การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ด้านการ

Download Report

Transcript การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ด้านการ

ที่มาและความสาคัญ
วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี เป็ นหน่วยงานในกากับของมหาวิ ทยาลัย
เชียงใหม่ จัดตังขึ
้ ้นเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2546 ตามมติสภามหาวิทยาลัยฯ ในคราว
ประชุมครัง้ ที่ 6/2546 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2546 เริ่ มเปิ ดการเรี ยนการสอนครัง้ แรก
ในระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาการจัดการความรู้
ในภาคฤดูร้อน ปี การศึกษา 2547 ซึ่งต่อมาในปี การศึกษา 2549 วิทยาลัยได้ เปิ ดการ
เรี ย นการสอนระดับ บัณ ฑิ ต ศึก ษา หลัก สูต รวิ ท ยาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช า
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
และระดับปริ ญญาตรี รวม 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์ แวร์ (หลักสูตรนานาชาติ ) สาขาวิชาแอนนิ เมชัน และ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสมัยใหม่และเทคโนโลยี (ภาค
ปกติ และภาคพิเศษ)
และในปี การศึกษา 2552 ได้ เปิ ดการเรี ยนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา
เพิ่มอีก 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจั ดการ
ความรู้
เริ่ มเข้ ารับการตรวจรับการประเมินประกันคุณภาพการศึกษา ตั ง้ แต่ปี
การศึกษา 2549 จนถึงปี การศึกษา 2553 โดยเกณฑ์การตรวจสอบการ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยฯ ได้ กาหนดเกณฑ์การประเมิน ตาม
แนวทางของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยมี 9 องค์ประกอบ
ดังนี ้
1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินงาน
2. การผลิตบัณฑิต
3. กิจกรรมพัฒนานิสติ นักศึกษา
4. การวิจยั
5. การบริการวิชาการแก่สงั คม
6. การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
7. การบริหารจัดการ
8. การเงินและงบประมาณ
9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา
จากการเข้ ารับการตรวจรับการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยฯ ได้
ดาเนินการในจัดการระบบสารสนเทศ ด้ านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อยูห่ ลายระบบ
ดังนี ้
• ระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU MIS) อยูใ่ นรูปแบบการจัดเก็บ
ประวัติ ต่างๆ เช่น การพัฒนา การบริการวิชาการ การกรอกภาระงาน (TOR:JA)
การลา ฯลฯ
• ระบบ Dss : Decision Support System for CAMT Executive อยูใ่ นรูปแบบของ
การรายงานสถิติการพัฒนาและการมาปฏิบตั ิงาน
• จัดเก็บไว้ ในรูปแบบ File ข้ อมูล เช่น แผนพัฒนาบุคลากร แผนการจ้ างบุคลากร
ข้ อมูลการพัฒนา ข้ อมูลการลาศึกษาต่อ ฯลฯ
ซึง่ มักจะพบปั ญหาบ่อยครัง้ ในรูปแบบของความต้ องการข้ อมูลในเชิงการ
รายงานผลตามรอบระยะเวลาการประกันคุณภาพการศึกษา และยังขาดระบบ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เพื่อช่วยวางแผนในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
เช่น ข้ อมูลการวิเคราะห์ FTES, SCCH และพัฒนาบุคลากร เช่น ข้ อมูลการวาง
แผนการลาศึกษาต่อของบุคลากร
ข้ อมูลการวางแผนการพัฒนาความก้ าวหน้ า
ตาแหน่งงานของบุคลากร ซึง่ สิ่งเหล่านี ้เป็ นสิ่งที่สาคัญในการผลักดันหลักเกณฑ์การ
ประกันคุณภาพการศึกษาในองค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต และผลักดันภาระกิจ
ตามแผนต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่กาหนด
ด้ วยเหตุนี ้ ผู้ศกึ ษา จึงมีความต้ องการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน
การตัดสินใจของผู้บริหาร ด้ านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และ
เทคโนโลยี จานวน 5 ด้ าน ดังนี ้
•ด้ านการวางแผนอัตรากาลัง
•ด้ านการวางแผนการลาศึกษาต่อ และทุนการศึกษา
•ด้ านการวางแผนความก้ าวหน้ าตาแหน่งทางวิชาการ
•ด้ านการรายงานผลข้ อมูลการพัฒนา
•ด้ านการรายงานผลการมาปฏิบตั ิงาน
โจทย์ วจิ ัย
คาถามหลัก
•ระบบข้ อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ด้ านการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี แตกต่างกับระบบสารสนเทศเดิม
ที่มีอยูแ่ ล้ วหรื อไม่เพียงใด
คาถามรอง
•การสร้ าง และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริ หารฯ
จะช่วยแก้ ไขปั ญหาในการวางแผน และสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารได้ อย่างไร
•จะรวบรวม จัดเก็บข้ อมูลอะไร
วัตถุประสงค์ การวิจัย
- เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร ด้ านการบริหารทรัพยากร
มนุษย์ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี
- เพื่อรวบรวมแผนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ รวบรวมข้ อมูลการพัฒนา และรวบรวม
ข้ อมูลการมาปฏิบตั ิงาน
ประโยชน์ ท่ ีคาดว่ าจะได้ รับจากการวิจัย
- มีระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจสาหรับผู้บริหาร (DSS) ด้ านการบริหารทรัพยากร
มนุษย์
- มีฐานข้ อมูลที่เป็ นปั จจุบนั มีความถูกต้ อง ไม่ซ ้าซ้ อน และสามารถสืบค้ นตามความ
ต้ องการได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
- ผู้บริหาร สามารถนาข้ อมูลมากาหนดเป็ นนโยบายในการบริหาร และพัฒนา ทรัพยากร
มนุษย์ ในวิทยาลัยฯ
- บุคลากรนาข้ อมูลจากระบบเพื่อนาไปใช้ ในการจัดทารายงานการประกันคุณภาพ
การศึกษา ต่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวคิด ทฤษฏีท่ เี กี่ยวข้ อง และการทบทวนวรรณกรรม
การวิจยั เรื่ อง “การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ บริ หาร
ด้ า นการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุษ ย์ วิ ท ยาลัย ศิ ล ปะ สื่ อ และเทคโนโลยี ” มี แ นวคิ ด
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้ อง และการทบทวนวรรณกรรม ดังต่อไปนี ้
•แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ความรู้คืออะไร, แนวคิดการจัดการความรู้ และกระบวนการจัดการความรู้
•แนวคิดเกี่ยวกับการสารสนเทศ
สารสนเทศคืออะไร , คุณลักษณะสารสนเทศที่ดีเป็ นอย่างไร,
•แนวคิดเกี่ยวกับระบบการตัดสินใจของผู้บริหาร
ระบบการตัดสินใจคืออะไร, ส่วนประกอบ DSS, คุณสมบัติ DSS, ความแตกต่าง
ระหว่าง DSS กับสารสนเทศอื่น และการพัฒนา DSS
•แนวคิดเกี่ยวกับวิศวกรรมความรู้
การสร้ างแบบจาลองความรู้ KADS (Knowledge Analysis and Data
Structuring เป็ นวิธีทางวิศวกรรมความรู้อย่างหนึง่ มีกระบวนการดังนี ้
การจับความรู้ (Knowledge Capture)
การวิเคราะห์ความรู้ (Knowledge Analysis)
การสังเคราะห์ความรู้ (Knowledge Synthesis)
การนาความรู้ไปใช้ (Knowledge Utilization)
• แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์, วัตถุประสงค์ของการบริหารทรัพยากร
มนุษย์, ความสาคัญของการจัดการทรัยพากรมนุษย์ และกระบวนการในการ
จัดการทรัพยากรมนุษย์
•มาตรฐาน ISO 12207 และ ISO 15504
ไอเอสโอ 12207 (ISO 12207) (Software Life Cycle)
เป็ นมาตรฐานของวัฏจักรหรือกระบวนการพืน้ ฐานในการพัฒนาซอฟต์แวร์
•การทบทวนวรรณกรรม (งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง)
ณัฐ สิ ท ธิ์ บุ ญ แปลง (2547) มหาวิ ท ยาลัย เชี ย งใหม่ ได้ ศึ ก ษาเรื่ องการ
พัฒนาระบบช่วยในการตัดสินใจทางด้ านวิศวกรรมการผลิต บนเครื อข่ายองค์ก รของ
บริ ษั ท อิ น โนเวกซ์ (ประเทศไทย) จ ากั ด โดยได้ ประยุ ก ต์ ใ ช้ ระบบ DSS
(Decision Supporting System : DSS) โดยได้ พฒ
ั นาบนระบบ
เครื อข่าย Internet
โดยใช้ ภาษา ASP
โดยใช้ โปรแกรมสาเร็ จรู ป
Frontpage
ทรวงชนก คมวัชรพงศ์ (2549) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ ศึกษาเรื่ องการ
พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงบประมาณและทรั พยากรบุคคลของคณะ
บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ ได้ พฒ
ั นางานสาหรับผู้บริ หารและผู้ใช้ งานระบบบน
เว็บไซต์ ในรูปแบบเว็บดาตาเบส
ศันสนีย์ ทิพย์ประเสริ ฐ (2552) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ ศึก ษาเรื่ อง
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรบุคคลในโรงงานอุตสาหกรรม
บริ ษัทมูราตะอิเล็กทรอนิคส์ ประเทศไทย (จากัด) โดยใช้ เครื่ องมือในการพัฒนาระบบ
ได้ แก่โปรแกรมไมโครซอฟท์วิชวลเบสิค 6.0 โปรแกรมไมโครซอฟท์ แอทเซส 2000
และโปรแกรมคริสตัลรี พอร์ ต 8.5
สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์, วิเชียร เกิดสุข, อนาลยา หนานสายออ, คชาโชค
สกุลสุขแก้ ว, สุชาดา จันทร์ สมัคร และกลุนาถ ธะนะศรี (2552) มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ได้ ศึกษาเรื่ องระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อ การพัฒนาทุ่งกุ ลาร้ องไห้
(DSSARMS-TKR
1.0)
โดยมุ่งใช้ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
(Geographic Information System : GIS)
สาราญ แสนสุโพธิ (2553) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ ศึกษาเรื่ องระบบ
ช่วยตัดสินใจสาหรับการจัดการด้ านชลประทานของการปลูกอ้ อยในประเทศไทย โดย
การใช้ สารสนเทศที่มีอยู่ในปั จจุบนั มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ เกิดความเหมาะสม และมี
ความสะดวกในการใช้ งานมากที่ สุด โดยใช้ โปรแกรมวิ เ คราะห์ ข้ อมูล ทางสถิ ติ
STATISTIX รุ่น 8.0 โปรแกรมสาหรับผู้ใช้ งานด้ วย Visual Basic in
Microsoft Excel Programming
วิธีดาเนินการวิจัย
การวิจยั ในครัง้ นี ้ใช้ ISO 12207/15504 โดยมี 15 หัวข้ อดังต่อไปนี ้ ที่นามาปรับใช้
ให้ เหมาะสมจากเดิม 48 กิจกรรม ให้ เหลือ 15 กิจกรรมที่สาคัญ และมีการวัดและ
ประเมินผลตามหลักการของ Deming’s CyelePDCA ซึ่งได้ ได้ แบ่งขันตอนที
้
่สาคัญ 3
ขันตอน
้
คือ
1.การสร้ างระบบการจัดการความรู้ (Eng1-Eng4)
2.การกาหนดและจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ (Man1-Man3)
3.กิจกรรมสนับสนุนการจัดการความรู้ (Rin1-4,Reu1-3,Sup1)
•ENG1 Requirements elicitation
การเก็บความต้ องการ (CommonKADS: Scoping, Knowledge Capture, Case
Study and Validation Meetings)
•ศึกษาข้ อบังคับ ระเบียบ และประกาศ ที่เกี่ยวข้ องกับงานบริ หารงานบุคคล
•ติดต่อ และสอบถามผู้เชี่ยวชาญ จากกองบริ หารงานบุคคล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะต่างๆ
•ประชุมกาหนดขอบเขตเกี่ยวกับกรอบความต้ องการด้ านสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของ
ผู้บริ หาร และปั ญหาเกี่ยวกับจัดการข้ อมูลเดิม ร่วมกับผู้เกี่ยวข้ องกับระบบ เพื่อกาหนดวาระการ
สัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญ
•สัมภาษณ์ และจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโดยตังวาระวิ
้
เคราะห์ และสังเคราะห์ ความรู้ ตาม
มาตรฐาน CommonKADS (Task-Inference-Domain-Knowledge BaseOntology)
•ตรวจสอบความครบถ้ วน โดยนาบทวิเคราะห์ (Transcript) ไปสอบทานความเข้ าใจความ
ถูกต้ อง สมบรูณ์ ครบถ้ วนกับผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริ หาร
•นาผลที่ได้ สอบทานกับผู้เชี่ยวชาญแล้ ว ไปสร้ างแบบจาลองความรู้ตามมาตรฐาน
CommonKADS
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•ENG2System Requirements
การวิเคราะห์ความต้ องการระบบงาน (IEEE830: Business Specification, User
Specification)
•นาข้ อมูลจาก ENG 1 มาวิเคราะห์เพื่อกาหนดคุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่
ต้ องการ และข้ อกาหนดตามความต้ องการของผู้ใช้ ระบบ
•เสนอข้ อกาหนดประเภทผู้ใช้ งาน ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ DSS ตามโปรแกรม
Microsoft SharePoint ได้ แก่ Knowledge Worker (Add กับ Edit ได้ ),
Contributor, Designer, Content Manager, Full Control
Knowledge Worker คือ หน่วยบริ หารงานบุคคล
User คือ ผู้บริ หารทุกระดับ บุคลากรที่รับผิดชอบในสานักงานเลขานุการวิทยาลัย
KMS Support คือ หน่วยคอมพิวเตอร์ และพัฒนาระบบ
•หลังจากจบภาระกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภาระกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•ENG3 Software Requirements Analysis
การวิเคราะห์ความต้ องการซอฟต์แวร์ (IEEE830: System Specification,
Requirement Specification) โดยวิเคราะห์ข้อมูลจาก ENG 1+ENG 2 เพื่อให้ ระบบ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเป็ นไปตามที่ต้องการ
•ออกแบบและเสนอ ข้ อกาหนดความต้ องการ ด้ าน Hardware, Software และ CoP
System Specification
SS-1 Network (CAMT Intranet , Internet)
SS-2 System Software (MS SharePoint 2010)
•วิเคราะห์ความต้ องการในการใช้ งานระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
Requirement Specification
RS–1 ระบบสารสนเทศด้ านการวางแผนอัตรากาลัง
RS-2 ระบบสารสนเทศด้ านการวางแผนการลาศึกษาต่อ และทุนการศึกษา
RS-3 ระบบสารสนเทศด้ านการวางแผนความก้ าวหน้ าตาแหน่งทางวิชาการ
RS-4 ระบบสารสนเทศด้ านการรายงานผลข้ อมูลการพัฒนา
RS-5 ระบบสารสนเทศด้ านการรายงานผลการมาปฏิบตั ิงาน
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•ENG4Software Design
การออกแบบซอฟต์แวร์ (IEEE830: Functional Specification, Design
Specification)
Process:
•กาหนดวิธีลงรหัส (Code) และชื่อมาตรฐาน (Naming Convention) ขององค์ประกอบ
ต่างๆใน MS SharePoint เช่นCoP, Task, Inference, Domain และ Knowledge
Base
•ออกแบบโครงสร้ าง (Program Structure หรื อ Architecture) ของ MS
SharePoint ตามลาดับ CoP, Task, Inference, Domain และ Knowledge
Baseให้ มีการเข้ าถึงหน้ าจอที่จะใช้ งาน ให้ เร็วที่สดุ สะดวกที่สดุ (One Click Society)
•ออกแบบรูปลักษณ์มาตรฐานของส่วนประกอบต่างๆ ได้ แก่ Site, Workspace หรื อ List ต่างๆ
•Output: Design ข้ อกาหนดโครงสร้ างและส่วนประกอบต่างๆของ MS SharePoint
•Outcome:เวลาที่ใช้ ในการออกแบบซอฟต์แวร์ ต่อเวลาตามแผน
•MAN1Organizational Alignment
การสื่อสารในองค์กร (Strategic Planning, Roll-out-> KM Vision + People /
Process / Technology Missions)
•ตรวจสอบ รวบรวมวิสยั ทัศน์ แนวนโยบาย ภาระ หน้ าที่ หรื อแผนการดาเนินงานของวิทยาลัยศิลปะ สื่อ
และเทคโนโลยี ว่าหากนาระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจมาใช้ จะสอดคล้ องหรื อสนับสนุนวิสยั ทัศน์
หรื อนโยบาย หรื อแผนการดาเนินงานได้ อย่างไร
•จัดทาแผนกิจกรรม เพื่อให้ บคุ ลากรทุกคน ได้ เข้ าใจบทบาทหน้ าที่ของตนเอง เพื่อให้ บรรลุถึงวิสยั ทัศน์
•จัดสัมมนาเพื่อสร้ างความเข้ าใจและข้ อเสนอแนะจากบุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•MAN2 Organization Management
•การจัดการองค์กร (Work Breakdown Structure -> Organization
Structure+Jobs (CoP = KM, KE, Experts, Users))
•วิเคราะห์โครงสร้ างของวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี (ก่อนมีระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ)
และทาการวิเคราะห์ปัญหาจากโครงสร้ างเดิม
•ออกแบบปรับปรุงโครงสร้ าง กาหนดภารกิจหน้ าที่ของบุคลากรเพื่อดาเนินการตามวิสยั ทัศน์
•จัดทาคาสัง่ แต่งตังผู
้ ้ มีอานาจ และมอบหมายกาหนดผู้รับผิดชอบระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•MAN3 Project Management
การจัดการโครงการ (Time schedule, Resources (Depletion/NonDepletion = Resource Calendar, Cashflow + Gantt Chart-> Action
Plan) (กิจกรรมทัว่ ไป 1) ตรวจสอบความรู้ 2) กรอบแนวคิดทางธุรกิจ 3) จับ วิเคราะห์
สังเคราะห์ ความรู้ 4) สร้ างระบบ IT 5) นา DSS เข้ าใช้ งานสร้ างกิจกรรม 6) ประเมินผล)
•จัดประชุมผู้บริ หารระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเข้ าร่ วมกาหนดเป้าหมายร่ วมกัน
•แต่งตังคณะท
้
างาน วางแผน ประเมินทรัพยากร เวลา คน อุปกรณ์ สถานที่ งบประมาณ เพื่อบรรลุ
เป้าหมาย ในกิจกรรม
•จัดสัมมนาเพื่อสร้ างความเข้ าใจและข้ อเสนอแนะจากบุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
•จัดประชุมผู้บริ หารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเพื่อรับรองแผนงาน
•ขออนุมตั ิดาเนินโครงการ และทรัพยากรที่ต้องการตามแผนงาน
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
• RIN1 Human Resource Management
การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ (Organization Analysis -> Functions-> Jobs
-> Manpower)
• ทาการศึกษา วิเคราะห์ว่า ควรมีตาแหน่งใดบ้ าง คุณสมบัติตามตาแหน่งงาน ได้ แก่ ขอบเขต
ความรับผิดชอบ การทางานสาคัญ ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ของบุคลากรในตาแหน่งงานต่างๆ
• วิเคราะห์โครงการสร้ างใหม่ขององค์กรที่สนับสนุนการจัดการความรู้ให้ ประสบแผนกาลังคน
5 ปี พร้ อมระบุ User Specification เพื่อรองรับระบบสารสนเทศ ให้ ประสบความสาเร็จ
• หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•RIN2 Training
การฝึ กอบรม(Duties+Tasks->Knowledge+skill+attitude-> Gap
Analysis -> training needs)
-ทาการศึกษา วิเคราะห์ ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ของผู้บริ หาร ผู้เชี่ยวชาญ และ
ผู้ปฎิบตั ิ รวมทังวิ
้ ธีการในการจัดฝึ กอบรม หรื อขอข้ อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
หรื อหน่วยงานภายนอกที่มีความชานาญและเชี่ยวชาญด้ านการจัดฝึ กอบรม เช่น
มีวิธีฝึกอบรมโดยวิธีใดบ้ าง ต้ องใช้ ระยะเวลาใด หลักสูตรต้ องมีเนือ้ หาใดบ้ าง
งบประมาณได้ มาจากที่ใด
-จัดทาข้ อเสนอ นาข้ อมูลที่ได้ ในข้ อ 1) มาเป็ นฐานข้ อมูลเบื ้องต้ น เป็ นแนวทางใน
การกาหนดและจัดทาแผนหลักสูตรการฝึ กอบรม
-หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ อง
เพื่อตรวจสอบ (Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และ
ระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•RIN3 Knowledge Management
การจัดการความรู้ (Portal Software for KMS Project-> Domain
Repository + Portal)
•จัดเก็บเอกสาร ตรวจสอบเอกสารเดิม ตรวจสอบในระบบ KMS และแหล่งข้ อมูลต่างๆที่ใช้ ใน
การออกแบบ ติดตัง้ ระบบสารสนเทศ ตามลิ ้นชักความรู้ Task Taxonomy: QA1,
ENG1, ENG2, ENG3, ENG4, MAN1, MAN2, MAN3, RIN1, RIN2, RIN3,
RIN4, REU1, REU2, REU3 โดยทาการแยกประเภทเอกสารให้ เป็ นหมวดหมู่ ว่าเป็ น
เอกสารประเภทใด และจะต้ องมีการกาหนดรูปแบบ และประเภทของเอกสารที่จะจัดเก็บ
•จัดทาระบบ MySite และนาข้ อมูลทังหมดเก็
้
บลง MySite ใน Microsoft
SharePoint และบันทึกลงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น CD หรื อ DVD เพื่อเป็ นข้ อมูล
BackUp ไว้ อีกชันหนึ
้ ง่
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•
RIN4 Infrastructure
โครงสร้ างพื ้นฐาน (Cost Benefit Analysis ->Cost of Infrastructure,
Cost of Development, Ease of Development, Interface Capabilities,
Control and Security, Scalability)
1) ทาการขอข้ อมูล ติดตัง้ และบารุงรักษา โครงสร้ างพื ้นฐานในการดาเนินโครงการ
จัดการความรู้ เกี่ยวกับ Hardware , Software และระบบ Network จากหน่วยงานที่
เกี่ยวข้ อง เพื่อนามาวิเคราะห์ในการสร้ างและใช้ งานระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจว่าจะต้ องมี
Hardware , Software และระบบ Network อะไรบ้ าง ที่มีอยู่แล้ วใช้ ได้ หรื อไม่ และต้ องมี
อะไรเพิ่มถึงจะเหมาะสมกับระบบ
2) จัดทารายงาน วิเคราะห์ ในการจัดหาอุปกรณ์ Hardware , Software และระบบ
Network เพื่อใช้ กบั KMS เพียงพอหรื อไม่ ต้ องมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้ างพื ้นฐานที่
รองรับกิจกรรมการจัดการความรู้ รวมทังต้
้ องมีแผนการจัดซื ้อครุภณ
ั ฑ์เพิ่มเติม เช่น
2.1)
อุปกรณ์ใดมีอยู่แล้ ว มีอายุการใช้ งานกี่ปี และมีจานวนเท่าใด
2.2)
อุปกรณ์ใดต้ องหาเพิ่ม จะหาเพิ่มด้ วยวิธีใดบ้ าง เช่น เช่า เช่าซื ้อ ซื ้อ ราคาเท่าใด
3) หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อ
ตรวจสอบ (Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป
(Act)
•REU1Asset Management
การจัดการทรัพย์สิน (Balance Service Performance <> Economic
Performance, Registration, Classification, Life, Risk Management ->
invest, outsource, lease, rent, maintain, keep, upgrade, replace,
dispose)
•นโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎเกณฑ์ ในการจัดการทรัพย์สิน คือ
ใช้ ทรัพย์สินเดิมให้ มากที่สดุ ซื ้อเพิ่มเท่าที่จาเป็ น
ใช้ ซอฟต์แวร์ ถกู ต้ องตามกฎหมาย
มีแผนซื ้อหรื อเช่าทดแทน
การทาสัญญาซ่อมบารุง
มีการตรวจสภาพ ซ่อมและซื ้อทดแทน
การใช้ ฐานข้ อมูลในการใช้ งานเพื่อจาหน่ายซาก
•แบ่งประเภททรัพย์สิน ตามประเภทการใช้ งาน กาหนดอายุการใช้ งาน แผนการซื ้อทดแทนเมื่อ
หมดอายุ (Spending Plan)ป
Server อายุ 3 ปี
System Software Server อายุ 3 ปี
Network อายุ 3 ปี
KMS Software อายุ 3 ปี
•จัดทามาตรฐานการตรวจรับ การตรวจสอบทรัพย์สินประจาปี (เงื่อนไขการตัดสินใจ ความเสี่ยง
ต่างๆ เช่นเสียบ่อย ไม่มีผ้ ขู ายหรื อบริ การหลังการขาย เทคโนโลยีล้าสมัย ค่าใช้ จ่ายสูงเกินไป) การ
จาหน่ายซากและทดแทน
•จัดทามาตรฐานการเบิกจ่าย รับผิดชอบครุภณ
ั ฑ์
•จัดทาฐานข้ อมูลทะเบียนและประวัติการใช้ งานบารุงรักษาทรัพย์สิน
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆ ไป (Act)
•REU2 Reuse Program Management
การใช้ ซ ้าโปรแกรมข้ อมูลต่างๆ (Normalization)
•กาหนดยุทธศาสตร์ กฎเกณฑ์ ในการใช้ ซ ้าหรื อไม่ทาซ ้า
ต้ องไม่มีข้อมูลที่ซ ้าซ้ อน
มีอยู่แล้ วไม่ทาซ ้า
พยายามใช้ Template
•วิเคราะห์หาโอกาสในการใช้ ซ ้า
เอกสารกากับงาน ISO12207 (QA1, ENG4, RIN3, RIN4, REU1,
REU2)
Workspace Templates
Knowledge Map Templates
•จัดทาเกณฑ์มาตรฐานการใช้ ซ ้า การตรวจสอบการออกแบบซ ้า และการฝึ กอบรม
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป (Act)
•REU3 Domain Engineering
ความรู้เฉพาะงาน(CommonKADS Knowledge Model)
•ทาการวิเคราะห์ผล ENG1 ถึง ENG4 และ MAN1 เพื่อตรวจสอบว่าสามารถนาอะไรไปใช้
ซ ้าได้ บ้าง ภายใต้ เงื่อนไขว่าต้ องใช้ ซ ้าได้ มากที่สดุ และจัดทารายงานหัวข้ อความรู้ที่สามารถนาไป
ประยุกต์ต่อได้ เพื่อลดงานในการทาการจัดการข้ อมูลเรื่ องที่คล้ ายกัน
•หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน (Do) ประชุมผู้เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบ
(Check) และนาไปปรับปรุงแนวทางในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครัง้ ต่อๆไป
(Act)
1.กระบวนการประเมินค่ าข้ อมูล (Data Analysis ด้ วย CommonKADS มีการ จัดข้ อมุล
วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร ข้ อมูลใดมีความหมายหรื อไม่มีความหมาย)
เมื่อได้ ทาการศึกษาและรวบรวมข้ อมูลตามกระบวนการมาตรฐาน ISO12207/15504
ที่เลือกดาเนินการจานวน 15 Tasks จากนันท
้ าการวิเคราะห์และประเมินค่าข้ อมูล โดยวิธีกระบวนการ
Common KADS เพื่อสร้ างแผนที่ความรู้ (Knowledge Map) แสดงกระบวนการตังหลั
้ กการ
(Conceptualization) และแบบจาลองความรู้ (Knowledge Model) ที่ใช้ ในการทางาน
แก้ ปัญหา หรื อตัดสินใจ ซึง่ แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ ได้ แก่
1) แบบจาลองความรู้ภารกิจ (Task Knowledge)
2) แบบจาลองความรู้วิธีการคิด (Inference Knowledge)
3) แบบจาลองความรู้หลักการเฉพาะปั ญหา (Domain Knowledge)
เมื่อได้ แบบจาลองความรู้ทงั ้ 3 ระดับ แล้ วจะนาประเมินค่าข้ อมูลที่ได้ จากการสาธิตระบบ และ
แผนการจัดการระบบ ตลอดจนการเสนอกิจกรรมเกี่ยวกับระบบต่อ ผู้บริ หาร ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อ
พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ ผลสาเร็จ ของการศึกษาว่าจะบรรลุวิสยั ทัศน์หรื อสามารถแก้ ปัญหาได้ จริ งหรื อไม่
ใช้ หลักการพิจารณาตามหัวข้ อต่อไปนี ้ เพื่อนาไปวิเคราะห์สรุปผลการศึกษาต่อไป
1) ความเป็ นไปได้
2) ข้ อดี
3) ข้ อเสีย/ข้ อด้ อย
4) ข้ อปรับปรุง/ข้ อเสนอแนะ
5) ประโยชน์ที่ได้ รับ
ระยะเวลาการดาเนินงานวิจัย
55
IT-Based KMS
KMS
55
55
55
.55
.56
.56