กลุ่ม 8 นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนจีนที่ส่งผลต่อ US

Download Report

Transcript กลุ่ม 8 นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนจีนที่ส่งผลต่อ US

นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนของสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนที่ส่งผลต่ อเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
ผลของค่ าเงินหยวน
ต่ อ
เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนของจีน
ช่ วง ค.ศ. 1994- 2005
อัตราแลกเปลี่ยนคงที่
ช่ วง ค.ศ. 2005- ปั จจุบัน อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวภายใต้ การจัดการ
ค.ศ. 2008 : จีนใช้ มาตรการเงินหยวนอ่อนค่าลง
ค.ศ. 2010 : จีนยอมให้ เงินหยวนแข็งค่าขึ ้น 6%
ความสอดคล้ องระหว่ าง
ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ มหภาค กับ ค่ าเงินหยวน
เงื่อนไข Marshall-Lerner Condition
 เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มสูงขึ ้น เช่น เงินหยวน มีคา่ เงินที่อ่อนค่าขึ ้น จะส่งผล
ทาให้ ดุลการค้ าของประเทศดีขึ ้น กล่าวคือ การส่งออกของประเทศจีนจะเพิ่ม
มากขึ ้น และ การนาเข้ าสินค้ าต่างประเทศจะลดน้ อยลง ผลจึงทาให้ ดลุ การค้ า
ของประเทศจีนดีขึ ้น
 แต่ในความเป็ นจริงค่าเงินหยวนแข็งค่าขึ ้นเรื่ อยๆ เมื่อเปรี ยบเทียบกับดอลลาร์
สรอ. ดังนัน้ เมื่อคิดในทางกลับกันค่าเงินดอลลาร์ สรอ. จึงอ่อนค่าขึ ้น ซึง่ หาก
เป็ นไปตาม MLC สหรัฐอเมริกา จะต้ องมีดลุ การค้ าที่ดีขึ ้น แต่จากข้ อมูลสถิติ
กลับไม่เป็ นเช่นนัน้
สถิตกิ ารแข็งค่ าของเงินหยวน
สถิตกิ ารส่ งออกของสหรัฐอเมริกาและประเทศจีน
สัดส่ วนการเป็ นเจ้ าหนีก้ ารค้ าของประเทศจีนที่มีต่อสหรั ฐอเมริกา
สาเหตุท่ ี MLC ไม่ เป็ นจริง
• ประเทศจีนมีนโยบายควบคุมการนาเข้ าสินค้ าบางประเภท เพื่อเป็ นการ
ช่วยเหลืออุตสาหกรรมบางประเภทของประเทศจีนที่อาจจะยังอ่อนแอ
อยู่ เช่น การกาหนดโควต้ าสินค้ านาเข้ า
• สินค้ านาเข้ าจากต่างประเทศเข้ าสูป่ ระเทศจีนมีราคาที่สงู ทังๆที
้ ่คา่ เงิน
หยวนมีการแข็งค่าขึ ้น(เล็กน้ อย)แล้ ว
• คนสหรัฐอเมริกามีลกั ษณะชอบบริโภคมากกว่าการออม จึงทาให้ การ
นาเข้ าสินค้ ามีสงู
Purchasing Power Parity Condition
• อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงินของทังสองประเทศนั
้
นจะต้
้ องสมดุล
กัน และทาให้ อานาจซื ้อของทัง้ 2 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
• เช่น ประเทศหนึง่ ระดับราคาสินค้ าเพิ่มสูงขึ ้นมากกว่าอีกประเทศหนึง่
อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศนันก็
้ จะต้ องอ่อนค่าลง เพื่อให้ อานาจซื ้อ
ของทังสองประเทศเท่
้
าเทียมกัน
Big-Mac Index
• พบว่า ค่าเงินหยวนไม่เป็ นไปตาม PPP โดยสามารถดูได้ จาก
“Big-Mac Index”
• จากการคิดค่า Big-Mac Index พบว่า ในปี 2010 ค่าเงินหยวน
อ่อนค่ากว่าดอลลาร์ สรอ. ถึงกว่า 48%
มาตรการในการแทรกแซงค่ าเงินหยวน
ของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน
ภูมิหลังของความขัดแย้ง
ระหว่ างจีนและสหรัฐอเมริกาในเรื่องค่ าเงินหยวน
ช่วงต้ นทศวรรษ 1990 สหรัฐมองว่า สาเหตุหลักที่ทาให้ เศรษฐกิจสหรัฐตกต่าและทาให้ ขาด
ดุลการค้ ากับจีนมหาศาลคือ การที่ค่าเงินหยวนของจีนมีค่าต่ากว่าความเป็ นจริ ง ทางสหรัฐ
ประเมินว่า ค่าเงินหยวนต่ากว่าความเป็ นจริ งถึง 40% จึงทาให้ สินค้ าส่งออกของจีนมีราคาถูก
และนาไปสูก่ ารขาดดุลการค้ ามหาศาลกับจีนอย่างต่อเนื่อง
ปฏิกริ ิยาและมาตรการของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ในการแทรกแซงค่ าเงินหยวน
แรงกดดันที่มีตอ่ สาธารณรัฐประชาชนจีนในประเด็นนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน
ด้ านหนึ่ง :
แรงกดดันให้ ละทิ ้งระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตายตัว และหันไปยึดระบบอัตรา
แลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
ด้ านทีส่ อง :
แรงกดดันให้ ขึ ้นค่าเงินหยวนในกรณีที่สาธารณรัฐประชาชนจีนยังคงยึดกุม
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตายตัวต่อไป
• ในประเด็นเรื่ องระบบอัตราแลกเปลี่ยน สาธารณรัฐประชาชนจีนคงไม่ผลีผลามเปลี่ยนระบบ
อัตราแลกเปลี่ยนไปสูร่ ะบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Flexible Exchange Rate
System) นอกจากจะไม่ถึงเวลาแล้ ว ยังมีปัญหาความไม่พร้ อมอีกด้ วย ระบบเศรษฐกิจที่
ปราศจากโครงสร้ างพื ้นฐานทางการเงินที่มนั่ คงอาจต้ องเผชิญปั ญหาเสถียรภาพทางการเงิน
หากเลือกใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว
• ในปั จจุบนั จีนใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบ Managed Floating โดยการกาหนดค่า
เงินหยวนจะถูกกาหนดโดยเงินตราต่างประเทศหลายสกุลที่อยู่ใน "ตะกร้ า" (Basket of
Currencies) โดยทางการจีนจะอนุญาตให้ เงินหยวนมีช่วงความเคลื่อนไหว (band) ซึง่
ปั จจุบนั อยู่ที่ 0.5% จากอัตราที่กาหนดในแต่ละวัน โดยเปรี ยบเทียบกับเงินดอลลาร์
• สาธารณรัฐประชาชนจีนเลือกเส้ นทางการปฏิรูปเศรษฐกิจชนิดค่อยเป็ นค่อยไป มิได้ ดาเนินการ
ปฏิรูปเศรษฐกิจอย่างฉับพลัน หรื อ Shock Theraphy ทาให้ สาธารณรัฐประชาชนจีน
ประสบความสาเร็จในการปฏิรูปเศรษฐกิจ
• ดังนัน้ ในการขึ ้นค่าเงินหยวนจะไม่เป็ นไปอย่างฮวบฮาบ แต่จะเป็ นการปรับขึ ้นทีละเล็กทีละน้ อย
เพื่อให้ ระบบเศรษฐกิจมีเวลาในการปรับตัวและเพื่อมิให้ ก่อผลกระทบอันรุนแรง การปรับค่าเงิน
หยวนให้ ตรงต่อพื ้นฐานที่เป็ นจริ งอาจช่วยลดแรงเสียดทานในสังคมเศรษฐกิจโลกได้
• ปั จจัยชี ้ขาดในการทาให้ สาธารณรัฐประชาชนจีนขึ ้นค่าเงินหยวนนัน้ เป็ นผลประโยชน์ของ
สาธารณรัฐประชาชนจีนต่างหากที่ทาให้ มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนการกด
ค่าเงินหยวนให้ ต่ากว่าพื ้นฐานที่เป็ นจริ งแม้ จะเกื ้อกูลการส่งออกแต่อาจเป็ นเหตุให้ เศรษฐกิจ
ขยายตัวอย่างร้ อนแรงเกินระดับที่เหมาะสม(Overheating) นอกจากนี ้ การเกินดุลบัญชี
เดินสะพัดและการสะสมทุนสารองระหว่างประเทศเพิ่มขึ ้นมีผลในการสัง่ สมเงินพลังสูง
(High-Powered Money) อันนาไปสูก่ ารเพิ่มปริ มาณเงินที่หมุนเวียนในระบบ
เศรษฐกิจและสร้ างแรงกดดันของเงินเฟ้อเพิ่มขึ ้นในท้ ายที่สดุ
บทวิเคราะห์
อัตราแลกเปลี่ยน (E)
S0
S2
S1
E0
E2
E1
D0
Q0
Q2
Q1
ปริ มาณเงินตราต่างประเทศ
• ตลาดเงินตราต่างประเทศอยู่ภายใต้ โครงสร้ างอัตราแลกเปลี่ยนแบบ Managed Floating โดยการ
กาหนดค่าเงินหยวนจะถูกกาหนดโดยเงินตราต่างประเทศหลายสกุลที่อยูใ่ น "ตะกร้ า" (Basket of
Currencies) โดยทางการจีนจะอนุญาตให้ เงินหยวนมีช่วงความเคลือ่ นไหว (band) ซึง่ ปั จจุบนั อยู่ที่ 0.5%
จากอัตราที่กาหนดในแต่ละวัน
• จากรูป เดิมดุลยภาพในตลาดเงินตราต่างประเทศอยู่ ณ จุดที่เส้ นอุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ (D0) ตัดกับเส้ น
อุปทานเงินตราต่างประเทศ (S0) อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพคือ E0 ปริมาณเงินตราต่างประเทศในระบบเศรษฐกิจ
ของจีนคือ Q0 ต่อมา เนื่องจากประเทศจีนมีดลุ การชาระเงิน (Balance of Payment :BOP) เกินดุล
อย่างต่อเนื่อง เป็ นผลให้ ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนทาให้ เส้ นอุปทานเงินตรา
ต่างประเทศ (S0) เปลี่ยนเป็ น เส้ นอุปทานเงินตราต่างประเทศ (S1)ตัดกับเส้ นอุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ
(D0)เดิม ทาให้ อตั ราแลกเปลี่ยนลดลงจาก E0 เป็ น E1 นัน่ คือเงินหยวนแข็งค่าขึ ้นเมื่อเทียบกับเงินตราสกุล
ต่างประเทศ (Appreciation)
• เนื่องจากจีนดาเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเป็ นแบบ Managed Floating โดยจีนจะให้ เงินหยวนมีช่วง
ความเคลื่อนไหว (band) อยู่ที่ 0.5% จากอัตราที่กาหนดในแต่ละวัน โดยเปรี ยบเทียบกับเงินดอลลาร์ ทางการ
จีนจึงเข้ ามาแทรกแซงโดยการจะแทรกแซงในด้ าน Supply เป็ นหลัก โดยการซื ้อเงินตราต่างประเทศ (Dollar)
และขายเงินหยวน เพื่อเป็ นการดูดซับเงินตราต่างประเทศเข้ าสูร่ ะบบเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน ทาให้
มีการเปลี่ยนแปลงเส้ นอุปทานเงินตราต่างประเทศจากเส้ น S1 กลับไปเป็ นเส้ น S2 อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพจะมี
การแข็งค่าขึ ้นจาก E1 เป็ น E2 แต่อย่างไรก็ตามแม้ เงินหยวนจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ ้น แต่ก็ยงั ไม่เป็ นไปตาม
พื ้นฐานความเป็ นจริงซึง่ ควรจะแข็งค่าไปถึงระดับ E1 ทาให้ ยงั คงเกิดปั ญหาความขัดแย้ งกับทางสหรัฐอเมริกา จน
นาไปสูม่ าตรการและนโยบายในการตอบโต้ จากสหรัฐอเมริกา
นโยบายตอบโต้ จากสหรั ฐอเมริกา
นโยบายการตอบโต้ จากสหรัฐอเมริกา:กรณีเงินหยวนอ่ อนค่ า
• การตอบโต้ ในช่ วงที่สาธารณรัฐประชาชนจีนใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
• การตอบโต้ ในช่ วงที่สาธารณรัฐประชาชนจีนใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบ
Managed Float
การตอบโต้
ช่ วงที่สาธารณรัฐประชาชนจีนใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
•
สหภาพแรงงานและสมาคมอุตสาหกรแห่งชาติของสหรัฐฯ กล่าวหาว่านโยบาย
การกดค่าเงินหยวนทาให้ แรงงานอเมริกนั ว่างงานเป็ นจานวนมาก
• รัฐบาล(จอร์ จ บุช จูเนียร์ )ในขันต้
้ นยังไม่ได้ เข้ าไปกดดันจีน เพราะคานึงถึงแรง
กดดันจาก 2 ด้ าน
– ด้ านสหภาพแรงงานและอุตสาหกรแห่งชาติของสหรัฐฯ
– ด้ านบรรษัทจากสหรัฐฯที่เข้ าไปลงทุนในจีนเพื่อส่งออก
แต่สดุ ท้ ายแล้ วรัฐบาลบุชต้ องเป็ นผู้นาในการโจมตีนโยบายค่าเงินหยวน
การตอบโต้
ช่ วงที่สาธารณรัฐประชาชนจีนใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน Managed Float
• แรงกดดันจากนานาประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ทาให้ จีนเปลี่ยนแปลงระบบอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราจากFixed เป็ น Managed Float System
• หลังจากเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยน : ค่าเงินหยวนแข็งค่าขึ ้นเล็กน้ อย โดยไม่
มีนยั สาคัญต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ
• สหรัฐอเมริกายังคงดาเนินนโยบายกดดันจีนอย่างต่อเนื่อง
• ตัวอย่างเช่น การที่สหรัฐฯผ่านร่างกฎหมายฉบับใหม่เกี่ยวกับการตอบ
โต้ ทางการค้ าที่ไม่เป็ นธรรม
• กฎหมายดังกล่าวเปิ ดโอกาสให้ สหรัฐฯสามารถเก็บภาษีพิเศษต่อสินค้ า
จีนที่นาเข้ าสูส่ หรัฐฯได้
• ปั ญหาสาคัญที่นามาสูก่ ารออกร่างกฎหมายฉบับนี ้
– ด้ านเศรษฐกิจ : การว่างงาน
– ด้ านการเมือง
เกณฑ์ ท่ ใี ช้ ในการตัดสินว่ ามีการใช้ ค่าเงินที่อ่อนค่ า
เป็ นเครื่องมือในการเอาเปรียบทางการค้ า
1. รัฐบาลของประเทศดังกล่าวมีการเข้ าแทรกแซงค่าเงิน
2. ค่าเงินที่แท้ จริงอ่อนค่ากว่าความจริงอย่างน้ อย 5% ระหว่าง 18 เดือน
ที่ผ่านมา
3. ประเทศนันๆมี
้ การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดมากอย่างต่อเนื่องในช่วง
18 เดือนที่ผา่ นมา
4. มีเงินสารองระหว่างประเทศอยูใ่ นระดับที่มากกว่าความต้ องการทาง
เศรษฐกิจ
สิ่งที่อาจเกิดขึน้ หากว่ าร่ างกฎหมายนีถ้ ูกประกาศใช้
1. จีนอาจมีการตอบโต้ ทางการค้ ากลับคืน
2. จีนเป็ นเจ้ าหนี ้รายใหญ่ของสหรัฐฯ โดยอาจนาไปสูก่ ารตอบโต้ ทาง
การเงิน
3. จีนไม่กงั วลต่อการที่จะไม่ใช้ เงินดอลลาร์ ในอนาคต
4. ผลเสียต่อบริษัทสหรัฐฯที่ประกอบธุรกิจในจีน