หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

Download Report

Transcript หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

ภาษาวิชวลเบสิก
(Visual Basic language)
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language) คืออะไร?
วิชวลเบสิก (Visual Basic) หรือ VB เป็ นโปรแกรมภาษา
คอมพิวเตอร์ซง่ึ ใช้สาหรับสร้างหรือพัฒนาโปรแกรมใช้งานบนวินโดวส์
มีความสามารถในการทางานทีค่ ล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์อ่นื ๆ
เช่น C , Pascal , C++, C# สร้างโดยบริษทั ไมโครซอฟท์ ภาษานี้
เป็ นหนึ่งในภาษาโปรแกรมยอดนิยม
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language) คืออะไร?
โดยเป็ นโปรแกรมทีใ่ ช้ในด้านธุรกิจ ซึง่ เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง
ใช้งานง่าย เหมาะสาหรับผูเ้ ริม่ ต้น เพราะใช้คาในภาษาอังกฤษทีเ่ ข้าใจง่าย
และเมือ่ เป็ น Visual Basic ซึง่ ใช้ลกั ษณะของ การมองเห็นได้ (Visual) ทีเ่ ป็ น
การติดต่อกับผูใ้ ช้ดว้ ยกราฟิก หรือ รูปภาพ (Graphical User Interface -GUI)
จึงทาให้การพัฒนาโปรแกรมใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วขึน้ ถึงแม้จะใช้งานง่าย
แต่กม็ คี วามสามารถสูง เหมาะสาหรับการพัฒนาโปรแกรมใช้งานได้หลายด้าน
เช่น งานคานวณทัวไป
่ งานด้านฐานข้อมูล เกม ฯลฯ และยังได้พฒ
ั นาต่อ
เป็ นภาษา VB.NET อีกด้วย
วิวฒ
ั นาการของ Visual Basic language
โปรแกรมภาษา Visual Basic นัน้ พัฒนาขึน้ มาจากภาษาดัง้ เดิม
คือ ภาษา Basic ซึง่ ภาษาทีใ่ ช้ในการเขียนโปรแกรมในระยะเริม่ ต้นจะใช้งาน
ในแบบ Text Mode ต่อมาประมาณปี ค.ศ.1990 Microsoft ได้ประกาศเปิดตัว
ภาษา Visual Basic ซึง่ เป็ นเหมือนกับชุดเครือ่ งมือ (Tool) ในการสร้างส่วนติดต่อ
กับผูใ้ ช้ในแบบกราฟิก (Graphic User Interface ; GUI) โดยใช้ภาษา Basic
ควบคุมการทางาน หลังจากนัน้ มา Visual Basic ก็ได้รบั ความนิยมเพิม่ มากขึน้
เรือ่ ย ๆ จนกลายมาเป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ทม่ี ผี ใู้ ช้งานมากทีส่ ดุ
วิวฒ
ั นาการของ Visual Basic language
เนื่องจากมีโครงสร้างภาษาทีง่ า่ ย มีชุดเครือ่ งมือ (Tool) ในการสร้าง
ส่วนติดต่อกับผูใ้ ช้ (User Interface) อย่างครบถ้วน และสะดวกต่อการใช้งาน
ทาให้สามารถเรียนรูก้ ารพัฒนาโปรแกรมได้ในระยะเวลาอันสัน้ โดย
Visual Basic ได้มกี ารพัฒนามาตัง้ แต่ Version 1 จนถึง Version 6 ซึง่ เป็ น
แนวทางเดิมโดยการทางานจะยึดติดกับระบบปฏิบตั กิ าร Windows เป็ นหลัก
จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2002 ได้เปลีย่ นเป็ น Visual Basic.NET(หรือVB7)
ทีท่ างานบนแพล็ตฟอร์มแบบใหม่ของ Microsoft ทีเ่ รียกว่า .NET Framwork
แล้วให้มกี ารพัฒนามาเป็ น Visual Basic 2003, 2005, 2008 และในทีส่ ดุ
ก็มาเป็ น Visual Basic 2010
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual Basic
1. Programming environment
เป็ นส่วนทีช่ ว่ ยให้สร้างโปรแกรมง่ายขึน้ เช่น กล่องเครือ่ งมือ (tool
Box) มีปมุ่ ต่าง ๆ สามารถนามาวางบนจอภาพและกาหนดวิธใี ช้ โดยไม่ตอ้ ง
เขียนคาสังเลย
่ ซึง่ ถือเป็ นส่วนสาคัญในการออกแบบโปรแกรม โดยเฉพาะส่วน
จอภาพ(user interface)
2. Language constructs
เป็ นส่วนของรหัสคาสัง่ ซึง่ ก็เป็ นคาหลักทีม่ มี าตัง้ แต่ดงเดิ
ั ่ ม แต่เพิม่
ประสิทธิภาพให้มากขึน้ นอกจากนัน้ ยังมีกลไกในการแบ่งโปรแกรมออกเป็ น
โปรแกรมย่อย ซึง่ เรียกว่า Subroutine Procedure และ Function Procedure
ความสามารถของ Visual Basic
1. เป็ นโปรแกรมประยุกต์ทเ่ี ขียนได้งา่ ย
2. ประสานกับผูใ้ ช้โปรแกรมแบบกราฟิก (GUI)
3. ประยุกต์เข้ากับฐานข้อมูลได้หลาก หลาย
คาศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ Visual Basic
1. วัตถุ (Objects) เป็ นชิน้ ส่วน (Elements) พืน้ ฐานทีส่ ดุ ของโปรแกรม
ทีม่ ี คุณสมบัติ (Property) และวิธกี าร (Method) เป็ นของตัวเอง
คุณสมบัตแิ ละวิธกี ารนี้เอง จะเป็ นตัวกาหนดหน้าทีใ่ ห้กบั วัตถุ และรูว้ ธิ ที ่ี
จะตอบสนองเมือ่ พบกับเหตุการณ์ (Events) ต่าง ๆ
คาศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ Visual Basic
2. วัตถุควบคุม (Controls) เป็ นวัตถุ (Object) ทีท่ าหน้าทีป่ ระสานการ
ทางานให้กบั ผูใ้ ช้โปรแกรม (User Interface)
ตัวอย่าง เช่น กล่องข้อความ (Text box) แถบข้อความ (Label)
ปุม่ คาสัง่ (Command button) เป็ นต้น
คาศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ Visual Basic
3. เหตุการณ์ (Events) เป็ นผลทีเ่ กิดจากการกระทา (Action) ของผูใ้ ช้
โปรแกรม (User) ระบบปฏิบตั กิ าร(OS) หรือตัวโปรแกรมเอง
ตัวอย่าง ของเหตุการณ์ คือ การเคาะแป้นพิมพ์ การกดเมาส์ การ
หมดเวลาทีก่ าหนดไว้ หรือการทางานครบตามเงือ่ นไข เป็ นต้น
คาศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ Visual Basic
4. วิธีการ(Methods) เป็ นแนวปฏิบตั ิ ทีก่ าหนดให้กบั วัตถุหนึ่งวัตถุ
ใดไว้ล่วงหน้าแล้ว ว่า จะต้องทาอะไรบ้างเมือ่ มีเหตุการณ์มากระทบ
ตัวอย่างเช่น แบบฟอร์มซึง่ เป็ นวัตถุชนิดหนึ่ง มี วิธกี ารซ่อนตัว
(Hide Methods) เมือ่ ได้รบั คาสังให้
่ ใช้ วิธกี าร นี้ จะทาให้แบบฟอร์ม
หายตัวไปจากจอภาพ
องค์ประกอบพืน้ ฐานของโปรแกรม Visual Basic
5. โปรแกรมย่อย (Procedures) เป็ นส่วนของโปรแกรมทีเ่ ขียน
ขึน้ มา เพือ่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างหนึ่งอย่างใด ให้สาเร็จ
โดยปรกติโปรแกรมย่อยนี้ เขียนขึน้ เพือ่ ตอบสนองเหตุการณ์ทจ่ี ะ
เกิดขึน้
ตัวอย่างของโปรแกรมย่อยคือ Sub และ Function
องค์ประกอบพืน้ ฐานของโปรแกรม Visual Basic
6. คุณสมบัติ (Property) เป็ นคุณลักษณะประจาตัววัตถุ เช่น
ขนาด ตาแหน่ง สี ฯลฯคุณสมบัติ จะเป็ นตัวกาหนด ลักษณะ
ท่าทาง หรือพฤติกรรม ทีแ่ สดงออกของวัตถุ
ผูเ้ ขียนโปรแกรมอาศัยคุณสมบัตขิ องวัตถุน้ีเองเป็ นแนวทางใน
การส่งหรือรับข้อมูลจากวัตถุหรือส่งข้อมูลให้กบั วัตถุ