บทที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเก
Download
Report
Transcript บทที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเก
วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ
(Information Analysis and Creativity)
หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ
สุชรี า พลราชม
บทที่ 6
ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์
สารสนเทศ
ความหมายของการวิเคราะห์สารสนเทศ
หมายถึง การพิจารณาแยกและจัดเก็บ
วัสดุสารสนเทศ อย่างเป็ นระบบ เพื่อ
อานวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้ในการเข้าถึง
สารนิเทศ
หมายถึง การเข้าใช้วส
ั ดุสารสนเทศ รวมทัง้
สาระสาคัญในสารสนเทศ ได้อย่างมีระบบ เช่น
สามารถเลือกใช้หนังสือ เอกสาร สื่อโสตทัศน์ ที่มี
การจัดไว้ให้บริการ โดยอาศัยเครื่องมือที่สถาบัน
บริการสารสนเทศ จัดไว้ให้ได้ดว้ ยตนเอง อันจะ
เป็ นวิธีจงู ใจให้นกั ศึกษา นักวิชาการและ
ผูการเข้
ใ้ ช้บริการสารนิ
เทศอื่น ๆ รูส้ ึกถึงความเป็ นอิสระ
าถึงสารสนเทศ
ที่จะใฝ่ หาความรู้
ความสาคัญของการวิเคราะห์สารสนเทศ
สังคมปั จจุบัน ในศตวรรษที่ 20 เรียกได้
ว่าเป็ นสังคมสารสนเทศ หรือยุคของข่าวสาร
เพราะสารสนเทศ เป็ นทรัพยากรสาคัญอย่าง
หนึง่ สาหรับการพัฒนาทุก ๆ ด้าน เท่าเทียม
กับทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย์
สารนิเทศได้ทวีขนึ้ อย่างรวดเร็วทัง้ ในด้าน
ปริมาณและรูปลักษณ์
วัตถ ุประสงค์ของการวิเคราะห์สารสนเทศ
1.
เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บสารสนเทศ
อย่างเป็ นระบบ
2. เพื่อความสะดวกในการค้นคืน
สารสนเทศ กลับมาใช้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ คือ ถูกต้อง รวดเร็ว
และประหยัด
วัตถ ุประสงค์ของการวิเคราะห์สารสนเทศ
3.
4.
เพื่อการเรียบเรียงและจัดลาดับสารสนเทศ ใน
รูปแบบอื่น ๆ ต่อไป เช่นนาข้อมูลทางบรรณานุกรม
ที่อยู่ในรูปบัตรหรือในแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์มา
จัดลาดับทาบรรณาธิกรออกมาเป็ นหนังสือ
บรรณานุกรม รวบรวมรายชือ่ สมาชิกของสมาคม
หรือรายชือ่ บุคลากรของหน่วยงาน จากแฟ้ม
ทะเบียนเป็ นทาเนียบนาม
เพื่อแจกจ่าย ส่งต่อ หรือกระจายสารสนเทศ
ความร่
วมมือในการวิเคราะห์
สารสนเทศ
เพื่อความสะดวกในการค้
นคืนสารสนเทศ
กลับมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้เกิด
ความพยายามหลายด้านที่จะร่วมมือกันใน
การวิเคราะห์ตลอดจนแลกเปลี่ยนและขาย
ข้อมูลเกี่ยวกับสารนิเทศผลงานสาคัญ
มาตรฐานสากลในการลงบรรณาน ุกรม
(International Standard Bibliographic Description – ISBD)
เป็ นหลักเกณฑ์การลงรายการหรือรายละเอียด
ทางบรรณานุกรมที่เป็ นมาตรฐานระหว่างชาติ
หลักเกณฑ์นกี้ าหนดขึน้ โดยคณะกรรมการการ
ทารายการของสหพันธ์นานาชาติ ของสมาคม
ห้องสมุด
1.
เพื่อให้ขอ้ ความที่บนั ทึกไว้ซึ่งจัดทาขึน้ ในประเทศหนึง่ หรือ
โดยผูใ้ ช้ที่ใช้ภาษาหนึง่ เมือ่ ข้อความนัน้ อยู่ในประเทศอื่น
หรือถูกใช้โดยผูใ้ ช้ที่ใช้อีกภาษาหนึง่ ก็สามารถใช้และเป็ นที่
เข้าใจตรงกันได้โดยง่าย
2. เพื่อให้ขอ้ ความที่บน
ั ทึกไว้ซึ่งจัดทาขึน้ ในแต่ละประเทศและ
ใช้ภาษาต่าง ๆ กัน สามารถนามาจัดเรียงหรือทาเป็ น
รายการรวมเข้าด้วยกันได้
จุดมุ
าคัญ
ดทาหลัยกนหรื
เกณฑ์
3. เพื่ง่อหมายส
ให้ขอ้ ความที
่บนั ของการจั
ทึกไว้ในรูปของการเขี
อพิมพ์
เป็ นภาษาต่าง ๆ นัน้ สามารถนามาแปลงเป็ นรูปแบบที่
แบบเครืISBD
ขึ
้
น
นั
น
้
มี
อ
ยู
่
3
ประการคื
อ
่องมือกลอ่านได้ (Machine reader) โดย
ที่เสียเวลาในการจัดทาน้อยที่สดุ
เลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือ
(International Standard Book Number – ISBN)
คือ เลขรหัสสากลที่กาหนดขึน้ ใช้กบั หนังสือทัว่ ๆ
ไป โดยมุง่ หมายที่จะให้เป็ นสัญลักษณ์ของหนังสือ
แต่ละเล่ม เพื่อความสะดวกถูกต้อง และรวดเร็ว
ทัง้ ในการดาเนินงานด้านควบคุมข้อมูลของ
หนังสือด้วยคอมพิวเตอร์ ด้านการสัง่ ซื้อหนังสือ
ด้านการแลกเปลี่ยนหนังสือ ด้านการสารวจ
ข้อมูลหนังสือและด้านการควบคุมสต๊อกหนังสือ
ของสานักพิมพ์
เลขมาตรฐานสากลประจาวารสาร
(International Standard Serial Number – ISSN)
คือ เลขรหัสสากลที่กาหนดให้กบั สิ่งพิมพ์ที่
ออกเป็ นระยะ หนังสือชุดและวารสาร ด้วยหลัก
และวิธีการเดียวกับเลขมาตรฐานสากลประจา
หนังสือและความเกี่ยวข้องกัน คือ สิ่งพิมพ์ที่มี
กาหนดออกแน่นอน เช่น หนังสือรายปี หนังสือ
ชุด จะต้องกาหนด ISBN แก่หนังสือแต่ละ
ฉบับหรือแต่ละชือ่ เรื่อง
การจัดดาเนินงานวิเคราะห์สารสนเทศ
ที่ศนู ย์กลาง (Centralized Processing)
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์สารนิเทศ
สามารถวิเคราะห์สารสนเทศ ได้เป็ นจานวนมาก
โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยลง เพิ่มคุณภาพในการ
วิเคราะห์สารสนเทศ เพราะที่ศนู ย์กลางจะมี
ผูเ้ ชีย่ วชาญเป็ นผูว้ ิเคราะห์สารสนเทศ สามารถ
ปฏิบัตงิ านประจาวันในการให้บริการสารสนเทศ
ได้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้
ระบบความร่วมมือ (Cooperative Systems)
เป็ นการตงลงกันในกลุ่มสถาบันบริการ
สารสนเทศ ที่จะใช้ขอ้ มูลทางบรรณานุกรม
ร่วมกัน โดยมีศนู ย์กลาง 1 แห่งเป็ นที่รวบรวม
ข้อมูลเหล่านัน้
การจัดทาข้อมูลการลงรายการในสิ่งพิมพ์
(Cataloging in Publication – CIP)
คือการลงรายการด้วยความร่วมมือของสานักพิมพ์
โดยลานักพิมพ์จะส่งฉบับพิสจู น์อกั ษรครั้งแรกของ
หนังสือที่พิมพ์ไปยังศูนย์กลางทาบัตรรายการ
ศูนย์กลางดังกล่าวจะทาบันทึกรายการบรรณานุกรม
ส่งไปยังผูพ้ ิมพ์ รายการทางบรรณานุกรมนัน้ จะพิมพ์
ลงด้านหลังของหน้าปกในของหนังสือ ซึ่งจะเป็ น
เหมือนบัตรรายการในตัวเล่มหนังสือเรื่องนัน้
การบันทึกข้อมูลทางบรรณาน ุกรมสาหรับอ่านด้วย
คอมพิวเตอร์ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั
(Machine Readable Cataloging – MARC)
เป็ นรูปแบบมาตรฐานสากลที่สถาบันบริการ
สารสนเทศ อื่น ๆ นาไปใช้หรือดัดแปลงใช้
พัฒนาข่ายงานบรรณานุกรม เพื่อความ
ร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตามประเภทและ
ร ูปลักษณ์ของสารสนเทศ
1.
วัสด ุตีพิมพ์ (Print) เช่น หนังสือ วารสาร จุล
สาร
2. สื่อโสตทัศน์ (Nonprint) เช่น วีดท
ิ ศั น์ แถบ
บันทึกเสียง
3. การวิ
ฐานข้เอคราะห์
มูล แฟ้สมข้
อมูลคอมพิตาม
วเตอร์
ารสนเทศ
(Computer
files)
ประเภท
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตามร ูปลักษณ์
1. ประเภทวัสด ุตีพิมพ์ (Print) ได้แก่ - รูปลักษณ์
หนังสือ ได้แก่ หนังสืออ้างอิง วิทยานิพนธ์ ตารา
นวนิยาย
- สิ่งพิมพ์ตอ่ เนือ่ ง ได้แก่ วารสารวิชาการ นิตยสาร
หนังสือชุด
- จุลสาร
2. ร ูปลักษณ์ที่จดั อยูใ่ นประเภทสื่อโสตทัศน์
(Nonprint) ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดทิ ศั น์
แผ่นเสียง แถบบันทึกเสียง งานศิลปะ สไลด์ ฟิ ล์มสตริป
ภาพ
3. ร ูปลักษณ์ประเภทของแฟ้มข้อมูล คอมพิวเตอร์ ได้แก่
จานแม่เหล็ก จานเลเซอร์
การวิเคราะห์สารสนเทศ
ตามภาษาที่ใช้ในสารสนเทศ
เนือ่ งจากภาษาเป็ นเครื่องมือสาคัญใน
การสื่อสาร ดังนัน้ จึงมีการวิเคราะห์
สารสนเทศ แยกตามภาษาที่ใช้ในสารสนเทศ
ด้วย ดังนัน้ สารสนเทศที่วิเคราะห์ตามภาษา
ได้แก่ บรรณานุกรม วรรณคดี สารานุกรม
พจนานุกรม
การวิเคราะห์สารสนเทศ
ด้วยข้อมูลทางบรรณาน ุกรม
1. แหล่งผลิต เช่น ประเทศหนึง่ หรือสานักพิมพ์แห่งหนึง่ มี
การผลิตสารสนเทศออกมามากน้อยเท่าไรในแต่ละปี เป็ น
สารนิเทศประเภทใด มีเนือ้ หาหนักไปในด้านใด
2. ผูผ้ ลิต เช่น นักประพันธ์คนหนึง่ ผลิตนวนิยายไว้มากน้อย
เท่าใด หรือนักวิชาการคนหนึง่ มีผลงานวิชาการอะไรบ้าง
การผลิตผลงานดังกล่าวแล้วทามากในระยะใด
3. สาขาวิชาช่วยให้ทราบว่าวิชาการสาขาใดมีวรรณกรรม
อะไรบ้าง และมีจานวนมากน้อยเพียงใด
การวิเคราะห์สารสนเทศ
ตามเนื้อหาของสารสนเทศ
คือ การพิจารณาว่าสารสนเทศ นัน้ เป็ น
เรื่องอะไรเกี่ยวกับอะไร จัดอยู่ในกลุ่มวิชาใด
ซึ่งมีแนวทางในการวิเคราะห์ดงั นี้
1.ใช้ทฤษฎีทางวิชาการ
2. ใช้การปฏิบตั ิงาน
1.
ระบบดรรชนี คือวิธีการวิเคราะห์สารสนเทศให้
จัดเก็บและค้นคืนได้
2. ภาษาดรรชนี เป็ นภาษาวิชาการที่ใช้ในการจัดเก็บ
และค้นคืนสารสนเทศ
3. ระบบฐานข้อมูล การนาคอมพิวเตอร์มาบันทึก
ข้อมูลทางบรรณานุกรมจากวารสาร ดรรชนี และ
สาระสังเขป และสร้างเป็ นฐานข้อมูล เพื่อรวม
ระบบที
่ใช้ในการวิ
เคราะห์
สารสนเทศ
ที่มเี นือ้ หาเดี
ยวกันหรืสอารสนเทศ
มีเนือ้ หา
เกี่ยวข้องกันไว้ดว้ ยกัน
ความหมายของตัวแทนสารสนเทศ
ตัวแทนสารสนเทศ เป็ นสัญลักษณ์ในรูปแบบ
ใดรูปแบบหนึง่ ที่ถกู กาหนดขึน้ แทนลักษณะทาง
กายภาพและเนือ้ หาสาระของสารสนเทศหรือ
เอกสารใดเอกสารหนึง่ สัญลักษณ์อาจปรากฏใน
รูปของรหัส ตัวเลข อักขระ คา วลี ข้อความ
รูปร่างต่าง ๆ ของภาพ ตัวอย่างของเสียง
ตัวอย่างของสีที่ใช้ในภาพอย่างใดอย่างหนึง่
1.
สารสนเทศที่นามาสร้างตัวแทน
ตัวแทนสารสนเทศจะให้ขอ้ มูลที่เป็ นแนวคิด
สรุปสาระของเอกสารและหรือบอกข้อมูล
รายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะที่มาของ
เอกสารหรือสารสนเทศนัน้
ขอบเขตของตัวแทนสารสนเทศ
ขอบเขตของตัวแทนสารสนเทศ (ต่อ)
2.
รูปแบบของตัวแทนสารสนเทศ จะอยู่ในรูป
ของสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึง่ ผูส้ ร้าง
ตัวแทนสารสนเทศจะต้องพิจารณาเลือก
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอตัวแทนว่า
สัญลักษณ์จะอยู่ในรูปแบบใด อาจเป็ นตัวเลข
กลุ่มอักขระ รหัส กลุ่มข้อความ ตัวแทนของ
ภาพ ตัวแทนของเสียง
2. รูปแบบของตัวแทนสารสนเทศ (ต่อ)
2.1 ตัวแทนสารสนเทศที่เป็ นภาษาธรรมชาติ (Natural
language) ภาษาธรรมชาติเป็ นภาษาที่เราใช้พดู สื่อสาร
กันในชีวิตประจา
2.2 ตัวแทนสารสนเทศที่เป็ นภาษาธรรมชาติทีมรี ปู แบบจากัด
(restricted natural language) เป็ นการใช้
ภาษาธรรมชาติที่มกี ารจากัดการใช้คาในการกาหนดตัวแทน
สารสนเทศ ทัง้ นีเ้ พื่อให้สามารถใช้ได้กบั คอมพิวเตอร์
2.2 ตัวแทนสารสนเทศที่เป็ นภาษาที่ใช้กบั คอมพิวเตอร์
(artificial language) เช่น ภาษาซีพลัสพลัส
(C++) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือที่ใช้ในระบบฐานข้อมูล
2. รูปแบบของตัวแทนสารสนเทศ (ต่อ)
2.4 ตัวแทนสารสนเทศที่เป็ นรหัสและเป็ นคาศัพท์แสดงเนือ้ หา
(Codes and subject descriptors)
ตัวแทนสารสนเทศชนิดที่เป็ นรหัสตัวแทนเนือ้ หาซึ่งเป็ น
กลุม่ สัญลักษณ์ เช่น สัญลักษณ์หมวดหมูใ่ นระบบทศนิยมดิว
อี้ (Dewey Decimal Classification
code)ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์บริสทุ ธ์ตามสัญลักษณ์หมวดหมู่
ในระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกา (Library of
Congress Classification Code) ซึ่งเป็ น
สัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวเลขและตัวอักษรตัวแทน
สารสนเทศชนิดที่เป็ นคาแทนเนือ้ หาเป็ นคา
ขอบเขตของตัวแทนสารสนเทศ (ต่อ)
3. ประเภทของตัวแทนสารสนเทศ ประเภทของ
ตัวแทนสารสนเทศในฐานะที่เป็ นเครื่องมือค้นคืน
และเข้าถึงสารสนเทศมีหลายประเภท
3.1 ตัวแทนสารสนเทศที่นาเสนอสาระหรือมี
รูปลักษณ์ทางกายภาพ ส่วนย่อยนีต้ อ้ งอาศัยข้อมูล
แหล่งสารสนเทศ ตัวแทนสารสนเทศลักษณะนีจ้ ึงเป็ น
ตัวแทนประเภท ดรรชนี ระบุขอ้ มูลลักษณะของ
สารสนเทศส่วนย่อยและข้อมูลชีแ้ นะแหล่งสารสนเทศหลัก
3. ประเภทของตัวแทนสารสนเทศ(ต่อ)
3.2 ตัวแทนของสารสนเทศที่นาเสนอเป็ นเรื่องที่
จบในคราวเดียวของการผลิตและเผยแพร่
(Monograph level) เช่น เป็ น
หนังสือหนึง่ เล่ม และ ที่เป็ นเรื่องต่อเนือ่ ง
(Serial level)
3. ประเภทของตัวแทนสารสนเทศ(ต่อ)
3.3 ตัวแทนของสารสนเทศที่นาเสนอเป็ นงานที่
รวมขึ้นเอง ซึ่งการผลิตและเผยแพร่ดงั้ เดิมเป็ น
แบบแยกส่วนกัน (Collective level)
ตัวแทนสารสนเทศจะเป็ นตัวแทนประเภทรายการ
ที่จาแนกรายละเอียดข้อมูลระบุลกั ษณะดัง้ เดิมของ
แต่ละงานและข้อมูลแหล่งของสารสนเทศ
3. ประเภทของตัวแทนสารสนเทศ(ต่อ)
3.4 ตัวแทนของสารสนเทศที่นาเสนอเป็ น
ชิ้นงานย่อย (subunit level) ของ
งานรวม ซึ่งมักเป็ นลักษณะชิน้ งานย่อยในงาน
รวมด้านจดหมายเหตุ ตัวแทนสารสนเทศ
ลักษณะนีจ้ ะเป็ นตัวแทนประเภทดรรชนีที่ให้
รายละเอียดของข้อมูลระบุลกั ษณะของ
สารสนเทศและข้อมูลชีแ้ นะแหล่งงานรวม
ตัวแทนสารสนเทศที่เป็นเครือ่ งมือ
พื้นฐานที่มีการใช้มากในสถาบัน
บริการสารสนเทศ 3 ประเภท
1. แคตาล็อก (Catalog)
2. ดรรชนี (Index)
3. สาระสังเขป (Abstract)
ความสาคัญของตัวแทนสารสนเทศ
1. เพิ่มความสามารถในการเข้าถึง
สารสนเทศ (Increased accessibility)
ตัวแทนสารสนเทศส่วนใหญ่มขี อ้ มูลระบุลกั ษณะ
ของสารสนเทศและข้อมูลระบุตาแหน่งที่อยู่ของ
สารสนเทศหรือเอกสารนัน้ ๆ เช่น ดรรชนี ระบบ
หมวดหมู่ แคตาล็อก ช่วยให้ผใู้ ช้ทราบที่อยูข่ อง
เอกสารนัน้ จึงประหยัดเวลาในการค้นหาและเข้าถึง
สารสนเทศที่ตอ้ งการ
ความสาคัญของตัวแทนสารสนเทศ
2. ให้รายละเอียดของบริบท(Retention of
context) ตัวแทนสารสนเทศประเภทที่ได้จากการ
วิเคราะห์เนือ้ หาและแปลความให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ
เอกสารในระดับหนึง่ ช่วยให้ผใู้ ช้ทราบข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง เช่น ความทันสมัย ความแพร่หลาย โดย
ดูได้จากสานักพิมพ์ และฉบับครัง้ ที่พิมพ์ และ
ตัดสินใจได้ว่าสมควรเข้าเอกสารเต็มหรือไม่ และทา
ให้ทราบข้อมูลที่มีเนือ้ หาใกล้เคียงกัน
ความสาคัญของตัวแทนสารสนเทศ
3. ขยายการใช้วส
ั ด ุสารสนเทศ
(Expanding use) ตัวแทนสารสนเทศที่ได้จากการ
วิเคราะห์เนือ้ หา และลักษณะทางการภาพ เช่นแค
ตาล็อก มีขอ้ มูลระบุฉบับการเผยแพร่สารสนเทศหรือ
เอกสารไว้ เช่น ระบุว่าอยู่ในรูปเล่ม ฉบับพิมพ์ปกอ่อน/
ปกแข็ง บนเว็บเพจ หรืออยู่ในเอกสารดิจิทลั ฯลฯ
ดังนัน้ ผูใ้ ช้มีอปุ สรรคทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และอื่น
ๆ จึงมีทางเลือกในการใช้สารสนเทศดังกล่าวในรูปแบบ