อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate)
Download
Report
Transcript อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate)
อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate)
1.นิยามของอัตราแลกเปลี่ยน
2.Spot and Forward Rate
3.การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
อัตราแลกเปลี่ยน
สินค้ า
ผู้ส่งออก (THAI)
บาท
ผู้นาเข้ า (USA)
ตลาดเงินตราต่างประเทศ
FX market
$
นิยามของอัตราแลกเปลี่ยน
• คือ ค่าของเงินสกุลหนึง่ เมื่อเปรี ยบเทียบกันเงินสกุลอื่นๆ
รูปแบบการแสดงค่าของอัตราแลกเปลี่ยน
1. การแสดงค่าในรูปของจานวนเงินบาทต่อหนึง่ ดอลลาห์ (หน่วยเงิน
สกุลภายในประเทศต่อหน่วยของเงินสกุลต่างประเทศ) เช่น 30 ฿/$
2. การแสดงค่าในรูปจานวนเงินดอลลาห์ตอ่ หนึง่ บาท (หน่วยเงินสกุล
ต่างประเทศต่อหน่วยของเงินสกุลภายในประเทศ) เช่น .033 $/฿
ค่าเงินบาทแข็งขึ ้น (.033 $/฿ 0.040 $/฿ หรื อ30 ฿/$ 25
฿/$) ค่าของเงินบาทสูงขึ ้นเมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ
เราใช้ เงินบาทน้ อยลงเพื่อซื ้อเงินสกุลดอลลาร์ หนึง่ หน่วย
Spot and Forward Rate
1. อัตราแลกเปลี่ยนทันที (Spot Rate) อัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุล
ต่างๆที่ทาการส่งมอบทันที่
2. อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้ า (Forward Rate) อัตราแลกเปลี่ยนที่
ผู้ซื ้อและผู้ขายตกลงกันในปั จจุบนั แต่การส่งมอบเงินตราที่เกี่ยวข้ อง
จะเกิดขึ ้นจริงในอนาคต เช่น 1,3,6 เดือน
Swap premium = ความแตกต่างระหว่างราคาล่วงหน้ าและราคา
ทันที (Forward Rate –Spot Rate)
Forward Rate-Spot Rate>0 Forward Premium
Forward Rate-Spot Rate <0 Forward Discount
การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
• อุปสงค์ตอ่ เงินบาท
– ความต้ องการในสินค้ าและบริการของประเทศไทยจากต่างประเทศ การลงทุน
และการบริจาคช่วยเหลือระหว่างประเทศ
– Law of Demand ปริมาณของเงินตราต่างประเทศสกุลใดสกุลหนึง่ ที่มี
ผู้ต้องการซื ้อย่อมแปรผันเป็ นปฏิภาคส่วนกลับกับอัตราแลกเปลี่ยนของ
เงินตราต่างประเทศสกุลนันเสมอ
้
– เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนแข็งค่าขึ ้น ทาให้ ราคาสินค้ าส่งออกในรูปของเงิน $แพง
ขึ ้น ปริมาณความต้ องการสินค้ าส่งออกจากไทยน้ องลง ปริมาณความต้ องการ
เงินบาทก็จะน้ องลง
การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
• อุปสงค์ตอ่ บาท
อุปสงค์ ของเงินบาทจะเพิ่มขึน้ เมือ
อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿)
1. การเพิม่ ขึ ้นของรายได้ ของคน US
2. การเปลี่ยนแปลงรสนิยมในการบริโภค
ของสินค้ าไทยโดยชาว US
3. การเพิม่ ขึ ้นของราคาสินค้ าใน US
4. การทะลักเข้ าของเงินทุนเคลื่อนย้ าย
ระหว่างประเทศ
0.036 $/฿
0.034 $/฿
0.032 $/฿
ปริมาณเงิน ฿
ราคาสินค้ า
ส่ งออกในรู ป
ของเงินบาท
$/฿
ราคาของสินค้ า
ส่ งออกของไทย
ในรู ป$
ปริมาณสินค้ า
ส่ งออก
ความต้ องการ
ของเงินบาท
1000 บาท
0.032 $/฿
$32
100
100000 บาท
1000 บาท
0.034 $/฿
$34
90
90000 บาท
1000 บาท
0.036 $/฿
$36
80
80000 บาท
การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
• อุปทานของเงินบาท
– ความต้ องการซื ้อสินค้ าและบริการจากต่างประเทศโดยคนไทย การลงทุน และ
การบริจากช่วยเหลือระหว่างประเทศ
– เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนแข็งค่าขึ ้น ราคาสินค้ านาเข้ าในรูปของเงินบาทจะถูกลง
คนไทยมีความต้ องการสินค้ าจากต่างประเทศมากขึ ้น อุปทานของเงินบาทใน
ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ ้น
การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
• อุปทานของเงินบาท
อุปทานของเงินบาทจะเพิ่มขึน้ เมือ(ความ
ต้ องการของสินค้ า US เพิมขึน้ )
อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿)
1. การเพิม่ ขึ ้นของรายได้ ของคน ไทย
2. การเปลี่ยนแปลงรสนิยมในการบริโภค
ของสินค้ าUS โดยคน ไทย
3. การเพิม่ ขึ ้นของราคาสินค้ าใน ไทย
4. การทะลักออกของเงินทุนเคลื่อนย้ าย
ระหว่างประเทศ
0.036 $/฿
0.034 $/฿
0.032 $/฿
ปริมาณเงิน ฿
ราคาสินค้ าใน
รู ปของเงิน$
$/฿
ราคาของสินค้ า
นาเข้ าในรู ป
ของ฿
ปริมาณสินค้ า
นาเข้ า
อุปทานของ
เงินบาท
$10
0.032 $/฿
312.5
250
78125
$10
0.034 $/฿
294.11
300
88233
$10
0.036 $/฿
277.77
350
97219
การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
• อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
• อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพในขณะใดขณะหนึง่ จะกาหนดโดยอุปสงค์
และอุปทานของเงินบาท
การเปลี่ยนแปลงของจุดดุลยภาพจะ
อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿)
0.036 $/฿
0.034 $/฿
0.032 $/฿
เกิดขึน้ เมือ
1. เปลี่ยนแปลงของรายได้ ของคน ไทย
หรื อชาวต่างประเทศ
2. การเปลี่ยนแปลงรสนิยมในการบริโภค
ของสินค้ า
3. การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้ าใน ไทย
และต่างประเทศ
4. การทะลักออกหรื อออกของเงินทุน
เคลื่อนย้ ายระหว่างประเทศ
ปริมาณเงิน ฿
อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และลอยตัว
• อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว(เสรี )
– ตลาดเป็ นตัวกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั อุปสงค์และอุปทานของ
เงินตราสกุลนันๆ
้
– ไม่มีการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยน
อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿)
1.ความต้ องการสินค้ าของประเทศไทยโดยชาว US
มีจานวนมากขึน้
2. เส้ นอุปสงค์ ของเงินบาทจะเคลื่อนย้ ายไปด้ าน
ขวามือ
3. นาไปสู่การแข็งค่ าของค่ าเงินบาท
ปริมาณเงิน ฿
อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และลอยตัว
• อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
– รัฐบาลหรื อเจ้ าหน้ าที่เข้ าแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนให้ คงที่
อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿)
1.ความต้ องการสินค้ าของประเทศไทยโดยชาว US
มีจานวนมากขึน้
2. เส้ นอุปสงค์ ของเงินบาทจะเคลื่อนย้ ายไปด้ าน
ขวามือ
3. เมือความต้ องการของเงินบาทสูงขึน้ ทาให้ เกิดแรง
กดดันต่ อค่ าเงินบาทที่จะนาไปสู่การแข็งค่ าของบาท
4.เพื่อให้ ค่าเงินบาทคงที่ ธปท ที่ได้ ทาการเพิ่ม
ปริมาณเงินบาทในตลาดโดยการซือ้ เงิน$ และขาย
เงินบาท
5.เส้ นอุปทานจะเคลื่อนไปทางขวา
6. ค่ าของเงินคงที่ ปริมาณเงินบาทในระบบศก
ปริมาณเงิน ฿
เพิ่มขึน้ และเงินสารองระหว่ างประเทศสูงขึน้