหมายเลข DOI ไป Search เพือ่ หาเอกสารฉบับเต็มจาก
http://www.doi.org/
2. นำหมำยเลข DOI ไป Search เพือ่ หำเอกสำรฉบับเต็มจำก http://www.doi.org/
ตัวอย่างจาก WEB OF SCIENCE (ต่อ)
Full Text ที่ได้จาก BioOne
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก CROSSREF
Crossref เป็ นควำมร่วมมือกันของสำนักพิมพ์ชนั้ นำมำกกว่ำ 380 แห่ง เป็ นองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร ดังนัน้ จึงทำให้ผูใ้ ช้บริกำรสำมำรถ
สืบค้นสิง่ พิมพ์ บทควำมวำรสำรไปยังกลุ่มสำนักพิมพ์ท่ีเป็ นสมำชิก ครอบคลุมบทควำมมำกกว่ำ 1 ล้ำนบทควำม
กำร
ค้นหำเอกสำรจำก Crossref สำมำรถทำได้ดงั นี้
1. ค้นหำจำกเลข DOI โดยเข้ำไปที่ http://www.crossref.org จำกนัน้ ก็นำหมำยเลข DOI
ค้นหำจำกเมนู DOI Resolver จำกนัน้ ก็กด Submit
2. ระบบจะลิงค์ไปยังเว็บที่ให้บริการ Full text
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก CROSSREF (ต่อ)
1. ค้นหาจากรายละเอียดทางบรรณานุกรม โดยเข้าไปที่ http://www.crossref.org
จากนั้นก็ไปยังเมนู FOR RESEARCHERS เลือก Free DOI name look up
2. Search จากชื่อผู้แต่งและชื่อบทความจาก
เมนู Search on article title จากนั้น
กด Search
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก CROSSREF (ต่อ)
3. ปรากฎลิงค์เพื่อนาไปสู่บทความ Full Text
Link Full Text จาก SpringerLink
การเปรียบเทียบระหว่าง
ฐานข้อมูล ISI WEB OF SCIENCE
และฐานข้อมูล SCIENCEDIRECT
ข้อเปรียบเทียบ
1. ทันสมัยกว่าโปรแกรม Science Direct
2. เลือกชื่อวารสารได้มากกว่า Science Direct เช่น
วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์
3. สามารถสืบค้นได้โดยมาจากักผู้ใช้งาน
4. ผู้ใช้สามารถใช้ฐานข้อมูลได้เลยไม่จาเป็นต้องลงทะเบียนถ้า
ใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาลัย
5. สามารถสืบค้นการตีพิมพ์งานวิจัยของนักวิจัยในวารสาร
ระดับนานาชาติ
ข้อดี ISI WEB OF SCIENCE
1. เป็นฐานข้อมูลที่ทันสมัยต่อการใช้งาน
2. เป็นฐานข้อมูลครอบคลุมทุกกลุ่มสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็น
วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ จากวารสาร
มากกว่า 1 หมื่นรายวิชา
3. เป็นฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นไม่จากัดผู้ใช้
4. สามารถสืบค้นข้อมูลการตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารระดับ
นานาชาติได้
5.เป็นฐานข้อมูลที่นกั วิจัยให้ความยอมรับมากที่สุด
ข้อเสีย ISI WEB OF SCIENCE
1. ถ้าการเข้าใช้ฐานข้อมูลผ่านเครือข่ายมหาลัยไม่สามารถ
ที่จะลงทะเบียนเข้าใช้งานได้
2. การลงทะเบียนมีความซับซ้อน
3. ถ้าไม่ลงทะเบียนผ่านเครือข่ายมหาลัยก็จะทาให้ผู้ใช้ไม่
สามารถใช้บริการเสริมอื่นของฐานข้อมูล ISI Web of
Science
จบการนาเสนอ
ขอบคุณและสวัสดีค่ะ