Transcript C3=702351

1. นโยบายสินเชื่อของสถาบันการเงิน
2. นโยบายสินเชื่อของธุรกิจการค้า
นโยบายสินเชื่อของสถาบันการเงิน
 นโยบายคืออะไร?
 คือกรอบแนวทาง ที่กาหนดทิศทางการดาเนินงานที่กาหนดโดย
ผูบ้ ริหาร มีผลต่อการกาหนดเป้ าหมาย และ การกาหนดกลยุทธ์
เพื่อบรรลุเป้ าหมายนัน้ ๆ => การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ
ระบบการทางาน => ส่งผลต่อผลประกอบกิจการ
 นโยบายสินเชื่อ จึงเริ่มตัง้ แต่ ...
 ก่อนอนุมตั ิ คือการพิจารณาสินเชื่อ => การอนุมตั ิ =>
การติดตามหนี้ => การประนอมหนี้ /ปรับโครงสร้างหนี้
นโยบายสินเชื่อ & วัฒนธรรมสินเชื่อ
วัฒนธรรมขององค์กร มีอิทธิพลต่อการกาหนดนโยบาย
 วัฒนธรรม หมายถึง วิธปี ฎิบตั ทิ ค่ี นส่วนใหญ่ในสังคมยึดถถอปฎิบตั ิ
 ทัง้ ที่มีกฎ ระเบียบปฎิบต
ั ิ กาหนดไว้อย่างชัดเจน
 เป็ นทาเนี ยมปฏิบต
ั ิ ถ่ายทอดกันมาแต่โบราณ
แสดถงถึงความเชอ่ ค่านิยม (Value) และการยอมรับ
ในสังคม
ธนาคารที่มีวัฒนธรรมสินเชื่อที่เข้ มแข็ง
พนักงานทุกระดถับในกระบวนการอนุมตั สิ นิ เชอ่ จะต้องมี
ความรับผิดถชอบต่อคุณภาพของสินเชอ่
•
ผู้บริหารระดับสูงตองมี
ความมุงมั
่ ทีจ
่ ะให้มีการปฏิบต
ั ิ
้
่ น
ตาม
หลักการสิ นเชือ
่ ทีถ
่ ก
ู ตอง
้
มาตรฐานสินเชื่อ จะต้องสาคัญกว่า การขยายตัวของสินเชื่อ
[ ทัง้ ในระยะสัน
้ , ปานกลาง , ระยะยาว ]
•
ผู้บริหารระดับสูง เริม
่ ตัง้ แต่ CEO ตองแสดงให
้
้เห็ น
วามาตรฐานสิ
นเชือ
่ และนโยบายสิ นเชือ
่ เป็ นเรือ
่ งสาคัญ
่
สูงสุด
ตัวอย่างของวัฒนธรรมสินเชื่อของ ธนาคาร SCB
 เปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็น - โต้เถียงในประเด็นความ
เสี่ยงสินเชื่ออย่างสร้างสรรค์ [ ไม่มีบรรยากาศของการเป็ นศัตรู]
การตัดสินใจต้องโปร่งใสและอธิบายได้
 พนักงานทุกระดับต้องมีความเชื่อว่า ความสามารถในการบริหาร
ความเสี่ยงสินเชื่อของเขา จะเป็ นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
ความก้าวหน้ าในงาน
 พนักงานทุกระดับต้องได้รบั การอบรม - ฝึ กฝน เพื่อเพิ่มทักษะ
ตัวอย่างของวัฒนธรรมสินเชื่อของ ธนาคาร SCB
 พนักงานสินเชอ่ ต้องกล้าทีจ่ ะ Say “ NO ” บนหลักการ
ความเสีย่ งทีถ่ กู ต้อง
 คุณภาพสินเชอ่ “Credit Quality” ต้องมีความสาคัญ
กว่า การไดถ้เป้าสินเชอ่ “Growth” แต่ไม่มคี ุณภาพ
 ท่านมีความคิดถเห็นอย่างไร ต่อธนาคารทีก่ าหนดถนโยบายให้กู้
ไดถ้100% ของมูลค่าหลักประกัน เพอ่ ให้ไดถ้เป้าสินเชอ่ หรอแย่ง
ชิงส่วนแบ่งตลาดถมาจากคูแ่ ข่ง
 (ดถึงดถูดถใจลูกค้า แต่เพิม่ ความเสีย่ งให้ธนาคาร)
นโยบายสินเชื่อ
การอนุมตั ิและบังคับใช้ นโยบายสินเชื่อเป็ นความรับผิดชอบหลัก
ของกรรมการและผู้บริ หารระดับสูง เพื่อให้ แน่ใจว่าจะบรรลุถงึ
จุดมุง่ หมายของธนาคาร
นโยบายสินเชอ่ ไม่เพียงแต่ กาหนดถแนวทางในการ
ปฏิบตั งิ านดถ้านสินเชอ่
นโยบายสินเชอ่ ยังเป็ นการส่งเสริมวัฒนธรรมสินเชอ่
ของธนาคารให้เข้มแข็งขึน้
 พนักงานทีอ่ ยูใ่ นกระบวนการสินเชอ่ ทุกคนต้องทาความเข้าใจ
และปฏิบตั ติ ามนโยบายสินเชอ่ อย่างเคร่งครัดถ
 เป็ นทีย
่ อมรับและเข้าใจโดถยพนักงานสินเชอ่ ทุกคน
 มีการบังคับใช้โดถยผูบ
้ ริหารในสายงาน
 นโยบายสินเชอ่ โดถยทัวไปจะต้
่
องมีกระบวนการสินเชอ่ ทีดถ่ ี
สนับสนุน
 นโยบายสินเชอ่ จะต้องมีการปรับเปลีย่ นให้เข้ากับสถานการณ์
เศรษฐกิจ แต่ตอ้ งคงในหลักการทีต่ อ้ งเป็ นไปตามหลักการ
สินเชอ่ ทีถ่ กู ต้อง และโปร่งใส
 นโยบายสินเช่อทีดถ่ ี ต้องเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีความชัดถเจน
กระชับเจาะจง และไม่กากวม (มีวิจยั รายงานว่าการกาหนด
นโยบายไม่ชดั เจน เป็ นอุปสรรคสาคัญที่สดุ ที่พนักงานรู้สึกไม่พอใจ
กับการทางาน)
 นโยบายสินเช่อต้องกาหนดถจากส่วนกลาง
 ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงนโยบายสินเช่อจะต้องมีการสอ่ สาร
กับพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องอย่างชัดถเจน
 บริหารการกระจุกตัว( concentration )ของความเสีย่ ง
ทุกประเภท [ ภูมภิ าค, อุตสาหกรรม, ประเภทหลักประกัน,
ประเภทสินเช่อ] ต้องถูกควบคุมดถูแลจากส่วนกลาง
เช่นการกาหนดถ Concentration Limit , Single
Lending Limit
วัตถุประสงค์ของการให้ สินเชื่อของสถาบันการเงิน
 1. เพอ่ ผลกาไรขององค์กร จากการให้สนิ เช่อทีม่ ปี ระสิทธิภาพ=>
 มีสภาพคล่องดถี ปลอดถภัย และมีกาไร
 ถ้าหากเราเน้ นความปลอดภัยมากเกินไป จะเป็ นยังไง.......ตกลงเมื่อ
พิจารณาสินเชื่อแล้วเห็นว่ามีความเสี่ยงทุกราย ก็เลยไม่ปล่อยสินเชื่อ...
ธนาคารจะอยู่ได้อย่างไร
 2. เพอ่ สามารถแข่งขันกับคูแ่ ข่งไดถ้ หากคูแ่ ข่งมีผลิตภัณฑ์ทางการเงิน
ใหม่ๆ หรอบริการใหม่ๆ องค์กร ก็ตอ้ งพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
เพอ่ ให้สามารถแข่งขันกับคูแ่ ข่งไดถ้ จะไดถ้ไม่สญ
ู เสียลูกค้าไป แม้วา่
บางครัง้ ต้องลงทุนในการทา R&D หรอ อัดถฉีดถงบ promotion
ก็จาเป็ นต้องทา (แม้วา่ จะทาให้กาไรในปจั จุบนั ลดถลง แต่กาไรใน
อนาคตจะเพิม่ ขึน้ ) เช่น สินเช่อสาหรับบุคลากรในสายอาชีพ แพทย์
3. ความรับผิดชอบของผู้ฝากเงิน และความรับผิดชอบต่อสังคม
 ต้องรักษาประโยชน์ ของผูฝ
้ ากเงินด้วย เช่นผูฝ้ ากต้องการถอนเงิน
ธนาคารต้องมีเงินพร้อมให้ถอนตลอดเวลา (วิกฤติต้มยากุ้ง ทาให้
ธปท.กาหนดว่าธพ.ต้องมีเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง 8.5% )
 หน้ าที่หลักของสถาบันการเงินคือ ส่งเสริมให้มีการลงทุนและมีผลผลิต
ทาให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเติบโตขึน้ การมีความรับผิดชอบต่อ
สังคม ก็คือการรักษาจรรยาบรรณนัน่ เอง กล่าวคือ การซื่อตรงต่อ
หน้ าที่
 การปล่อยสินเชื่อแก่พรรคพวก หรือเพื่อผลประโยชน์ หรือการ
สนับสนุนธุรกิจที่ไม่สร้างสรรค์ เช่น Pub Bar ร้าน Game เป็ น
สิ่งที่สถาบันการเงินต้องพิจารณาว่า จะก่อให้เกิดประโยชน์ แก่สงั คม
มากกว่า สนับสนุนให้เกิดปัญหาสังคมหรือไม่
ปั จจัยในการกาหนดนโยบายสินเชื่อ
ของสถาบันการเงิน
 1. ต้องดาเนินกิจการภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของธนาคารแห่งประเทศไทย
 เน่องจากสถาบันการเงินระดถมเงินทุนจากประชาชน ไม่วา่ จะเป็ นในรูปเงินฝาก หรอ ตั ๋ว
เงิน เพอ่ นาไปปล่อยสินเชอ่ แก่ภาคธุรกิจ และส่วนบุคคล ซึง่ มีความเสีย่ ง ดถังนัน้ จึงต้องมี
การกาหนดถกฎเกณฑ์ต่างๆ ออกมาใช้บงั คับ ให้สถาบันการเงินต้องปฏิบตั ติ าม เพอ่ ลดถ
โอกาสทีจ่ ะต้องเผชิญความเสีย่ งลงให้เหลอน้อยทีส่ ดถุ เพอ่ ปกป้องผูฝ้ ากเงินหรอประชาชน
นันเอง
่
 2. สถานภาพ หรือโครงสร้างเงินทุนของธุรกิจ
 สถาบันการเงินจะต้องปล่อยสินเชอ่ บนหลักของความปลอดถภัยของผูฝ้ ากเงิน ประเภท
และระยะเวลาในการให้สนิ เชอ่ จะต้องสัมพันธ์กบั เงินฝาก เช่น ปล่อยกูย้ าว ให้สอดถคล้อง
กับเงินฝากระยะยาว หรอ เงินทุนในส่วนของทุน ส่วนเงินฝากสัน้ หรอออมทรัพย์กต็ อ้ ง
ปล่อยกูร้ ะยะสัน้ เท่านัน้
3. ความเสี่ยงภัยและผลกาไรที่พงึ ได้
 นโยบายเกี่ยวกับความเสี่ยงภัย
 1. นโยบายการเสี่ยงภัยน้ อยที่สดุ
 จะคัดเลือกลูกค้าที่มีความมันคง
่ แต่อาจจะได้กาไรน้ อย
 2. นโยบายกระจายความเสี่ยง
 ให้สินเชื่อแก่กลุ่มธุรกิจหลากหลาย ซึ่งนักวิเคราะห์สินเชื่อจะต้องมีความรู้ในธุรกิจ
หลากหลายประเภท ไม่อิงอยู่กบั อุตสาหกรรมใดมากเกินไป
 3. นโยบายป้ องกันการกระจุกตัวของการให้สินเชื่อ
 การกระจายการให้สินเชื่อทัง้ ลูกค้ารายใหญ่ รายย่อย ex. ลูกค้า Top 10 มี
มูลค่ากี่% ของสินเชื่อทัง้ หมด
 4. นโยบายกล้าเสี่ยง
 มีการพิจารณาปล่อยสินเชื่อในธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง เช่น การออกผลิตภัณฑ์ใหม่
สู่ตลาด อาจมีการคิดดอกเบีย้ แพง ซึ่งจะทาให้ธนาคารมีโอกาสมีกาไรสูงกว่า
นโยบาย conservative ex. Subprime กล้าเสี่ยงเกินไป?
4. ภาวะเศรษฐกิจ
 เศรษฐกิจดี การลงทุนสูง ปล่อยสินเชื่อได้มากขึน
้
 เศรษฐกิจซบเซา การลงทุนหดตัว ปล่อยสินเชื่อน้ อย
 Ex. ช่วง 2-3 ปี ที่ผา่ นมา มีโครงการคอนโดมิเนี ยมผุดขึน
้ ในกรุงเทพฯ
เยอะมาก ดังนัน้ ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ออกมากาหนด
หลักเกณฑ์ในการปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์
แบงค์ชาติแจงรายละเอียดคุมเงินกู้อสังหาริ มทรัพย์
 ธนาคารแห่งประเทศไทย ชี้ ยังไม่เกิดฟองสบูแ่ ตก แต่เห็นว่า ภาวะการแข่งขัน
ระยะหลังรุนแรงมากขึน้
 “แบงก์ชาติ” ประกาศคุมเงินกู้อสังหาริมทรัพย์ที่ราคาตา่ กว่า 10 ล้านบาท โดย
ธนาคารจะปล่อยกู้คอนโดมิเนี ยมได้ไม่เกิน 90% มีผล 1 มกราคม2554 ส่วนบ้าน
เดี่ยว ทาวน์ เฮ้าส์ ให้ก้ไู ม่เกิน 95% แฉผูป้ ระกอบการใช้โปรโมชันลด
่ แลก แจก
แถม หวังดึงผูซ้ ื้อ อาจนาไปสู่ภาวะ “ฟองสบูแ่ ตก” ได้
 ก่อนหน้ านี้ ธปท.จะควบคุมเฉพาะการปล่อยกู้ที่อยู่อาศัยราคา 10 ล้านบาทขึน
้ ไป
ซึ่งกาหนดให้ปล่อยกู้ได้ไม่เกิน 80% หรือผูซ้ ื้อต้องวางเงินดาวน์ 20% ของราคาที่
อยู่อาศัย
 Why คอนโด 90% ส่วนบ้านเดี่ยว ทาวน์ เฮ้าส์ 95% ?
ปั จจัยในการกาหนดนโยบายสินเชื่อ
ของสถาบันการเงิน
 5. นโยบายการเงินของรัฐบาล ในการควบคุมปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
 เช่นการกาหนดอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ตาม ธปท.กาหนด 8.5%
(Ex. SCB 15%, KTB 16%)
 6. ความสามารถของบุคลากรฝ่ ายสินเชื่อ
 เจ้าหน้ าที่สินเชื่อที่มีคณ
ุ ภาพ เป็ นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่ ง ที่จะทาให้เกิดการปล่อย
สินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องเป็ นผูม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการ
วิเคราะห์สินเชื่อ ทัง้ ในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ธุรกิจและตัว
ผูป้ ระกอบการ
นโยบายสินเชื่อของสถาบันการเงินควรประกอบด้ วย
 1. อานาจการอนุมตั ิ (ดูเอกสาร bank ชาติ 4.1.2)
 การกระจายอานาจการอนุมต
ั ิ ทาให้เกิดความคล่องตัว แต่อาจเพิ่ม
ความเสี่ยง ต้องพิจารณา (การกระจายอานาจ การรวบอานาจ ดี-ไม่ดี
อย่างไร)
 ประสบการณ์ ผบ
้ ู ริหารสินเชื่อ (ทัง้ ความรู้และความซื่อสัตย์สจุ ริต)
ขนาดของเงินกู้
 การควบคุมภายในที่ มีประสิทธิภาพ
 2. การกาหนดพิธีการสินเชื่อ
 ทุกอย่างต้องเป็ นไปตามขัน้ ตอน มีเอกสารครบถ้วน (ดูเอกสาร
bank ชาติ 4.1.3)

กระบวนการสินเชื่อ
การริเริม่ และการวิเคราะห์สนิ เชอ่
การวัดถความเสีย่ งสินเชอ่
การควบคุมสินเชอ่ และการบริหารสินเชอ่
การแก้ไขสินเชอ่ มีปญั หา
3.การวางเงื่อนไข และการจัดอันดับคุณภาพลูกหนีแ้ ละ
การกาหนดวงเงิน
 ใช้การจัดถสาดถับความเสีย่ งสินเชอ่ (Credit Risk Rating) ในการวัดถความเสีย่ งจาก
การผิดถนัดถชาระหนี้ (Default Risk) สาหรับลูกค้าธุรกิจ
Credit Risk Rating :
 เพื่อระบุโอกาสที่ลกู หนี้ จะผิดนัดชาระหนี้ :
 Industry Risk Rating
 Business Risk Rating
 Financial Risk Rating
ex>. SCBหลักเกณฑ์การจัด Credit Risk Rating
(CRR)
CRR 13 ระดับ
1. INDUSTRY INFORMATION
2. BUSINESS INFORMATION
3. FINANCIAL INFORMATION
01 EXCEPTION
02 EXCELLENT
03 STRONG
04 GOOD
05 SATISFACTORY
06 ADEQUATE
07 MARGINAL
08 WEAK
09 VERY WEAK
10 SPECIAL MENTIONED
11 SUB STANDARD
12 DOUBTFUL
13 DOUBTFUL LOSS
20
นโยบายสินเชื่อของสถาบันการเงินควรประกอบด้ วย
 4. การกาหนดถประเภทของสินเชอ่ ทีค่ วรส่งเสริมและไม่ควรส่งเสริม
 Ex. ส่งเสริม ธุรกิจ sme, otop, นวัตกรรม ทีม่ ศี กั ยภาพและมีการเติบโตของตลาดถ
สินเชอ่ เพอ่ สิง่ แวดถล้อม ไม่สง่ เสริมธุรกิจทีต่ ลาดถเริม่ ชะลอตัวหรออิม่ ตัว เช่น ธุรกิจบ้าน
จัดถสรรกลุ่มตลาดถล่าง (แม้วา่ ตลาดถจะกว้างแต่กาลังซอ้ มีจากัดถและอาจไดถ้รบั ผลกระทบจาก
ภาวะเศรษฐกิจสูง) หรอคอนโดถ เน่องจากมีการเก็งกาไรมาก
 5. การกาหนดถอัตราดถอกเบีย้
 กาหนดถผลตอบแทนให้เหมาะสมกับความเสีย่ ง (RAROC: Risk Adjusted
Return on Capital) ex. ลูกค้าชาระหนี้ตรงเวลา มีการปรับลดถอัตราดถอกเบีย้
 6. การกาหนดถหลักประกัน
 Ex. ธนาคารกาหนดถให้มกี ารทบทวนราคาประเมินของหลักประกัน และทบทวนวงเงิน
สินเชอ่ ทีม่ หี ลักประกันเป็ นอสังหาริมทรัพย์ เน่องจากมีการเปลีย่ นแปลงของราคา
ex.โครงการเงินกู้เพื่อสิ่งแวดล้ อม ธ.กรุงไทย
 เพื่อจัดให้มีระบบบาบัดอากาศ/ น้าเสีย ระบบกาจัดของเสีย/ อุปกรณ์ เพื่อ
ควบคุมบาบัดหรือขจัดมลพิษที่เกิดจากกิจกรรม / การดาเนินกิจการของตนเอง
เพื่อให้เป็ นไปตามกฎหมาย
 เพื่อรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียตาม พรบ. ส่งเสริมและ
รักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
 อัตราดอกเบีย้ & หลักประกัน
กรณี ใช้หนังสือคา้ ประกันของธนาคาร หรือ โอนสิทธิฯ เงินฝาก
 3% กรณี ใช้หลักทรัพย์อื่นเป็ นหลักประกัน
 2%
นโยบายสินเชื่อของสถาบันการเงินควรประกอบด้ วย
 7. การกาหนดถระบบงานการให้สนิ เชอ่
 Ex. การแยกหน่วยธุรกิจสัมพันธ์ออกจากงานดถ้านอนุ มตั สิ นิ เชอ่ เพอ่ ให้เกิดถอิสระใน
กระบวนการพิจารณาสินเชอ่
 การจัดถทามาตรฐานการอานวยสินเชอ่ เพอ่ เป็ นเครอ่ งมอกากับการดถาเนินงานของ
เจ้าหน้าที่ ใช้เป็ นกรอบแนวทางในการบริหารสินเชอ่
 8. การกาหนดถนโยบายติดถตามหนี้
 มีการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพสินเชอ่ ของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ พิจารณาปรับ
เงอ่ นไขให้เหมาะสมกับสถานะของลูกค้า ก่อนทีจ่ ะมีการผิดถนัดถชาระหนี้
 9. การกาหนดถแนวทางการแก้ไขปญั หาลูกหนี้ทม่ี ปี ญั หา
 การประนอมหนี้ การยดถระยะเวลาชาระหนี้ แต่ละธนาคารก็มนี โยบายแตกต่างกัน เช่น
นโยบาย cut loss คอการพิจารณาลดถมูลหนี้ให้ หากลูกค้าสามารถชาระไดถ้ เพ่อให้
สิน้ สุดถ
นโยบายสินเชื่อของธุรกิจการค้ า
 กาหนดโดยผูบ
้ ริหารระดับสูงของธุรกิจ
 โดยพิจารณา
 วัตถุประสงค์ของธุรกิจ การแข่งขัน ภาวะเศรษฐกิจ ขนาดของเงินลงทุนในลูกหนี้
ความเสี่ยงภัยที่ยอมรับได้ ความสามารถของผูบ้ ริหารสินเชื่อ
 การขยายระยะเวลาให้สินเชื่อ เป็ นเครื่องมือหนึ่ งหนึ่ งในการช่วยให้ยอดขาย
ขยายตัว
 ในการตัดสินใจว่าควรขยายระยะเวลาสินเชื่อทางการค้าหรือไม่ ท่านต้องใช้
หลักการพิจารณา รายได้ส่วนเพิ่มและค่าใช้จ่ายส่วนเพิ่ม (ต้องคานึ งถึง
อะไรบ้าง? ดูตย. ในหนังสือหน้ า40)
 นโยบายอาจเป็ นแบบเข้มงวด หรือ ไม่เข้มงวด
การกาหนดนโยบายสินเชื่อของธุรกิจ
 1. วงเงินสินเชื่อ (Credit Limit)
 2. เงื่อนไขเวลาสินเชื่อ (Credit term)
 2.1 Credit period ระยะเวลาสูงสุดในการชาระหนี้
 2.2 Cash discount ส่วนลดเงินสด
 3. มาตรฐานสินเชื่อ (Credit Standard)
 พิจารณา 5 Cs ของลูกค้า ประกอบการให้เครดิต
 4. นโยบายการเก็บหนี้ (Collection Period)
นโยบายสินเชื่อแบบไม่เข้ มงวด
 1. เมื่อธุรกิจมีสภาพคล่องดี อาจมีการขยายระยะเวลาการชาระหนี้ ให้นานขึน
้
เพื่อจูงใจลูกค้า => ธุรกิจต้องใช้เงินลงทุนในลูกหนี้ การค้ามากขึน้
 2. ธุรกิจขนาดใหญ่ มีค่าใช้จ่ายคงที่มาก การปล่อยสินเชื่อแบบไม่เข้มงวด ทาให้
ยอดขายเพิ่มขึน้ ทาให้กิจการมีกาไรส่วนเกินมาชดเชยค่าใช้จ่ายคงที่ได้มากขึน้
=> ความเสี่ยง? Ex. โรงแรม ให้เครดิต บ.ทัวร์
 ธุรกิจที่แข่งขันสูง หรือเสนอขายผลิตภัณฑ์ใหม่ อาจต้องใช้นโยบายแบบไม่
เข้มงวดเพื่อเข้าสู่ตลาดหรือเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด
 ความจาเป็ นในการระบายสินค้าแฟชัน่ อาจต้องเสนอเงือ่ นไขที่ผอ่ นปรนแก่
ลูกค้า
 กิจการอาจพิจารณาให้สินเชื่อแบบไม่เข้มงวด แบบ เฉพาะกิจ สาหรับลูกค้า
เก่าแก่ที่อาจประสบปัญหาเป็ นการชัวคราว
่
 ข้อควรระวัง การให้สินเชื่อแบบไม่เข้มงวดมีความเสี่ยงมากกว่า จึงต้องมีการ
วิเคราะห์ลกู ค้า และระบบการติดตามหนี้ ที่ดีด้วย
นโยบายสินเชื่อแบบเข้ มงวด
 1. สถานะการเงินของกิจการเริ่มคล่องตัวน้ อยลง
 2. เมื่อธุรกิจเราเริ่มเป็ นที่นิยม เราะอาจพิจารณาลดระยะเวลาการให้เครดิตลง
ได้ หรือแม้แต่ขายเงินสด
 สินค้าที่มี Margin ตา่ ๆ ไม่สามารถจะให้ระยะเวลาการชาระหนี้ ยาวได้ เช่น
น้ามัน
 ภาวะเศรษฐกิจโดยทัวไป
่ หากเริ่มถดถอย ก็ต้องปรับนโยบาย เพราะทาให้
แนวโน้ มที่ลกู ค้าจะมาชาระหนี้ ช้าลง หรือหนี้ สญ
ู เพิ่มขึน้