(ECON 1103 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 3 (3

Download Report

Transcript (ECON 1103 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 3 (3

LOGO
บทที่ 7
การเงิน การธนาคาร และ
นโยบายการเงิน
ความหมายของเงิน (Money)
คือ สิ่ งใดก็ได้ ทเี่ ป็ นที่ยอมรับโดยทั่วไปของระบบ
เศรษฐกิจ ในขณะใดขณะหนึ่งเพือ่ ใช้ เป็ นสื่ อการในการ
แลกเปลีย่ นสิ นค้ าและบริการและใช้ ในการชาระหนี้
- การแลกเปลีย่ นโดยใช้ สิ่งของแลกสิ่ งของ(Barter
System)
- การใช้ เงินเป็ นสื่ อการในการแลกเปลีย่ น(Money
System)
หน้ าที่ของเงิน
เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลีย่ น
เป็ นมาตรฐานในการวัดมูลค่ า
หน้ าทีใ่ นการเก็บรักษามูลค่ า
หน้ าที่เป็ นมาตรฐานในการชาระหนี้
คุณสมบัตชิ องสิ่ งทีใ่ ช้ เป็ นเงิน
เป็ นที่ยอมรับกันทั่วในระบบเศรษฐกิจ
เป็ นสิ่ งทีห่ ายากเมือ่ เทียบกับความต้ องการในการใช้ เงิน
มีความคงถาวร
สามารถแบ่ งเป็ นหน่ วยย่ อยได้
เป็ นสิ่ งทีด่ ูออกง่ าย
เป็ นสิ่ งทีส่ ามารถนาติดตัวไปได้
เงินทีใ่ ช้ หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของไทย
เหรียญกษาปณ์ (Coins)
ธนบัตร(Bank Note)
เงินฝากเผือ่ เรียก(Demand Deposit)หรือเงินฝากกระแส
รายวัน(Current Deposit)
ปริมาณเงิน (Money Supply)หรืออุปทานเงิน
(Supply Money) คือปริมาณเงินสดและเครดิตที่มอี ยู่ใน
ระบบเศรษฐกิจขณะใดขณะหนึ่ง
ปริมาณเงินตามความหมายแคบ(M1)
ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ทหี่ มุนเวียนใน
ระบบเศรษฐกิจและเงินฝากเผือ่ เรียกเป็ น
ปริมาณเงินทีม่ สี ภาพคล่ องสู ง
ปริมาณเงินตามความหมายกว้ าง(M2)
ปริมาณเงิน M1 และเงินสดสภาพคล่ องกึง่ เงินสด
(Quasi Money) ได้ แก่ เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจา
เป็ นปริมาณเงินที่ใช้ เป็ นสื่ อกลางแลกเปลีย่ น รวมกับ
ปริมาณเงินทีม่ หี น้ าทีใ่ นการรักษามูลค่ า
ปริมาณเงินทีม่ คี วามหมายกว้ างทีส่ ุ ด(M3)
ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ทหี่ มุนเวียนอยู่ใน
ระบบเศรษฐกิจ และเงินฝากทุกประเภทของ
สถาบันการเงินทุกประเภทในประเทศทีร่ ับฝาก
อุปสงค์ สาหรับเงิน
คือ ปริมาณเงินสดหรือเงินฝากกระแสรายวันที่
ประชาชนต้ องการถือไว้ ในมือขณะใดขณะหนึ่ง
- ความต้ องการถือเงินไว้ สาหรับใช้ จ่ายในชีวติ ประจาวัน
- ความต้ องการถือเงินไว้ สารองจ่ ายในกรณีฉุกเฉิน
- ความต้ องการถือเงินสาหรับเก็งกาไร
ตลาดเงิน (Money Market)
คือ ตลาดทีม่ กี ารระดมเงินออม การกู้ยมื เงิน และ
การซื้อขายหลักทรัพย์ ทางการเงินมีระยะเวลาในการ
กู้ยมื ไม่ เกิน 1 ปี เช่ น เงินฝากประจาระยะเวลา 6 เดือน
ตั๋วเงิน คลังทีอ่ อกโดยรัฐบาล
ตลาดทุน (Capital Market)
หรือตลาดหุ้น (Stock Market) คือตลาดทีม่ กี าร
ออมและกู้ยมื มีระยะเวลาในการกู้ยมื เกินกว่ า 1 ปี ขึน้ ไป
เช่ น หุ้นกู้ ตัว๋ สั ญญาใช้ เงินระยะยาว พันธบัตรของ
รัฐบาล หลักทรัพย์ ทมี่ กี ารซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์
แห่ งประเทศไทย
สถาบันการเงิน
1. ประเภทธนาคาร
1.1 ธนาคารพาณิชย์
1.2 ธนาคารทีจ่ ดั ตั้งขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค์ เฉพาะ
2. ประเภทที่ไม่ ใช่ ธนาคาร
2.1 บริษทั เงินทุนหลักทรัพย์
2.2 บริษทั เครดิตฟองซิเอร์
2.3 บริษทั บริการสิ นทรัพย์ สถาบันการเงิน (บบส.)
แหล่ งเงินทุนของธนาคารพาณิชย์
1.เงินฝาก
1.1 เงินฝากเผือ่ เรียก
1.2 เงินฝากออมทรัพย์
1.3 เงินฝากประจา
2. เงินกู้ยมื
3. บัญชีทุน
การใช้ เงินของธนาคาร
1.
2.
3.
4.
เงินสดสารอง (Legal Reserve)
การให้ สินเชื่อ (Excess Reserve)
การลงทุนทางการเงิน
สิ นทรัพย์ อนื่ ๆ
อัตราดอกเบีย้ MLR (Minimum lending rate)
อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ทธี่ นาคารพาณิชย์ เรียกเก็บจาก
ลูกค้ ารายใหญ่ ช้ันดีในการกู้ยมื เงินระยะยาว เช่ น การ
กู้ยมื เพือ่ ใช้ ในการลงทุนสิ นทรัพย์ ถาวรของธุรกิจ
อัตราดอกเบีย้ MOR (Minimum overdraft rate)
อัตราดอกเบีย้ ประเภทเบิกเกินบัญชีที่ธนาคาร
พาณิชย์ เรียกเก็บจากลูกค้ ารายใหญ่ ช้ันดีในการกู้ยมื
ระยะสั้ น เพือ่ ใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนิน
ธุรกิจ
อัตราดอกเบีย้ MRR (Minimum Retail rate)
อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ทธี่ นาคารเรียกเก็บจากลูกค้ า
รายย่ อยชั้นดี เพือ่ ใช้ เป็ นสิ นเชื่อในการบริโภค หรือ
สิ นเชื่อวงเงินบัตรเครดิต
การสร้ างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์
กระบวนการสร้ างเงินฝาก
1. เงินฝากขั้นแรก คือ เงินสด หรือเช็คทีม่ ผี ้นู าฝากกับ
ธนาคาร
2. เงินสดสารองตามกฎหมาย คือ เงินสดทีธ่ นาคาร
พาณิชย์ ต้องสารองตามสั ดส่ วนของเงินฝาก
3. เงินสดสารองส่ วนเกิน เป็ นเงินฝากที่เหลือจากเงินสารองตาม
กฎหมาย
ปริมาณเงินฝากทั้งหมด =
เงินฝากขั้นแรก
อัตราเงินสดสารอง
เช่ น เงินฝากขั้นแรก 100 บาท ปริมาฯเงินฝากทั้งหมดใน
ระบบธนาคาร คือ 1,000 บาท
ตัวคูณทวีเงินฝาก = 1/อัตราเงินสารอง
ธนาคารกลาง
สถาบันการเงินทีม่ หี น้ าทีด่ ูแลปริมาณเงินในระบบ
เศรษฐกิจ
1. รักษาเสถียรภาพทางการเงิน
2. กากับดูแลสถาบันการเงินในระบบเศรษฐกิจ
3. บริหารเงินสารองระหว่ างประเทศ
4. การจัดพิมพ์และออกใช้ ธนบัตร
เครื่องมือในการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารแห่ งประเทศไทย
1. การควบคุมปริมาณเงิน
1.1 การซื้อขายหลักทรัพย์ รัฐบาล
1.2 การเปลีย่ นแปลงอัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย
1.3 การเปลีย่ นแปลงอัตราซื้อลด
1.4 การเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้
2. การควบคุมคุณภาพ คือการควบคุมการปล่อยสิ นเชื่อของสถาบัน
การเงิน เช่ น การกาหนดระยะผ่ อนชาระ หรืออัตราดอกเบีย้ เป็ นต้ น