การค้าระหว่างประเทศ

Download Report

Transcript การค้าระหว่างประเทศ

บทที่ 13: การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
เป็ นการแลกเปลี่ยนสินค้ าและบริการซึ่งเกิดขึ้นในอาณาเขตระหว่างประเทศ
สาเหตุที่ทาให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ
• ประเทศมีทรัพยากรแตกต่างกัน
• แรงงานมีความชานาญแตกต่างกัน
• ประเทศผลิตสินค้ าแต่ละชนิดโดยเสียต้ นทุนแตกต่างกัน
• ประเทศมีรสนิยมในการบริโภคแตกต่างกัน
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ทฤษฎีทีใ่ ช้ในการศึกษา
1. ทฤษฎีการได้ เปรียบโดยสมบูรณ์ (Theory of Absolute Advantage)
2. ทฤษฎีการได้ เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative
Advantage)**
3. มีทฤษฎียุคใหม่อกี มากมายที่ได้ รับการพัฒนาจากสองทฤษฎีแรก
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
แนวคิดของสองทฤษฎีแรก:
สองทฤษฎีแรกมีแนวคิดคล้ ายกันคือ เป็ นแนวคิดที่สนับสนุนการค้ าเสรี โดยใช้ หลักการ
ว่าแต่ละประเทศไม่ควรผลิตสินค้ าทุกชนิดที่ตนต้ องการบริโภค แต่ควรมุ่งผลิตแต่
สินค้ าที่ตนได้ เปรียบ (ผลิตได้ ด้วยต้ นทุนต่า) และนาเข้ าสินค้ าทีต่ นเสียเปรียบ (ผลิต
ได้ ด้วยต้ นทุนสูง) ซึ่งจะทาให้ เกิดการแบ่งงานกันทา (Division of Labor) และผล
ที่ตามมาคือความชานาญ (Specialization) ซึ่งจะทาให้ ผลผลิตของโลกสูงขึ้น ใช้
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองทฤษฎีได้ นิยามความหมาย
ของการได้ เปรียบแตกต่างกัน (นิยามของต้ นทุนการผลิตแตกต่างกัน) ซึ่งจะให้ ผลที่ได้
แตกต่างกันตามไปด้ วย
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
สมมติฐานทีส่ าคัญของสองทฤษฎีแรก
1. มีเพียงสองประเทศในโลก และทั้งสองประเทศใช้ นโยบายการค้ าเสรี
2. แรงงานเป็ นปัจจัยการผลิตชนิดเดียว และมีลักษณะและคุณภาพเหมือนกันทั้งหมด
3. ผลิตสินค้ าเพียงสองชนิด
4. ไม่มีค่าขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศ
5. ฯลฯ
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์
(Theory of Absolute Advantage)
Adam Smith: ประเทศควรส่งออกสินค้ าที่ตนได้ เปรียบโดยสมบูรณ์ (ใช้
ต้ นทุนการผลิตน้ อยกว่า) และนาเข้ าสินค้ าที่ตนเสียเปรียบโดยสมบูรณ์ ดังนั้น
ประเทศจะได้ ประโยชน์จากการค้ าถ้ าตนมีสนิ ค้ าที่ได้ เปรียบโดยสมบูรณ์มากกว่า
ประเทศคู่ค้า นอกจากนั้น การค้ าระหว่างประเทศจะไม่เกิดขึ้นถ้ าประเทศไม่มี
สินค้ าที่ตนได้ เปรียบโดยสมบูรณ์เลย
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ
(Theory of Comparative Advantage)
David Ricardo : ประเทศควรส่งออกสินค้ าที่ตนได้ เปรียบโดยเปรียบเทียบ
(ใช้ ต้นทุนการผลิตโดยเปรียบเทียบน้ อยกว่า) และนาเข้ าสินค้ าที่ตนเสียเปรียบโดย
เปรียบเทียบ ดังนั้น แม้ ว่าประเทศหนึ่งๆอาจมีต้นทุนการผลิตสูงกว่ าประเทศคู่ค้าทุก
ชนิด (สินค้ าทุกชนิดเสียเปรียบโดยสมบูรณ์) แต่ประเทศนั้นยังสามารถได้ รับ
ประโยชน์จากการค้ าระหว่างประเทศโดยผลิตและส่งออกสินค้ าที่ตนได้ เปรียบ
โดยเปรียบเทียบ เพราะเป็ นไปไม่ได้ ว่าจะมีประเทศใดที่มีสนิ ค้ าที่เสียเปรียบโดย
เปรียบเทียบทุกชนิด
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ข้อดี/ข้อเสียของการค้าระหว่างประเทศ
ประโยชน์ ของการค้ าระหว่ างประเทศ
-ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตได้อย่าง
เต็มที่
- ส่ งเสริ มการออมและการลงทุน
ภายในประเทศมากขึ้น
- มีการแข่งขันของผูป้ ระกอบการมากขึ้น
-ประชาชนมีสินค้าบริ โภคหลากหลายขึ้น
-ช่วยบรรเทาปั ญหาด้านการคลังของรัฐบาล
ปัญหาที่เกิดจากการค้ าระหว่ างประเทศ
-ปั ญหาการขาดดุลการค้า
-ปั ญหาด้านอัตราการค้า
-ปั ญหาการเลียนแบบการบริ โภค
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ: แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
1. นโยบายการค้ าเสรี (Free Trade)
2. นโยบายการค้ าคุ้มกัน (Protection)
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
1. นโยบายการค้าเสรี (Free Trade)
- ไม่พยายามผลิตสินค้ าทุกชนิดที่ต้องการเอง (ผลิตสินค้ าที่ตนเองมี
ความชานาญและต้ นทุนต่าเท่านั้น)
- ไม่มีการตั้งกาแพงภาษี
- อัตราภาษีท่จี ัดเก็บเป็ นอัตราเดียวกัน
- ไม่มีข้อกาหนดทางการค้ าอื่นๆ
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
2. นโยบายการค้าคุม้ กัน (Protection)
- ผลิตสินค้ าหลายชนิด เพื่อพึ่งตนเอง
- ให้ การคุ้มกันตลาดสินค้ าภายในประเทศ โดยการตั้งกาแพงภาษี
- มีการเก็บภาษีหลายอัตราเพื่อกีดกันทางการค้ า
- มีการกาหนดข้ อจากัดทางการค้ าต่างๆ
วัตถุประสงค์ของนโยบายการค้าคุม้ กัน
- ส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการจ้ างงานในประเทศ
- ป้ องกันการทุ่มตลาดของผู้ผลิตต่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ผลเสียของการดาเนินนโยบายการค้าคุม้ กัน
- สินค้ าเข้ ามีราคาแพง
- ผู้ผลิตในประเทศอาจผูกขาดการผลิต
ตัวอย่างของการดาเนินนโยบายการค้าคุม้ กัน
1. อากรขาเข้ า (Import Tariffs)
2. โควต้ าการนาเข้ า (Import Quota)
3. อากรขาออกและโควต้ าการส่งออก (Export Tariffs and Export
Quotas)
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ปี
2535
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
มูลค่าการค้า
1,857,888.0
2,111,709.0
2,506,862.0
3,169,901.4
3,243,864.5
3,730,945.1
4,022,155.8
4,121,639.3
5,262,197.9
มูลค่าส่งออก
824,643.3
940,862.6
1,137,601.6
1,406,310.1
1,411,039.3
1,806,682.0
2,248,089.4
2,214,248.7
2,768,064.8
มูลค่านาเข้า
1,033,244.7
1,170,846.4
1,369,260.4
1,763,591.3
1,832,825.2
1,924,263.1
1,774,066.4
1,907,390.6
2,494,133.1
ดุลการค้า
-208,601.5
-229,983.8
-231,658.7
-357,281.2
-421,785.8
-117,581.2
474,023.1
306,858.1
273,931.7
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
การเงินระหว่างประเทศ
การเงินระหว่างประเทศ
การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศต้ องใช้ เงินเป็ น
สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน โดยใช้ เงินตราสกุลหลักๆ ที่ต่างประเทศ
ยอมรับ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศประกอบด้ วยการค้ า+การ
บริการ ,การชาระหนี้ , การกู้ยืมเงิน , การลงทุน , การบริจาค ฯลฯ
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่ างประเทศ: ราคาของเงินสกุลหนึ่งที่คิดเทียบ
ค่าอยูใ่ นหน่วยของเงินอีกสกุลหนึ่ง
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
อุปสงค์ ของเงินตราต่ างประเทศ: ความต้องการเงินตราต่างประเทศเพื่อดาเนินกิจกรรม
ต่างๆ โดยอุปสงค์ของเงินตราจะมีความสัมพันธ์กบั อัตราแลกเปลี่ยนในทิศทางตรงข้าม
อุปทานของเงินตราต่ างประเทศ:ปริ มาณของเงินตราต่างประเทศที่มีอยู่ ซึ่งได้มาจาก
การดาเนินกิจกรรมต่างๆ โดยอุปทานของเงินตราต่างประเทศจะมีความสัมพันธ์กบั
อัตราแลกเปลี่ยนในทิศทางเดียวกัน
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดอุปสงค์ของเงินต่างประเทศ เช่น การซื้ อสิ นค้าและบริ การ
จากต่างประเทศ, การชาระเงินกูต้ ่างประเทศ, การลงทุนในต่างประเทศ,การ
ท่องเที่ยวต่างประเทศ
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดอุปทานของเงินต่างประเทศ เช่น การขายสิ นค้าและบริ การ
ไปยังต่างประเทศ, รายรับจากต่างประเทศ เช่นกูเ้ งินจากต่างประเทศ, การลงทุน
จากต่างประเทศ, การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ, แรงงานไทยในต่างประเทศส่ ง
เงินกลับมาให้ครอบครัว
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
฿/$
S
34
D
0
ปริ มาณเงินดอลลาร์
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
ดุลการชาระเงินของประเทศ ( Balance of Payments )
บันทึกทางการเงินเกี่ยวกับมูลค่าที่เป็ นตัวเงินของรายการทางเศรษฐกิจทุกชนิด
ระหว่างผู้มีถ่นิ ฐานของประเทศนั้นกับผู้มีถ่นิ ฐานของประเทศอื่น ในช่วง
ระยะเวลาหนึ่ง
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
รายการทางเศรษฐกิจ: รายการที่ก่อให้เกิดการโอนอานาจความเป็ นเจ้าของสิ นค้า
และบริ การ และทรัพย์สินต่างๆ จากผูม้ ีถิ่นฐานของประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศ
หนึ่ง เช่น รายการทางการค้ าบริการ , การชาระหนี้ , การกู้ยืม , การลงทุน , การ
บริจาค
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
ผู้มถี ิ่นฐานของประเทศ: บุคคล ห้างร้าน องค์การธุรกิจที่พานักอาศัยหรื อมี
ภูมิลาเนาในประเทศอย่างเป็ นปกติและเป็ นการถาวร
ผูม้ ีถนิ่ ฐานของประเทศ (Residents)
รวมถึง ข้ าราชการไทย นักศึกษา นักท่องเที่ยว และนักธุรกิจที่ไปทางาน ศึกษา
ท่องเที่ยว และประกอบธุรกิจในต่างประเทศเป็ นการชั่วคราว
ไม่รวม ห้ างร้ าน องค์การธุรกิจ ธนาคารที่ดาเนินการอยู่ในประเทศไทยแต่เป็ นสาขา
ของต่างประเทศ นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ และสถาบันระหว่างประเทศที่มี
สถานที่ทาการอยู่ในประเทศไทย (UN, NGOs, etc)
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
ดุลการชาระเงิน (Balance of Payments)
ประกอบด้ วย 4 บัญชี คือ
1. บัญชีเดินสะพัด (Current Account)
2. บัญชีทุน (Capital Account)
3. บัญชีเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account)
4. บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ(International Reserve)
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
1. บัญชีเดินสะพัด (Current Account: CU)
บันทึกรายการสินค้ าและบริการที่นาเข้ าและส่งออกของประเทศ
 บันทึกสินค้ าเข้ าและสินค้ าออก เรียกว่า ดุลการค้ า (Balance of Trade)
 บันทึกรายการด้ านบริการ เรียกว่า ดุลบริการ (Balance of Services)
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
2. บัญชีทุน (Capital Account: CA)
บันทึกรายการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ ายเงินทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ประกอบด้ วย
1. การลงทุนโดยตรง (Direct Investment)
2. การลงทุนในหลักทรัพย์ (Port folio Investment)
3. เงินกู้ยืม (Loan)
ทุนระยะสั้น: การเพิ่มขึ้นหรือลดลง ของยอดเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน
ในต่างประเทศ ตลอดจนเงินกู้ท่ใี ห้ หรือได้ รับ หรือสินเชื่อทางการค้ าที่ให้ หรือได้ รับ
ที่มกี าหนดไถ่ถอนภายใน 1 ปี
ทุนระยะยาว: การลงทุน หรือเงินกู้ หรือหนี้สนิ ต่างๆ ที่กาหนดไถ่ถอนเกินกว่า 1 ปี
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
3. บัญชีเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account: TR)
บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินบริจาค เงินช่วยเหลือ เงินที่ประเทศได้ รับ และที่โอนให้
ต่างประเทศ
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
4. บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ(International Reserve: IR)
บันทึกการเคลื่อนไหวของทุนสารองระหว่างประเทศ ซึ่งการเคลื่อนไหวเป็ นไปเพื่อ
ชดเชยความแตกต่างระหว่างยอดเงินตราต่างประเทศที่ได้ รับ และที่ต้องจ่ายไปจาก 3
บัญชีข้างต้ น ประกอบด้ วย
1. ทองคา
2. เงินตราต่างประเทศสกุลหลัก ( $ , เยน , ยูโร, ฯลฯ)
3. SDRs (Special Drawing Rights) : สิทธิถอนเงินพิเศษ
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
การบันทึกรายการในดุลการชาระเงิน
• ถ้ าประเทศได้ รับชาระเงินตราต่างประเทศ จะมีฐานะเป็ นเจ้ าหนี้ลงบัญชีทางด้ าน
เครดิต
• ถ้ าประเทศต้ องชาระเงินตราต่างประเทศ จะมีฐานะเป็ นลูกหนี้ลงบัญชีทางด้ านเด
บิต
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
โดยผลรวมของ 3 บัญชีแรก คือ CU + CA + TR = IR
 ถ้ ายอดเครดิตมากกว่าเดบิตแสดงว่า ดุลการชาระเงินเกินดุล(Surplus
Disequilibrium) : รับเงินตราต่างประเทศ>ที่ต้องจ่ายออกไป, เงินทุน
สารองระหว่างประเทศจะเพิ่มขึ้น
 ถ้ ายอดเดบิตมากกว่าเครดิต แสดงว่า ดุลการชาระเงินขาดดุล(Deficit
Disequilibrium) รับเงินตราต่างประเทศ<ที่ต้องจ่ายออกไป, เงินทุน
สารองระหว่างประเทศจะลดลง
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
Ex. การลงบันทึกบัญชีดุลยการชาระเงินแบบ Double Entry
 ไทยส่งออกชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ไปขายใน EU มีมูลค่า 100 ล้ านเหรียญสหรัฐ
 ไทยส่งข้ าวไปช่วยเหลือเฮติ มีมูลค่า 20 ล้ านเหรียญสหรัฐ
 บริษัทกระทิงแดงไปลงทุนใน USA มีมูลค่า 500 ล้ านเหรียญสหรัฐ
 บริษัท Mercedes Benz มาตั้งโรงงานในไทย มีมูลค่า 800 ล้ านเหรียญสหรัฐ
 กองทุนบริหารความเสี่ยงใน USA มาลงทุนในตลาดหุ้นไทย มีมูลค่า 250 ล้ านเหรียญ





สหรัฐ
ไทยบริจาคเงินช่วยเขมร 2 ล้ านเหรียญสหรัฐ
นักธุรกิจไทยกู้เงินจากคูเวต 80 ล้ านเหรียญสหรัฐ
นักท่องเที่ยวไทยใช้ จ่ายในต่างประเทศ มีมูลค่า 300 ล้ านเหรียญสหรัฐ
นักท่องเที่ยวต่างชาติมาท่องเที่ยวในไทย มีมูลค่าใช้ จ่าย 1200 ล้ านเหรียญสหรัฐ
ธนาคารแห่งประเทศไทยขายทองคาแท่ง มีมูลค่า 50 ล้ านเหรียญสหรัฐ
การเงินระหว่างประเทศ (ต่อ)
มาตรการในการแก้ไขปั ญหาการขาดดุลการชาระเงิน
1. การให้ อตั ราแลกเปลี่ยนแปลงโดยเสรี (Free Fluctuating Exchange
Rate)
2. การลดค่า เงิน (Devalue)
3. การควบคุมของรัฐบาล (Government Control)
- การควบคุมปริ วรรตเงินตราต่างประเทศ (Exchange Rate Controls):
ควบคุมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
- การควบคุมการค้ า (Trade Controls) เพื่อลดการขาดดุลการค้า เช่น การเพิ่ม
ภาษีขาเข้าและค่าธรรมเนียมในการนาเข้า, การกาหนดโค้วต้าการนาเข้า, การส่ งเสริ ม
การส่ งออก