Organizing Data and Information

Download Report

Transcript Organizing Data and Information

MG 422 และ MGX 422
การเรี ยนครั้งที่ 7
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
1
แผนการสอน
 บทที่ 3 (ตอนที่ 1) การจัดข้อมูลและข่าวสาร (Organizing
Data and Information)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
2
ลาดับชั้นของข้อมูล (Hierarchy of Data)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
3
การมีอยูจ่ ริ งของข้อมูล(Data Entities) and
คุณสมบัติของข้อมูล (Data Attributes)
 การที่มีอยูจ่ ริ ง (Entity)
• เป็ นลักษณะโดยทัว่ ไปของกลุ่มคน สถานที่ หรื อ สิ่ ง
ต่างๆ ที่มีการรวบรวม การเก็บ และการบารุ งรักษา
“ข้อมูล” ที่เกี่ยวกับลักษณะโดยทัว่ ไปนั้นไว้
• นักศึกษาสามารถมองเป็ น “รายละเอียดของข้อมูล” ใน
ตารางข้อมูลตารางใดตารางหนึ่ง เช่น ตารางข้อมูลของ
พนักงาน ตารางข้อมูลของสิ นค้าคงคลัง ตารางข้อมูล
ของลูกค้า
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
4
 คุณสมบัติ (Attributes)
คุณสมบัตข
ิ อง สิ่ งทีม
่ อ
ี ยูจริ
่ ง
(Entity)
• นักศึกษาสามารถมองเป็ น “หัวข้อของแต่ละ Column”
ในตาราง หรื อ “ข้อมูลของแต่ละหัวข้อใน Column” ของ
ตาราง เช่น หัวข้อ Column Employee #, Last Name,
First Name, Hire Date, และ Deparment # เป็ น Attributes
สาหรับตารางข้อมูลอ.เพ็
ของพนั
ก
งาน
ญจิรา คันธวงศ์
5
•
กุญแจ (Keys) และ สิ่ งที่มีอยูจ่ ริ ง (Attributes)
Data Item
หรื อ Entity ในที่น้ ี คือ
อ.เพ็Employee”
ญจิรา คันธวงศ์ นี้
“ตาราง
6
แนวทางแบบดั้งเดิมในการบริ หารข้อมูล
(Traditional Approach to Data Management)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
7
Traditional Approach
 เป็ นแนวทางใน การสร้าง และ เก็บ กลุ่มของข้อมูลโดย
แบ่งแยกไว้ตามตัวโปรแกรมที่เกี่ยวกับการใช้งาน
(Application Programs) แต่ละตัวโปรแกรมเอง
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
8
แนวทางด้านฐานข้อมูลในการบริ หารข้อมูล
(Database Approach to Data Management)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
9
Database Approach
 เป็ นแนวทางใน การดึง และ เก็บ กลุ่มของข้อมูลไว้รวมกัน
เพียงแห่งเดียวแล้วให้โปรแกรมที่เกี่ยวกับการใช้งาน
(Application Programs) ต่างๆ หลายๆ โปรแกรมแบ่งปั นการ
ใช้ขอ้ มูลกัน
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
10
Database Management System (DBMS)
 เป็ นโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่ตอ้ งใช้เพิ่มเติมในการใช้ Database
Approach
 ประกอบไปด้วยกลุ่มของโปรแกรมอีกหลายๆ โปรแกรมที่
ใช้เพื่อเป็ นหน้าจอโต้ตอบแบบที่ 1 คือ ระหว่างตัวฐานข้อมูล
(Database) กับ ตัวผูใ้ ช้ (User) หรื อ แบบที่ 2 คือ ระหว่างตัว
ฐานข้อมูล (Database) กับ ตัวโปรแกรมที่เกี่ยวกับการใช้งาน
(Application Programs) ต่างๆ (ดูรูปหน้า 96 จะเป็ นแบบที่
2)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
11
ประโยชน์ของแนวทางด้านฐานข้อมูล
(Advantages of Database Approach)
 เป็ นการปรับปรุ งกลยุทธ์ใน
 สามารถทาให้ตวั ข้อมูลและตัว
การใช้ขอ้ มูลขององค์กร
 เป็ นการลดข้อมูลที่ซ้ าซ้อน
 สามารถปรับปรุ งข้อมูลให้
เที่ยงตรง
 สามารถแก้ไขข้อมูลได้ง่าย
และ สามารถทาให้ขอ้ มูลมี
ความทันสมัยได้
โปรแกรมมีความเป็ นอิสระต่อ
กัน (กล่าวคือ สามารถเพิม่ เติม
ข้อมูลกลุ่มใหม่ๆ ได้โดยไม่
ต้องคานึงถึงการพัฒนา
โปรแกรมตัวใหม่ในการใช้
งานข้อมูลใหม่น้ นั ๆ)
 สามารถเข้าถึงข้อมูลและ
สารสนเทศได้ดีข้ ึน ง่ายขึ้น
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
12
 มีมาตรฐานในการเข้าถึงตัว
ข้อมูล (กล่าวคือ ผูใ้ ช้ที่
สามารถดึงข้อมูลกลุ่ม A มาใช้
งานได้ สามารถดึงข้อมูลกลุ่ม
B มาใช้งานได้ดว้ ย เพราะ
วิธีการดึงข้อมูลเหมือนกัน)
 มีกรอบในการพัฒนา
โปรแกรม (กล่าวคือ เพราะ
การเข้าถึงตัวข้อมูลมีมาตรฐาน
ทาให้การพัฒนาโปรแกรมเพื่อ
การใช้งานกับตัวข้อมูลมี
มาตรฐานมากขึ้น ทาให้พฒั นา
โปรแกรมได้ง่ายขึ้น)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
13
 สามารถปกป้ องข้อมูลได้ดีกว่า
 สามารถแบ่งปั นแหล่งข้อมูล
และ แหล่งสารสนเทศภายใน
องค์กรได้ดีกว่า (กล่าวคือ ผูใ้ ช้
สามารถใช้ Hardware หรื อ
Software ตัวเดียวกันในการดึง
ข้อมูลมาใช้ได้ เป็ นต้น)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
14
ผลเสี ยของการใช้แนวทางด้านฐานข้อมูล
(Disadvantages of Database Approach)
 การจัดซื้ อและการดาเนิ นการใช้งาน DBMS กับเครื่ อง
คอมพิวเตอร์แบบ Mainframe มีตน้ ทุนสูง
 เพิ่มต้นทุนในการจ้างบุคลากรผูเ้ ชี่ยวชาญกับงานทางด้านนี้
ั ระบบ (กล่าวคือ ถ้าฐานข้อมูล
 เพิ่มความเปราะบางให้กบ
เสี ยหาย ก็จะทาให้งานแผนกต่างๆ เสี ยหายด้วย)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
15
การออกแบบ “แบบจาลองข้อมูล (Data Modeling)”
 แบบจาลองข้อมูล (Data Model)
• หมายถึง แผนผังของ การมีอยูจ่ ริ งของข้อมูล (Data
entities) และ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวมันเอง
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
16
 แผนผังความสัมพันธ์ของการมีอยูจ่ ริ งของข้อมูล = Entity-
Relationship (ER) Diagrams
• แบบจาลองข้อมูลที่ใช้สญ
ั ลักษณ์รูปภาพต่างๆ ในการ
แสดงการจัดองค์ประกอบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
17
ตัวอย่างของ Entity-Relationship Diagram
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
18
ชนิดของแบบจาลองฐานข้อมูล
(Database Models)
 แบบจาลองแบบเป็ นลาดับชั้น [Hierarchical (Tree) Models]
• เป็ นแบบจาลองที่ขอ้ มูลมีการจัดเรี ยงจากสู งลงต่า มี
ลักษณะคล้ายต้นไม้ เป็ นโครงสร้าง
• มีลกั ษณะความสัมพันธ์แบบ One-to-many approach
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
19
ตัวอย่างของ Hierarchical Database Model
One-to-many
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
20
 แบบจาลองแบบโครงข่าย (Network Model)
• เป็ นแบบจาลอง ที่ขยายความสัมพันธ์ของฐานข้อมูลแบบ
เป็ นลาดับชั้นโดยที่สมาชิก 1 หน่วยอาจจะมี
ความสัมพันธ์กบั อีกหลายๆ สมาชิก หรื อ หลายๆ สมาชิก
อาจจะมีความสัมพันธ์กบั สมาชิกอีก 1 หน่วย
• มีลกั ษณะความสัมพันธ์แบบ many-to-many approach
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
21
ตัวอย่างของ Network Database Model
many-to-many
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
22
 แบบจาลองความสัมพันธ์ (Relational Models)
• เป็ นแบบจาลองที่อธิบายข้อมูลโดยการจัดเรี ยง
ส่ วนประกอบของข้อมูล ในตารางที่ให้มีลกั ษณะเป็ น 2
มิติ ซึ่ งจะเรี ยกว่า ความสัมพันธ์ (Relations)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
23
ตัวอย่างของ Relational Database Model
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
24
ตัวอย่างการใช้ฐานข้อมูลแบบRelational Database:
การใช้โปรแกรม Microsoft Access
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
25
หน้ าทีข่ อง Database Management System (DBMS)
1. ให้ผใู้ ช้สามารถดูและเข้าใจข้อมูลได้
2. สร้างและปรับเปลี่ยนฐานข้อมูลได้
3. เก็บและดึงข้อมูลมาใช้ได้
4. ยักย้ายถ่ายเทข้อมูลและสร้างรายงานต่างๆ ได้
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
26
หน้ าทีข่ อง Database Management System (DBMS)
1. ให้ผใู้ ช้สามารถดูและเข้าใจข้อมูลได้
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
27
การใช้ Schemas และ Subschemas
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
28
แบบแผน (Schemas) และ
แบบแผนย่อย Subschemas
 แบบแผน (Schemas)
• การอธิ บายรายละเอียดทั้งหมดของฐานข้อมูล 1 ชุด
 แบบแผนย่อย (Subschema)
• กลุ่มข้อมูลอธิบายรายละเอียดลักษณะต่างๆ เกี่ยวกับ
หน่วยย่อยๆ ในฐานข้อมูล ฐานใดฐานหนึ่ง และยัง
สามารถแจกแจงได้วา่ ผูใ้ ช้กลุ่มใดสามารถ ดู หรื อ
ปรับเปลี่ยน รายละเอียดของข้อมูลต่างๆ ในหน่วยย่อยๆ
นั้นๆ ได้
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
29
หน้ าทีข่ อง Database Management System (DBMS)
2. สร้างและปรับเปลี่ยนฐานข้อมูลได้
3. เก็บและดึงข้อมูลมาใช้ได้
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
30
ลักษณะการดึงข้อมูลมาใช้ของ DBMS
(ดูหน้า 105 ย่อหน้าที่ 4)
1. ผูใ้ ช้ตอ้ งการข้อมูลจากฐานข้อมูล
2. ผูใ้ ช้เรี ยกข้อมูลจาก DBMS เช่น ใช้คาสัง่ LIST ALL
OPTIONS FOR WHICH RPICE IS GREATER
THAN 200 DOLLARS… คาสัง่ ดังกล่าวถือเป็ น LAP
3. DBMS พุง่ ตรงไปยังแผ่นดิสก์ที่เก็บข้อมูลเพื่อนาข้อมูล
ออกมาให้กบั ผูใ้ ช้ … ส่ วนนี้จะถือว่าเป็ น PAP
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
31
Logical Access Paths (LAP)
และ Physical Access Path (PAP)
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
32
หน้ าทีข่ อง Database Management System (DBMS)
4. ยักย้ายถ่ายเทข้อมูลและสร้างรายงานต่างๆ ได้
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
33
บางส่ วนของ SQL ในโปรแกรม Microsoft
Access
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
34
Structured Query Language (SQL)
 เป็ นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นคาถามใช้ในการตั้ง
คาถามเพื่อดึง เก็บ และ ย้กย้ายถ่ายเท ข้อมูลจากฐานข้อมูล
 ตัว SQL ใช้ง่ายมีลกั ษณะไวยากรณ์เหมือนประโยค
ภาษาอังกฤษ สามารถใช้ร่วมกับภาษาโปรแกรมชนิดอื่นๆ
ได้ เช่น ใช้กบั ภาษา COBOL
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
35
ตัวอย่าง การพิมพ์รายงานจากการใช้ฐานข้อมูล
อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
36