¡ÒÃà¢Õ¹ÀÒ¾·ÑȹÕÂÀÒ¾

Download Report

Transcript ¡ÒÃà¢Õ¹ÀÒ¾·ÑȹÕÂÀÒ¾

 มาตรฐาน
ศ ๑.๑สร้าง สรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
 ศ๑.๑/๑/๓
 ๓.วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็น
การเขียนภาพที่มี ทัศนียภาพ หรื อทัศนมิติ
(perspective)
โดยปกติมกั จะใช้เพื่อการนาเสนอภาพจาลอง
ของแนวความคิดในการออกแบบผลงาน เช่นภาพ
งานอาคารในงานสถาปั ตยกรรม ภาพการตกแต่ง
ภายในสาหรับงานมัณฑนศิลป์
ระดับมุมมองของทัศนียภาพ
 มองแบบตานกมอง
( Bird’s eyes view )
เป็ นภาพในลักษณะมองจากที่สูงลงมา
 มองในระดับสายตาคนมอง
(Human’s eyes
view) เป็ นภาพการมองในลักษณะระดับสายตา
ของคนทัว่ ไป มองไปด้านหน้า
 มองแบบมดมอง
(Ant’s eyes view)
เป็ นภาพในลักษณะ
มองขึ้นไปที่สูง
 ภาพ PERSPECTIVE
เป็ นภาพที่มองเห็นเหมือนภาพจริ งมากที่สุด
คล้ายกับภาพถ่าย การเขียนทัศนียภาพ เป็ น
ศิลปะรู ปแบบหนึ่ง ซึ่งได้นามาใช้ในวงการ
ศิลปกรรมหลายแขนงมาตั้งแต่สมัยโบราณ
ประเภทของทัศนียภาพ
 ทัศนี ยภาพแบบจุดเดียว
จุดอันตธาน หรื อจุดรวม
สายตา (Vanishing point) จุดเดียว อาจอยู่
ด้านซ้ายหรื อขวา บนหรื อล่าง หรื ออยูก่ ่ ึงกลางของ
ภาพก็ได้
 ทัศนี ยภาพแบบสองจุด จะมีจุดรวมสายตา สองจุด
อยูท่ างด้านซ้ายและขวาของภาพ
 ทัศนี ยภาพแบบสามจุด จะมีจุดรวมสายตา สามจุด
อยูท่ างด้านซ้ายและขวาของภาพ อีกหนึ่งจุดอาจอยู่
ด้านบนหรื อด้านล่างของภาพก็ได้
องค์ประกอบของทัศนียภาพ
 1. จุดรวมสายตา
(Vanishing Point ) ใช้ชื่อย่อ
ว่า V.P. เป็ นจุดที่เส้นต่างๆ ลากผ่านอาจจะอยูใ่ น
ระดับตา อยูด่ า้ นล่างหรื ออยูด่ า้ นบนเส้นระดับตา
เส้นระดับสายตา ( Horizontal Line ) ใช้
ชื่อย่อว่า H.L. เป็ นเส้นที่มองเห็นในระดับตา
สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ตามความต้องการ ถ้าเลื่อน
เส้นขึ้นสูงจะได้ภาพลักษณะมองจากที่สูง
( Bird’s eyes view ) ถ้าเส้นสู งจากพื้นเท่า
ระดับตาคนจะทาให้เห็นภาพในมุมมองธรรมดา
ถ้าเลื่อนต่ากว่าเส้นระดับพื้นจะให้ภาพมองใน
ลักษณะซ้อน
 2.
 3.
มุมมอง ( Station Point ) ใช้ชื่อย่อว่า
S.P. คือตาแหน่งที่มองจุดนี้ถา้ การ กาหนด
ตาแหน่งที่ต้ งั ใกล้วตั ถุเกินไป ลักษณะของภาพที่
ปรากฏจะมีลกั ษณะประหลาดเกินความเป็ นจริ ง
 วิธีที่1
ภาพทัศนียภาพ จุดเดียว
(ONE POINT PERSPECTIVE)
ภาพทัศนียภาพ แบบนี้ ภาพด้านหน้าจะอยูใ่ นแนวตรง
เหมือนภาพด้านหน้าของภาพฉาย ส่ วนด้านข้างหรื อ
ส่ วนที่ลึกเข้าไปจะไปรวมกันที่จุดจุดหนึ่งซึ่งเรี ยกว่า
จุดรวมสายตา VP จุดนี้จะตั้งอยูบ่ นเส้นระดับตา HL
เสมอไป
HL
VP 1
ST
HL
VP 1
ST
HL
VP 1
ST
HL
VP 1
ST
ให้นกั เรี ยนลงจุด HL VP ST
ให้นกั เรี ยนลงจุด HL VP ST
ให้นกั เรี ยนลงจุด HL VP ST
ให้นกั เรี ยนลงจุด HL VP ST
ให้นกั เรี ยนลงจุด HL VP ST
HL
VP 1
ST
HL
VP 1
HL
VP 1
ST
HL
VP 1
HL
ST
VP 1
 วิธีที่ 2
การเขียนแบบทัศนียภาพสองจุด
(Two point perspective)
เป็ นการเขียนทัศนียภาพที่มีจุดรวมสายตาสองจุด
โดยภาพจะแสดงมุมของวัตถุที่อยูใ่ กล้ที่สุด เป็ น
ส่ วนใหญ่ที่สุดส่ วนภาพด้านข้างซ้ายและขวาจะเล็ก
ลงไปสู่จุดรวมสายตาทั้งสองข้าง
 ทัศนี ยภาพสองจุด
มีวธิ ีเขียนโดยกาหนดจุดรวมสายตาสอง
จุด (VP.1 และVP.2) บนเส้นระดับสายตา (HL)
ลากเส้นเป็ นระยะภาพให้ต้ งั ฉากกับเส้นระดับสายตา
โดยกาหนดจุดตามลักษณะที่วตั ถุน้ นั อยูซ่ ่ ึงอยูบ่ น
เส้นระหว่างจุดรวมสายตาทั้งสอง แนวเส้นที่ลากจาก
จุดทั้งสองมายังปลายทั้งสองของเส้นระยะภาพ จะ
เป็ นแนวที่สร้างทัศนียภาพ
HL
ST
 วิธีที่ 3
การเขียนแบบทัศนียภาพสามจุด
(Three point perspective)
เป็ นการเขียนทัศนียภาพที่ใช้จุดเดียวและสองจุด
รวมกันโดยภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กลงไปสู่จุด
รวมสายตาทั้งสามจุดด้านข้างซ้ายและขวาจะเล็กลง
ไปสู่จุดรวมสายตาทั้งสองข้าง และเส้นที่แสดงความ
สูงจะเล็กลงไปรวมที่จุดสายตาจุดที่สาม
หลักการเขียนทัศนียภาพสามจุด
1. ลากเส้นระดับสายตาให้ยาวได้ระดับแนวนอน
2. กาหนดจุดรวมสายตา(VP)สามจุดให้อยูบ่ น
เส้นระดับสายตา ด้านซ้ายและด้านขวาและจุดที่สาม
ด้านล่างของภาพ
3. ลากเส้นในแนวตั้ง และแนวนอน ทุกเส้นมารวมที่
จุด VP ทั้งสามจุด ก็จะไดทัศนียภาพสามจุดตาม
ต้องการ
แสดงภาพ PERSPECTIVE ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด
อยูใ่ นลักษณะของการมองจากล่างขึ้นบน
แสดงภาพPERSPECTIVE ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด
อยูใ่ นลักษณะของการมองจากบนลงล่าง
 ภาพ PERSPECTIVE
ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด
จะให้ความรู ้สึกของสิ่ งก่อสร้างสู งชะรู ด หรื อต่าลึก
ลงไป ใช้กบั งานเขียนภาพในงานออกแบบทาง
สถาปั ตยกรรมเป็ นส่ วนใหญ่ จุดรวมสายตาที่ 3
ตาแหน่งจะอยูใ่ นแกนของแนวดิ่ง จะต่าหรื อสู งกว่า
เส้นระดับสายตาก็ได้
จะเห็นได้วา่ ลักษณะสาคัญของการเขียนแบบ
ทัศนียภาพที่แสดงภาพสามมิติที่มีสภาพความเป็ น
จริ งตามที่ตามองเห็นนั้น ถ้าได้มีการนาเอาหลักการ
และแนวคิดอันนี้ไปใช้กบั งานสร้างสรรค์ทางด้าน
จิตรกรรมแขนงต่างๆ เช่นการเขียนภาพหุ่นนิ่ง ภาพ
ทิวทัศน์ ภาพสิ่ งของเครื่ องใช้ ภาพอาคารสิ่ งก่อสร้าง
ต่างๆ ตลอดจนการนาไปใช้กบั งานออกแบบตกแต่ง
ทั้งภายนอกและภายใน เป็ นต้น







บรรณานุกรม
โชดก เก่งเขตรกิจ. (2529). การออกแบบเขียนแบบ. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์
กล่องวัฒนา.
วิรุณ ตั้งเจริ ญ. (2539). การออกแบบ. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ .
ศิริพงศ์ พยอมแย้ม. ( 2537). เทคนิคงานกราฟิ ค. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ .
สมทรง เวียงอาพล. (2529). การออกแบบเขียนแบบ. กรุ งเทพฯ : โอเดียนส
โตร์.
สุ รศักดิ์ พูลชัยนาวาสกุล และพงษ์ธร จรัญญาภรณ์. (2536). เขียนแบบเทคนิค.
กรุ งเทพฯ :
ซิ เอ็ดยูเคชัน่ .