การใช้ฟังก์ชัน FV

Download Report

Transcript การใช้ฟังก์ชัน FV

BC 427
การเรี ยนครั้งที่ 4
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
1
แผนการสอนสาหรับการเรียนครั้งที่ 4



คาขวัญประจาสัปดาห์
เฉลยการบานงานเดี
ย
่ ว
้
Time Value of Money
คาขวัญประจาสั ปดาห์
“อยากสูงต้องเขย่ง อยากเก่งต้องขยัน”
- นักศึกษาคณะบริ หารธุรกิจ
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
2
Time Value of Money
เงินจะมีค่าแตกต่ างกันไปเมื่อเวลาเปลีย่ นไป ในการ
เปรียบเทียบค่ าของเงิน ณ เวลาแตกต่ างกัน ต้ องใช้ การคานวนของ
ฟังก์ ชัน Time Value of Money (ค่ าของเงินที่เกีย่ วข้ องกับเวลา)
พืน้ ฐานของ Time Value of Money มีหลักง่ ายๆ คือ
“Money received today does not have the same value as
money received in the future.”
“เงินที่ได้ รับในวันนีจ้ ะมีค่าไม่ เท่ ากับเงินที่ได้ รับในอนาคต”
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
3
เงินจะมีค่าไม่ เท่ ากันเมือ่ เวลาที่ได้ รับต่ างกันเนื่องมาจาก
...“ดอกเบี้ย” …
ดอกเบีย
้ สามารถแจกแจง
ได้ 2 ลักษณะ
1. สาหรับผูย้ มื เงิน ดอกเบีย
้ คือคาของ
่
เงินที่ยมื มา
2. สาหรับผูล้ งทุน(ผูท้ ี่ให้ยมื เงิน) ดอกเบี้ยคือเงินที่
ได้รับจากการลงทุน
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
4
การคานวณ Time Value of Money แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. Single Sums คือ การคานวณทีม่ ี cash inflow
1 จานวน และมี cash outflow อีก 1 จานวน
ยกตัวอย่ าง ในเดือนสิ งหาคม ปี 2540 ธ.
กรุงเทพ มีการเสนอ Certificate of Deposit (CD) ซึ่งมี
ระยะเวลา 7 ปี ด้ วยอัตราดอกเบีย้ 5.64% โดยกาหนดจานวน
เงินฝากขั้นตา่ คือ 1,000 บาท หากผู้ฝากซื้อ CD นีด้ ้ วยจานวน
เงินฝากขั้นตา่ ผู้ฝากจะมีเงินทั้งหมดเท่ าไร เมือ่ ครบระยะเวลา 7
ปี
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
5
2. Mixed Cashflow Stream คือ มีชุดของ Inflows
หรือ Outflows ทีม่ จี านวนแตกต่ างกัน
ยกตัวอย่ าง กอล์ ฟแมนชั่นข้ างม.กรุงเทพ กาลังจะ
สร้ างหอพักแห่ งใหม่ ให้ นักศึกษา ทางแมนชั่นมีการคาดการณ์ ว่า
หอพักแห่ งใหม่ จะนา Cash Inflows ถึง 1,000,000 บาทในปี แรก
2,000,000 ในปี ที่สอง 2,100,000 ในปี ทีส่ าม ถามว่ ามูลค่ าปัจจุบัน
ของ Inflows เหล่ านีเ้ ป็ นเท่ าไร
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
6
3. Annuity คือ มีชุดของ Cash Inflows หรือ Cash
Outflows ทีม่ จี านวนเท่ าๆ กัน และมีระยะเวลาห่ างระหว่ าง
แต่ ละ Inflow หรือ Outflow เท่ าๆ กัน
ยกตัวอย่ าง ในปี 2543 คุณครู โมนี่ ถูกรางวัลล็อ
ตเตอรี่เป็ นจานวน 111 ล้ านบาท หลังจากหักภาษีแล้ ว เธอจะได้ รับ
เงินเป็ นจานวน 3,322,000 บาทในอีก 10 ปี ข้ างหน้ าทุกๆ ปี หาก
อัตราดอกเบีย้ ขึน้ ๆ ลงๆ อยู่ประมาณ 8% อยากทราบว่ า Annuity นี้
มีมูลค่ าสาหรับเธอเท่ าไรในเวลาปัจจุบัน
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
7
วิธีการคานวณ SINGLE SUM
มีอยู่ 3 วิธี คือ
1. คานวณมูลค่าอนาคตของเงินที่ฝากอยูใ่ นเวลาปั จจุบนั
2. คานวณมูลค่าปั จจุบนั ของเงินที่จะได้รับในอนาคต
3. คานวณต้นทุนของเงินที่ได้รับมาในปัจจุบนั และจะต้อง
จ่ายคืนไปในอนาคต
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
8
Future Value
จากตัวอย่าง Single Sum ข้างต้น (ซื้ อ CD ด้วย
เงิน 1,000 บ. ที่อตั รา ดบ. 5.64% สาหรับเวลา 7 ปี )
เป็ น Future Value เพราะ ผูฝ้ ากต้องการที่จะรู ้วา่ เงินที่เขา
ฝากด้วยการซื้ อ CD ไปนั้นจะมีมูลค่าเท่าไรในอนาคต
สู ตรสาหรับการคานวณนี้ คือ
FV = PV*(1+i)^n
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
9
FV = PV*(1+i)^n





FV = Future Value
PV = Present Value
i = Interest Rate
n = Number of Periods
* = เครื่ องหมายคูณ



^ = เครื่ องหมายยกกาลัง
( ) เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่ งที่อยูใ่ น
วงเล็บมีการคานวณก่อน
(ดูการคานวณผลลัพธ์ใน
Class4_TimeValueOfMoney
- Sheet 1 ส่ วนบน และ
ทดสอบการใช้กบั เครื่ อง)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
10
การใช้ ฟังก์ ชันของ Excel


ฟังก์ชนั (Function) เป็ นเครื่ องมือพิเศษที่ใช้เพื่อช่วยในการ
คานวณที่ซบั ซ้อน หน้าที่จะคล้ายๆ กับปุ่ มพิเศษที่พบได้ในเครื่ อง
คิดเลขที่ซบั ซ้อน เช่น ปุ่ มที่ใช้ในการคานวณ Square root
Microsoft Excel มีฟังก์ชนั ภายใน (Built-in functions) มากกว่า
300 ฟังก์ชนั ซึ่ งมีหน้าที่ในการคานวณแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง
ฟั งก์ชน
ั SUM เป็ นฟังก์ชนั ด้านคณิ ตศาสตร์ของ Excel ซึ่ งผูใ้ ช้
สามารถใช้แทนการใช้เครื่ องหมายบวกหลายๆ ครั้งในการ
คานวณผลรวมของตัวเลขหลายๆ ตัวได้
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
11
ตัวอย่ างการใช้ SUM
=B5+B6+B7+B8+B9+B10
การใช้ฟังก์ชนั ดังกล่าวจะยาวเกินไป ผูใ้ ช้สามารถใช้
ฟังก์ชนั SUM ได้เป็ น
=SUM(B5:B10)
ซึ่งจะบอกให้ Excel บวกค่าตัวเลขที่อยูใ่ น range B5
จนถึง B10
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
12
ในการใช้ฟังกชั
์ น ผู้ใช้
สามารถใช้ฟังก์ชนั มากกว่าหนึ่งฟังก์ชนั ได้ เช่น
=A1*SUM(A5:A10)
จะคืนค่าผลคูณของค่าที่อยูใ่ น cell A1 กับ
ผลรวมทั้งหมดของค่าที่อยูใ่ น range A5 จนถึง
A10

อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
13
เนื่องจากวาฟั
่ งกชั
์ น SUM เป็ น
ฟังก์ชนั ที่มีการใช้บ่อยๆ Excel มีปุ่มพิเศษปุ่ มหนึ่ง
บน Standard Toolbar เพื่อที่จะป้ อนค่านี้โดยมี
วิธีใช้คือ ปุ่ ม Autosum หรื อ “ตัวซิ กม่า” Excel จะ
สร้างฟังก์ชนั =SUM() และเดา Range ที่ผใู้ ช้
ต้องการหาผลรวม

อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
14
ไวยากรณ์ ของฟังก์ ชัน

Worksheet Function แบ่งได้เป็ น 2 ส่ วน คือ Function และ
Argument (จะมีตวั หนึ่ง หรื อ หลายๆ ตัวก็ได้) เช่น
= SUM(C3:C5)
SUM เป็ นชื่อฟังก์ชนั ส่ วน C3:C5 เป็ น
Argument (ในที่น้ ีมี 1 Argument) ฟังก์ชนั นี้จะหา
ผลรวมของค่าตัวเลขที่อยูใ่ น cell C3, C4, และ C5
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
15

สังเกตวงเล็บที่อยูล่ อ้ มรอบ Argument ของฟังก์ชนั ให้ดี
วงเล็บเปิ ดจะเป็ นการกาหนดจุดเริ่ มต้นของ Argument และ
จะต้องปรากฏอยูห่ ลังจากชื่อของฟังก์ชนั ทันที
ถ้าผูใ้ ช้ใส่ ช่องว่างหรื อตัวอักษรตัวอื่นๆ ระหว่าง
ชื่อฟังก์ชนั และวงเล็บเปิ ดแล้วจะปรากฏค่าผิดพลาด
#NAME? ใน cell นั้นแทน
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
16
การใช้ Argument

หากผูใ้ ช้ใช้ Argument มากกว่าหนึ่งตัวในฟังก์ชนั หนึ่งแล้ว
ผูใ้ ช้จะต้องแยก Argument เหล่านั้นออกจากกันด้วย
เครื่ องหมายจุลภาค ดังตัวอย่างนี้
=PRODUCT(C1,C2,C5)
ฟังก์ชนั นี้บอกให้ Excel คานวณผลคูณของตัว
เลขที่อยูใ่ น cell C1, C2 และ C5
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
17


ใน Function หนึ่งสามารถมี Argument ได้มากถึง 30 ตัว
ตราบเท่าที่ความยาวของสู ตรนั้นไม่เกิน 1,024 ตัวอักษร
Argument หนึ่งอาจจะเป็ น range ซึ่งอ้างถึง cell หลายๆ
cell ได้ เช่น
=SUM(A1:A5,C2:C10,D3:D17)
Function นี้มี Argument อยู่ 3 ตัวแต่จะให้ค่าเป็ น
ผลรวมของตัวเลขที่อยูใ่ น cell ทั้งหมด 29 cell
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
18
ฟังก์ ชันสาหรับการคานวณที่เกีย่ วกับการลงทุน
Function ด้านการเงินส่ วนมากจะต้องการ Argument ที่
คล้ายๆ กัน เพื่อความสะดวก ตารางต่อไปนี้จะกาหนด
Argument ที่ใช้ทวั่ ๆ ไป
Argument
Details
 future value_ _ _มูลค่าอนาคต (Excel จะใช้ 0 ถ้าไม่ได้
ระบุ)

อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
19




inflow 1, inflow 2 ,…, inflow n_ _ _ _ เงินชาระรายงวด
เมื่อจานวนเงินแต่ละครั้งแตกต่างกัน
Number of periods_ _ _ _ _ จานวนงวดของ
เงินลงทุน
payment_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _เงินชาระรายงวดเมื่อจานวน
เงินแต่ละครั้งเท่ากัน
type_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _เวลาที่ตอ้ ง
ชาระเงินแต่ละงวด (0 ถ้าไม่ระบุ), 0 = ที่เวลาสิ้ นสุ ดของ
งวด,
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
20


1 = ที่เวลาเริ่ มต้นของงวด
present value_ _ _ _ _ มูลค่าปั จจุบนั
rate _ _ _ _ _ _ _ _ _ _อัตราดอกเบี้ย อัตราลดหรื ออัตรา
การลงทุนต่างๆ
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
21
การใช้ ฟังก์ ชัน FV

ฟังก์ชนั FV จะคานวณมูลค่าของการลงทุน ณ วันใดวัน
หนึ่งในอนาคต ซึ่งมีการชาระเงิน ณ เวลาปัจจุบนั เป็ น
ก้อนๆ หรื อ ผ่อนชาระเป็ นงวดเท่าๆ กัน Function นี้มี
รู ปแบบเป็ น
=FV(rate, number of periods,
payment, present value, type)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
22
โจทย์ บอกว่า ซื้ อ CD ด้วยเงิน 1,000 บาท ที่อตั รา ดอกเบี้ย
5.64% สาหรับเวลา 7 ปี
การคานวณโดยการใช้สูตร FV (ดูการอธิบาย
Class4_TimeValueOfMoney - Sheet 1)

การคานวณโดยการใช้ฟังก์ชนั FV ของ Excel (ดูการ
อธิบาย Class4_TimeValueOfMoney - Sheet 2)

อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
23
Present Value
ในกรณี ของ PV บุคคลจะได้รับเงินในอนาคตและต้องการ
ที่จะทราบว่ามูลค่าปัจจุบนั ของเงินดังกล่าวนั้นมีมูลค่าเท่าใด
คำถำม: นำยเอกจะได้ รับเงิน 1,000 บ. ในระยะเวลำ
อีก 2 ปี ข้ ำงหน้ ำ หำกอัตรำภำษีอยู่ที่ 7% ถำมว่ ำเงินนีจ้ ะมี
มูลค่ ำเท่ ำใดสำหรั บนำยเอก
การคานวณโดยการใช้สูตรจะใช้สูตรดังนี้
PV = FV/(1+i)^n
(ดูการอธิบายใน Class4_TimeValueOfMoney - Sheet 3)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
24
การใช้ ฟังก์ ชัน PV


ฟังก์ชนั PV จะสามารถคานวณหามูลค่าปั จจุบนั ของเงินที่จะ
ได้รับ ณ วันใดวันหนึ่งในอนาคต เป็ นก้อนๆ หรื อ ผ่อนชาระ
เป็ นงวดเท่าๆ กันก็ได้ Function นี้มีรูปแบบเป็ น
=PV(rate, number of periods, payment,
future value, type)
การคานวณโดยการใช้ฟังก์ชนั PV ของ Excel (ดูการอธิบาย
Class4_TimeValueOfMoney - Sheet 4)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
25
Interest Rate
การคานวณ single sum อีกแบบหนึ่งเกี่ยวข้องกับการ
หาอัตราดอกเบี้ย หรื อ อัตราผลตอบแทน
แนวความคิดนี้คือการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเงิน
บุคคลอื่นมาวันนี้ (present value) และจะจ่ายเงินคืนไปใน
อนาคต (future value)
คำถำม:ในปี 1993 ษ. Dean Witter Reynolds
ประกำศว่ ำ ลูกค้ ำของเขำคือ ษ. Prime Income Trust (PIT)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
26
จะ repurchase หุ้นของ ษ.ตัวเองคืนด้ วยมูลค่ ำ $9.86 ต่ อหุ้น
ษ. PIT จะซื ้อเฉพำะหุ้นที่มีกำรเก็บรั กษำมำ 4 ปี หรื อ น้ อย
กว่ ำ ถ้ ำนำยรั ท ซื ้อหุ้นของ PIT มำเป็ นจำนวนเงิน $7.25 ต่ อ
หุ้นในปี 1990 ถำมว่ ำ return per share ของนำยรั ทจะเป็ น
เท่ ำไร หำกนำยรั ทจะขำยหุ้นในส่ วนของเขำคืน ษ.PIT
การคานวณโดยการใช้ฟังก์ชนั ของ Excel
(ดูการอธิบายใน Class4_TimeValueOfMoney - Sheet
5)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
27
การใช้ ฟังก์ ชัน RATE

ฟังก์ชนั RATE ช่วยในการหาอัตราผลตอบแทนสาหรับ
การลงทุนที่ชาระเงินเป็ นงวดๆ เท่าๆ กันหรื อชาระเงิน
เป็ นก้อนเพียงครั้งเดียว ฟังก์ชนั นี้มีรูปแบบเป็ น
=RATE(number of periods,payment,present
value,future value,type,guess)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
28
guess และ type _ _ _ _ _ _ จะใส่ หรื อไม่กไ็ ด้เพื่อบอก
จุดเริ่ มต้นสาหรับการคานวณอัตราผลตอบแทน ถ้าผูใ้ ช้ไม่
ระบุค่าอาร์กิวเมนต์ (Argument) guess ของ Excel จะ
กาหนดค่าเป็ น 0.1 (10 เปอร์เซ็นต์) (แต่ ทาสอบให้ ระบุค่า
ทุกครั้ง) (ดูการอธิบายใน Class4_TimeValueOfMoney - Sheet
5)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
29
การคานวณ Annuity


Annuity คือ ชุดของ Inflows หรื อ Outflows ที่มีจานวน
และ ระยะห่างของเวลาเท่ากัน
การใช้ ฟังก์ ชัน Future Value แบบ Annuity
เช่น สมมติวา่ คุณฝากเงิน 100 บ.ในธนาคารทุกปี เป็ น
เวลา 3 ปี ด้วยอัตราดอกเบี้ย 5.25% อยากทราบว่า คุณจะ
ได้รับเงินเท่าใดเมื่อสิ้ นปี ที่ 3
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
30
จากฟังก์ชนั =FV(rate, number of periods,
payment, present value, type)
(ดู Class4_TimeValueOfMoney - Sheet “FV
Annuity”)

การใช้ ฟังก์ ชัน Present Value แบบ Annuity
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
31
เช่น ในปี 2543 คุณครู โมนี่จากโครงการสานึกรักบ้าน
เกิด ถูกรางวัลล็อตเตอรี่ เป็ นจานวน 111 ล้านบาท
หลังจากหักภาษีแล้ว เธอจะได้รับเงินเป็ นจานวน
3,322,000 บาทในอีก 10 ปี ข้างหน้าทุกๆ ปี หากอัตรา
ดอกเบี้ยขึ้นๆ ลงๆอยูป่ ระมาณ 8% Annuity นี้มีมูลค่า
สาหรับเธอเท่าไรในเวลาปั จจุบนั
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
32
จากฟังก์ชนั
=PV(rate, number of periods, payment,
future value, type)
(ดู Class4_TimeValueOfMoney - Sheet “PV
Annuity”)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
33
Intrayear Compounding
ตั้งแต่ที่กล่าวมา จะกล่าวถึงแต่การคานวณเงินฝากหรื อ
การคานวณการชาระที่มีการจ่ายเป็ นเพียง 1 งวด ต่อปี หาก
ต้องมีการคานวณแบบทบต้น (compounding) ทุกเดือน ทุก
สัปดาห์ หรื อ ทุกๆ 3 เดือน จะต้องทาอย่างไร
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
34
มีวธิ ีปฎิบัตอิ ยู่ 2 ขั้นตอน คือ
1. หาร interest rate ด้วย number of periods ใน 1 ปี
2. คูณจานวนปี ด้วย number of periods ใน 1 ปี
เช่น ในเดือนสิ งหาคม ปี 1993 ES Bank ออก Certificate
of deposit (CD) ที่มีอายุครบกาหนดไถ่ถอน 7 ปี จ่าย
ดอกเบี้ยทุกสัปดาห์ ด้วยอัตรา 5.64% ต่อปี โดยกาหนด
เงินฝากขั้นต่าไว้ที่ 1,000 บ.
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
35
หากคุณซื้ อ CD ด้วยเงินฝากขั้นต่า อยากทราบว่า คุณ
จะมีเงินเท่าใดเมื่อครบระยะเวลา 7 ปี
จากฟังก์ชนั =FV(rate, number of periods,
payment, present value, type)
(ดู Class4_TimeValueOfMoney - Sheet
“CompoundingFV”)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
36
แบบฝึ กหัดเพิม่ เติม
1. คุณพ่อฝากเงินให้ทุกๆ เดือน เดือนละ 4,000 บ. เป็ นเวลา
2 ปี พอสิ้ นปี ที่ 2 นักศึกษาจะมีเงินในธนาคาร 150,000 บ.
อยากทราบว่าธนาคารคิดดอกเบี้ยให้นกั ศึกษาในอัตราเท่าไร
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
37
วิธีทา
จากฟังก์ชนั =RATE(number of
periods,payment,present value,future
value,type,guess)
(ดู Class4_TimeValueOfMoney - Sheet “คุณพ่อให้
เรี ยน”)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
38