1.1 การแรเงาด้วยเส้นขนานในแนวเดียวกัน

Download Report

Transcript 1.1 การแรเงาด้วยเส้นขนานในแนวเดียวกัน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระทัศนศิลป์)
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
น.ส.ธมนวรรณ ประเสริฐผล
ตาแหน่ ง ครู วิทยฐานะ ครู ชานาญการพิเศษ
โรงเรี ยนเทศบาลท่ าเรื อประชานุกูล อ.ท่ าเรื อ จ.พระนครศรี อยุธยา


การวาดภาพ หมายถึง การขูด ขีด เขียน หรื อทาให้ เกิดเป็ นภาพด้ วยสี
ชนิดต่างๆ โดยใช้ เทคนิควิธีการต่างๆ ที่หลากหลาย
การสื่อความหมาย คือ การแสดงเรื่ องราวของสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ ้นจากการ
กระทาของมนุษย์หรื อจากความรู้สกึ ภายในจิตใจ เพื่อสื่อสารให้ ผ้ อู ื่นรับรู้
อะไรเอ่ย

หมายถึง การใช้ เทคนิคหรื อกลวิธีการสร้ างสรรค์ผลงานด้ วยวัสดุสาเร็จรู ปที่มีปลาย
ค่อนข้ างแหลม เช่น ดินสอแรเงา ดินสอสี ปากกาหมึกดา ปากกาสี เป็ นต้ น
รู ปแพะแบบตัดทอนรู ปทรง
ภาพวาดเส้ น ของ บอนนาร์ ด
ผู้หญิง ผลงานของ บับโล ปิ คสั โซ่
เป็ นงานศิลปะในลัทธิคิวบิสซึม่ ซึง่ นิยม
ตัดทอนรูปทรงเป็ นแท่งเหลีย่ ม
ลักษณะการแรเงาด้ วยเส้ นขนานในแนวเดียวกัน
ธรรมชาติร่มเย็น ผลงานวาดเส้ นปากกาสีของ
ด.ญ.ปาริ ชาติ แซ่เฮ่ ชั ้น ม.2 (พ.ศ.2536)
โรงเรี ยนมัธยมวัดสิงห์ วาดเส้ นขนานในแนวเดียวกัน
อย่างนุ่มนวลกลมกลืน
ลักษณะการแรเงาด้วยเส้นทับซ้อนในแนวเดียวกัน
ในลักษณะ ฝนเส้ น
ทีม่ า : วัชรพงศ์ หงษ์ สวุ รรณ (2533 : 44)
ลักษณะการแรเงาด้ วยเส้ นไขว้ ประสาน
แขนของอีฟ ผลงานวาดเส้ นของ อัลบรี ช ดูเรอร์
ใช้ พ่กู นั และหมึกสีน ้าตาลวาดเส้ นรูปแขนและมือ
ได้ อย่างนุ่มนวลเหมือนจริง
ภาพวาดเส้ นรู ปม้ า ที่ดเู คลือ่ นไหว
อย่างผาดโผนและคึกคะนอง
วัวกระทิง ของ บับโลปิ คัสโซ่ ให้
ความรู้สกึ คึกคนองและดุร้าย
Bauer mit Strohhut
เทคนิคแรเงาอิสระ
ผลงานของฟิ นเซนต์ ฟาน ก๊ อก
(Vincent Van Gogh)
เป็ นผลงานการวาดเส้ นแรเงาอิสระตามจินตนาการ
และความคิดสร้ างสรรค์ของศิลปะ

หมายถึง การใช้ เทคนิคหรื อกลวิธีการสร้ างสรรค์ผลงานด้ วยการใช้ สีชนิดต่างๆ
ระบายบนพื ้นระนาบรองรับ เช่น สีน ้า สีโปสเตอร์ สีชอล์ก เป็ นต้ น





คุณลักษณะ 4 ประการ ของสีน ้า
1. โปร่งใส
2. เปี ยกชุม่
3. รุกราน ซึมซับ เข้ าหากัน
4. แห้ งเร็ ว
ชื่อภาพ “Blooming” เทคนิ คสีน้า
ผลงานของ นุกูล ปั ญญาดี
แสดงให้เห็นถึงความสดใสสวยงามของสีน้า
ที่มา : สมาคมจิ ตรกรรมสีน้าแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ :
ฟี ล สไตล์, 2549.


1) การระบายสีนา้ แบบเปี ยกบนเปี ยก (Wet into wet)
เน้ นการระบายภาพท้ องฟ้า น ้า และต้ นไม้ ในระยะไกล
“ทิวทัศน์ ” เทคนิค สีน ้า ผลงานของ อนัญญา อัครวิชญ์
“ไม่ ใช่ บ้านเรา” ผลงานของสุชาติวงษ์ ทอง เทคนิคสีน ้า
แสดงการระบายสีแบบเปี ยกบนแห้ ง บริเวณสะพานและอาคาร
“แสบตา” ผลงานของ สุชาติ วงษ์ ทอง เทคนิค สีน ้า แสดงผิวน ้าทะเลที่
สะท้ อนแสงระยิบระยับด้ วยการใช้ กลวิธีการระบายสีน ้าแบบแห้ งบนแห้ ง
“เรื อน้ อยลอยลา”
ผลงานของ สีดา ชุมสาย ณ อยุธยา เทคนิคสีน ้า
การระบายสีน ้าโดยใช้ เทคนิคโรยเกลือ เพื่อสร้ าง
ภาพหยดน ้าและสายฝน

คุณสมบัติ สีโปสเตอร์ เป็ นสีทบึ แสง สามารถระบายทับซ้ อนกันได้ หลายครัง้ และ
เกลี่ยสีให้ ผสมกลมกลืนกันได้ ถ้ าต้ องการให้ น ้าหนักสีออ่ นจางลงให้ ผสมด้ วยสีขาว
แต่ถ้าต้ องการน ้าหนักสีเข้ มคล ้าให้ ใช้ สีดาหรื อสีตรงข้ ามผสม
การฝึ กระบายภาพสีโปสเตอร์ แบ่งช่อง
สาหรับระบายสี โดยลากเส้ นไขว้ กนั ไปมาใน
หน้ ากระดาษ จากนั ้นใช้ กระดาษกาวนิตโต้
กั ้นทีละช่องแล้ วระบายเกลีย่ สีในทิศทางต่าง
ๆ ตามต้ องการ ได้ ผลงานเป็ นภาพ
องค์ประกอบศิลป์
ภาพ “ท่ านา้ ” เทคนิคสีโปสเตอร์ ผลงานของ สุรยุทธ พันธ์เผือก
ที่มา : สุรยุทธ พันธ์เผือก. ฝึ กระบายสีโปสเตอร์ . กรุงเทพฯ: บริษัทวาดศิลป์ จากัด, 2554.


มีคณ
ุ สมบัติทบึ แสง มีลกั ษณะเป็ นแท่งเหลี่ยม แบ่งตามลักษณะ
ของเนื ้อสีเป็ น 2 ชนิด ได้ แก่
1) สีชอล์กแบบนุ่ม (Soft Pastel) นิยมเขียนภาพคนเหมือน
สามารถใช้ นิ ้วถูหรื อพูก่ นั ขนอ่อน เพื่อทาให้ สีกลมกลืนกันได้
“สงบเย็น” เทคนิค สีชอล์กแบบนุ่ม
ผลงานของ สุพฒ
ั น์ ปั กกาโต

2) สีชอล์ กนา้ มัน (Oil Pastel) เป็ นเนื ้อสีชอล์กผสมกับน ้ามัน นิยมใช้
เขียนภาพที่ไม่ต้องการแสดงรายละเอียดเหมือนจริ งมาก เช่น ใช้ เขียนภาพทิวทัศน์
เป็ นต้ น
ที่มา: www.oknation.net

หมายถึง การถ่ายทอดความคิด และจินตนาการแสดงเรื่ องราวของสิ่ง
ต่างๆ ที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ วิถีชีวิตและสิง่ แวดล้ อม รวมทังการ
้
จินตนาการสูเ่ รื่ องราวในอนาคต ผ่ านกระบวนการวาดภาพเป็ นผลงาน
ทัศนศิลป์ที่มีคณ
ุ ค่าทังทางด้
้
านความงามและความคิด

เป็ นการวาดภาพแสดงเรื่ องราวที่เหมือนจริงตามธรรมชาติ สามารถ
สื่อความหมายและความเข้ าใจได้ ง่าย
ภาพดอกลีลาวดี แบบเหมือนจริง
โดยใช้ เทคนิคสีโปสเตอร์

เป็ นการวาดภาพในลักษณะการลดตัดทอน
รูปทรงที่เหมือนจริ ง โดยใช้ อารมณ์ ความรู้สึก เข้ ามา
มีสว่ นรวมในเรื่ องราว
“ผู้หญิงร้ องไห้ ” (Weeping Women ค.ศ.1937)
ผลงานของปาโบล ปิ กสั โซ่ เป็ นภาพตัดทอนที่เน้ นอาการ
โศกเศร้ าเสียใจโดยสร้ างภาพเชิงซ้ อนใบหน้ าและดวงตาของ
ผู้หญิงให้ เห็นได้ หลายทิศทาง

เป็ นการวาดภาพในลักษณะคิดนอก
กรอบ ที่บดิ เบือนไปจากความเป็ นจริ ง
สร้ างความตื่นเต้ นและประหลาดใจ
ภาพสื่อความหมายแบบเหนือจริง ต้ องการสะท้ อนให้
สังคมมนุษย์ที่เต็มไปด้ วยความแออัดยัดเยียดของผู้คน
และการดิ ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของชีวิต
ชื่อผลงาน “ยิม้ ไปกับ ด.ช.สังคม หมายเลข 2”
เทคนิคผสม (หมึกดา สีอะคริลคิ แม่พิมพ์ตะแกรงไหม)
ผลงานของ ณัฐพงศ์ อุดมกิจ







บาเพ็ญ งิ ้วทอง. เอกสารประกอบการเรียน ชุด “ทัศนศิลป์ สร้ างสรรค์ ” เล่มที่ 3
กระบวนการเขียนภาพสีน ้า. กรุงเทพฯ: ศูนย์สร้ างสรรค์ครูมืออาชีพ, 2552.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. การแสดงศิลปกรรมร่ วมสมัยของศิลปิ นรุ่ นเยาว์ ครัง้ ที่ 26.
กรุงเทพฯ: อัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, 2552.
วัชรพงศ์ หงส์สวุ รรณ. วาดเส้ นพืน้ ฐาน. กรุงเทพฯ: บริ ษัทวาดศิลป์ จากัด, 2553.
วิฑรู ย์ โสแก้ ว. ทัศนศิลป์ ม.2. กรุงเทพฯ: บริ ษัท สานักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช จากัด, 2552.
สมาคมจิตรกรรมสีน ้าแห่งประเทศไทย. นิทรรศการจิตรกรรมสีนา้ 60 ปี แผ่ นดินพ่ อ.
กรุงเทพฯ: ฟิ ลสไตล์, 2549.
สุชาติ วงษ์ ทอง และคณะ. ทัศนศิลป์ ม.4. กรุงเทพฯ: บริ ษัท สานักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จากัด, 2549.
สุรยุทธ พันธ์เผือก. ฝึ กระบายด้ วยสีโปสเตอร์ . กรุงเทพฯ: บริ ษัทวาดศิลป์ จากัด, 2554.