ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF) 1

Download Report

Transcript ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF) 1

ความร่ วมมือไทย-ลาว
ในเรื่อง Contract Farming (CF)
1. ท่ าทีรัฐบาลไทย


สนับสนุนและส่ งเสริ ม CF
การลงนาม MOU ไทย-ลาว ในเรื่ อง CF
- ยืนยันตลาดรับซื้อในประเทศไทย
- ยกเว้นภาษีศุลกากรนาเข้า ภายใต้กรอบ AFTA และAISP
- หารื อและทบทวนรายการสิ นค้ายกเว้นภาษี
- หารื อปริ มาณสิ นค้ารับซื้อ ราคา การขนส่ ง และการจ่ายเงิน
- มีกลไกประสานงานสองฝ่ าย โดยกระทรวงพาณิ ชย์ของไทย และกระทรวงการค้า
ต่างประเทศลาวเป็ นหน่วยประสานงานหลัก
- มีการหารื อทบทวนแผนและผลอย่างสม่าเสมอ
- ฝ่ ายไทยแจ้งเกี่ยวกับแผนการผลิต/รายละเอียด (ชนิดของพืช/สัตว์ ขนาดและตาแหน่ง
ของที่ดิน)
1. ท่ าทีรัฐบาลไทย
- ภาครัฐสองฝ่ ายช่วยจับคู่ธุรกิจ
- ภาครัฐสองฝ่ ายให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ CF แก่เอกชน
- ภาครัฐสองฝ่ ายอานวยความสะดวกการผ่านแดนของบุคลากร
- ฝ่ ายลาวจัดหาแปลงทดลองก่อนทาจริ ง
- ฝ่ ายลาวอานวยความสะดวกการนาเข้าเมล็ดพันธุ์ อุปกรณ์ ปุ๋ ย โดยยกเว้นภาษีอากร
- ฝ่ ายลาวอานวยความสะดวกยกเว้นภาษีอากรขาออก
- ฝ่ ายลาวในระดับท้องถิ่นออก C/O ให้
- สองฝ่ ายดูแลมาตรฐานสิ นค้าเกษตร/อานวยความสะดวกส่ งออก/นาเข้า โดยจัดตั้ง
One Stop Service
- การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ลาว
2. ประเด็นสาคัญสาหรับการลงทุน Contract Farming ในลาว







พืชและสัตว์ที่จะลงทุน
ผูล้ งทุน
เกษตรกรลาว
นโยบายรัฐบาล
สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจการยอมรับของฝ่ ายลาว
กลไกกากับให้ดาเนินการตามสัญญา
การบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพของผูล้ งทุน
2. ประเด็นสาคัญสาหรับการลงทุน Contract Farming ในลาว




ความเข้าใจรอบด้านเกี่ยวกับพืชที่ส่งเสริ มการปลูก
สัมปทานที่ดิน
การประสานกับเกษตรกรอย่างทัว่ ถึง
จังหวัดนาร่ องมีจากัด
3. ความต้ องการของฝ่ ายลาว







หลายแขวงยินดีที่จะมีความร่ วมมือ CF
ขอให้กระบวนการผลิตครบวงจร
มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตทุกขั้นตอน
ให้ความรู ้แก่เกษตรกรลาวเกี่ยวกับ CF
ขอให้ใช้แรงงานลาว
ให้บริ หารการผลิตให้สมดุลกับปริ มาณสิ นค้าในตลาด
ขอโควต้านาเข้าสิ นค้าเกษตรของไทยตรงกับระยะเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตของลาว
4. ความต้ องการของผู้ประกอบการไทย




ให้ภาครัฐผลักดันให้คู่สัญญาฝ่ ายลาวเร่ งดาเนินโครงการตามสัญญาที่ได้ลงนาม
ร่ วมกัน
ให้ภาครัฐแนะนาข้อมูล แนะช่องทางการติดต่อที่ถกู ต้อง
ให้ภาครัฐผลักดันให้เอกชนสามารถเข้าไปสารวจพื้นที่
ให้ภาครัฐช่วยเจรจากับฝ่ ายลาว ให้อนุมตั ิสัมปทานที่ดินขนาดใหญ่ที่เคยรับว่าให้
หลังจากมีการทอดลองปลูกไปแล้ว
5. สรุป







ภาครัฐสองฝ่ ายต้องสร้างความเชื่อมัน่ แก่ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
ส่ งเสริ มการทา CF ในลักษณะที่กว้างขวางขึ้น
ให้มีการอบรมเทคนิคการเกษตรอย่างต่อเนื่อง
ให้มีความช่วยเหลือด้านสิ นเชื่อจากธนาคาร
ส่ งเสริ มและอานวยความสะดวก และลดเวลาที่จะใช้ในกระบวนการตรวจ
ปล่อยสิ นค้าที่ด่าน
ศึกษาพื้นที่และสภาพแวดล้อมจริ ง
ควรมีการจัดทาร่ างตัวอย่างสัญญาของฝ่ ายไทยในลักษณะกว้างๆ