2.การผลิตพืช

Download Report

Transcript 2.การผลิตพืช

การผลิต
พืช
• เครือ
่ งมือและอุปกรณ ์
ทางการเกษตร
• ดิน ธาตุอาหาร ปุ๋ย
• แหลงน
่ การเกษตร
่ ้าเพือ
• การปลูกพืช
ความหมาย อุปกรณการเกษตร
์
อุป กรณ์การเกษตรเป็ นเครือ
่ งมือ ทีช
่ ่ วย
อ านวยให้ การปฏิ บ ัต ิ ง านเกษตรมี ค วาม
สะดวกและรวดเร็ ว ลดแรงของเกษตรกร
อุปกรณการเกษตรแบ
งตามชนิ
ดวัสดุ มีทง้ั
์
่
ทีท
่ าจากโลหะ ทาจากพลาสติก
ทาจาก
ไฟเบอร ์ หรือแม้แตท
่ าจากวัสดุธรรมชาติ
หากแบงอุ
กษณะการ
่ ปกรณการเกษตรตามลั
์
เป็
ใช้งาน จะสามารถแบงได
ก
์
้ นอุปกรณงานหนั
่
และอุปกรณงานเบา
แบงตามลั
กษณะใช้งาน
์
่
ได้ แก่ เครื่อ งมือ ใช้ งานกับ ดิน เครื่อ งมือใช้
งานในการให้น้าพืช และเครือ
่ งมือทีใ่ ช้ในการ
ดู แ ลตัด แต่ งกิ่ง ตัว อย่ างอุ ป กรณ ์การเกษตร
เช่น จอบขุด เสี ยมพรวน บัวรดน้า กรรไก
ตัดกิง่ รถไถ่ รถเกีย
่ ว เป็ นต้น
(วีกพ
ี เี ดีย
สารานุ กรมเสรี ,2554)
ประเภทของเครือ
่ งมือเกษตร...แบงตาม
่
ลักษณะของการใช้งาน
เครือ
่ งมือเกษตรเกีย
่ วกับงานดิน
1. จอบ ใช้สาหรับขุดงานดิน พรวนดิน ถาก
หญ้า ดายหญา้
2. เสี ยม ใช้สาหรับขุดหลุม ขุดดิน พรวนดิน
3. พลัว่ ใช้สาหรับตักดิน สาดดิน ตักปุ๋ย
4. ปุ้งกี๋ ใช้สาหรับใส่ดิน ใส่ปุ๋ย เพือ
่ สะดวกใน
การเคลือ
่ นยาย
้
5. คราด ใช้สาหรับเกลีย
่ ดิน คราดหญา้ หรือ
คราดขยะไปทิง้
เครือ
่ งมือเกษตรเกีย
่ วกับงานพืช
1. ช้อนปลูก ใช้สาหรับขุดหลุมปลูก ย้ายต้น
กลา้ พรวนดิน ตักดิน ตักปุ๋ย
2. ส้อมพรวน ใช้สาหรับพรวนดินให้รวนซุ
ย
่
3. กรรไกรตัดหญา้ ใช้สาหรับตัดหญาหรื
อตัด
้
แตงหญ
า้
่
4. กรรไกรตัดกิง่ ใช้สาหรับตัดแตงกิ
่ ง่ ไม้ให้
สวยงาม
5. บัวรดน้า ใช้สาหรับรดน้าตนไม
้
้
6. ถังน้า ใช้สาหรับตักน้าหรือใส่น้าเพือ
่ รดน้า
ต้นไม้
เครือ
่ งมือเกษตรทีใ่ ช้กับงานดิน
1. จอบ มี 2 ชนิด
ไดแก
้ ่
จอบถาก หน้าจอตัดตรง
น้าหนักเบากวาจอบขุ
ด
ใช้ถาก
่
หญ้า พรวนดินหรือยอยดิ
น
่
จอบขุด หน้าจอโค้งเวาเล็
้ กน้อย
น้าหนักมาก ใช้ขุดดิน
ใชสาหรับขุดดิน ถากหญาขุดแปลง หรือใชสา
้
้
้
กรณีทใี่ ช้เสี ยมอาจจะทาให้ลาช
่ ้าหรือไมสามารถจะใช
่
เพราะดินแข็งเกินไป (จอบจะใช้งานคอนข
างหนั
ก
่
้
ความปลอดภัยในการใช้
ก่อนใช้ ควรตรวจดูว่าจอบเข้ าด้ ามแน่นหนาหรื อไม่ ขณะที่ ใช้ จอบต้ องระวังเพื่อนที่อยู่ข้างเคียงและเท้ าของผู้ใช้ ด้วย
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
หลังจากใช้แลวล
าความสะอาดและใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง
้ างท
้
ทา
เครือ
่ งมือเกษตรทีใ่ ช้กับงานดิน
2. พลัว่ มี 2 ชนิด
ไดแก
้ ่
พลัว่ ตัก หน้าจอตัดตรง
ใช้ถากหญา้
พรวนดิ
นหรืหน
อยาพลั
อยดิ
น
่้
พลัว่ ผสม
ว
่ โค้งเว้า
และมีปลาย
าหรั
บตักวัสน
ดุท
ใี่ ชอ
แหลมใช้สใช
หรื
ปุ๋ย
้ใน
้ผสมดิ
การเกษตร
เช่น
ดิน
ปุ๋ย
ความปลอดภัยในการใช้
กอนใช
่ จะได้
่
้ควรตรวจดูวาช
่ ารุดหรือไม่ เพือ
ซ่อมให้เรียบรอย
ในขณะทีใ่ ช้ตักดิน ควรระวัง
้
ไมให
ยง
่ ้ถูกเทาและคนข
้ บรักษา างเคี
้
การทาความสะอาดและเก็
หลังจากการใช้ทุกครัง้
ลางน
้าให้สะอาดและเช็ดให้
้
แหง ทาน้ามันกันสนิมแลวเก็บเขาที่
เครือ
่ งมือเกษตรทีใ่ ช้กับงานดิน
3. เสี ยม
เสี ยม ใช้พรวนดิน ขุด
ดิน ขุดหลุม ขนาดเล็ก
และขุดหลุมทีล
่ ก
ึ
ใช้สาหรับขุดหลุมปลูกตนไม
้
้ ส่วนมากน
หรือใช้ในบริเวณแคบไมเหมาะกั
บการใช้จอบ เวลาข
่
ดามเสี
ยมให้มือยูห
นพอสมควร แลวกด
ปลายเสี ย
้
่ างกั
่
้
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้ควรลางท
าความสะอาด
้
น้ามันกันสนิมแลวเก็บเขาทีใ่ หเรียบรอย
เช็ดให้แห้ง
ทา
เครือ
่ งมือเกษตรทีใ่ ช้กับงานดิน
4. ส้อมพรวน
ส้อมพรวน ใช้พรวนดิน
รอบ ๆ โคนตน
้
พืชทีม
่ ข
ี นาดเล็ก
ใช้สาหรับพรวนดินรอบ ๆ ตนพื
้ ช ไมควรใช
่
้พรวน
หักและงองาย
่
ความปลอดภัยในการใช้
ไมควรเล
นกั
่
่ นในขณะทางาน เพราะส้อม
พรวนมีความแหลมคม อาจจะไดรั
้ บอันตราย
จากการใชได ถาผูใชขาด ความระมัดระวัง
การทาความสะอาดและเก็บรักษา ้ ้ ้ ้ ้
ภายหลังการใช้ควรลางท
าความสะอาดและเช็ดให้แห้ง
้
กันสนิมแลวเก็
้ บเขาที
้ ใ่ ห้เรียบรอย
้
ทาน้ามัน
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานดิน
5. ช้ อนปลูก
ช้ อนปลูก ใช้ ขุดหลุมทีม่ ีขนาดเล็ก้้ า้ต้ น
กล้า พรวนดิน ตักดิน ตักปุ๋ ้ และใช้
ผสมปุ๋ ้กับดิน
ใช้สาหรับขุดย้ายต้นกล้าไปปลูก ขุดหลุมปลูก หรื อใช้ขดุ และตักต้นกล้า
เพื่อนาไปปลูกในหลุมที่เตรี ยมไว้ การใช้ชอ้ นปลูกจะ ช่วยให้ตน้ กล้าไม่ได้
รับความกระทบกระเทือน
ความปลอดภั้ในการใช้
ช้ อนปลูกตอนปลายมีลกั ษณะแหลมและค่อนข้ างคม ถ้ าผู้ใช้ ไม่
ระมัดระวังอาจเกิดอันตรายได้
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้ควรล้างทาความสะอาด เช็ดให้แห้ง ทาน้ ามันกันสนิมแล้วเก็บเข้าที่ให้เรี ยบร้อย
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานดิน
6. คราด
คราด ใช้ ลากหญ้ าหรือใบไม้ ที่ตัดทิง้ ไว้
ออกจากแปลงปลูก ใช้ ้่อ้ดินให้ ร่ วนซุ้
และเกลี้่ หน้ าดินให้ เรี้บ
ใช้สาหรับย่อยดินและเก็บเศษหญ้า แต่งแปลงปลูก การจับคราดใช้มือ
ทั้งสองจับด้ามคราดให้ห่างกันพอสมควร แล้วถึงเข้าหาตัว
ความปลอดภั้ในการใช้
ก่อนใช้ ควรตรวจดูว่าคราดอยู่ในสภาพที่ใช้ ได้ หรื อไม่ ขณะใช้ ควร
ระมัดระวังไม่ให้ ด้ามคราดไปถูกคนใกล้ เคียง
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้ควรล้างทาความสะอาด เช็ดให้แห้ง ทาน้ ามันกันสนิมแล้วเก็บเข้าที่ให้เรี ยบร้อย
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานดิน
7. บุ้งกี๋
บุ้งกี๋ ใช้ ใส่ ดิน ใส่ ปุ๋้ เพือ่ ขน้้ า้ไปใ้
สถานที่ต่าง ๆ
ความปลอดภั้ในการใช้
ก่อนใช้ ควรตรวจดูว่าหูหรื อที่จบั อยู่ในสภาพที่ใช้ ได้ หรื อไม่ ขณะ
ใช้ ควรระมัดระวังไม่ควรใส่ สิ่งต่างลงไปจนหนักเกินไป
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้ควรทาความสะอาด ให้สะอาดเรี ยบร้อย เอาเศษดิน เศษหญ้าออกให้สะอาดเรี ยบร้อย
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานพืช
1. มีดดา้หญ้ า
มีดดา้หญ้ า ใช้ ดา้หญ้ า หรือตัดกิง่ ไม้
ใช้สาหรับดายหญ้าหรื อถางหญ้าที่ข้ ึนสู ง ซึ่งไม่สามารถที่ จะใช้กรรไกร
ตัดหญ้าได้
ความปลอดภั้ในการใช้
ก่อนใช้ควรตรวจดูวา่ ด้ามแน่นดีหรื อไม่ ขณะใช้มีดดายหญ้าต้อง
ระมัดระวังให้มาก เพราะมีดดายหญ้ามีความคม อาจเป็ นอันตรายต่อผูใ้ ช้
และผูท้ ี่อยูข่ า้ งเคียง ควรคานึงถึงรัศมีของมีด ไม่ควรใช้มีดดายหญ้าแกว่ง
เล่นหยอกล้อกัน
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
เมื่อใช้มีดดายหญ้าแล้ว ควรล้างทาความสะอาดโดยใช้ผา้ เช็ดให้แห้ง ทาน้ ามันกันสนิม ด้วยจะช่วย
รักษาคมมีดให้อยูไ่ ด้ นาน แล้วเก็บเข้าที่
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานพืช
2. สา้้าง
สา้้าง ใช้ รดนา้ ต้ นไม้ ทมี่ ีขนาดใหญ่
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
เมื่อใช้เสร็จแล้ว ควรม้วนเก็บให้เรี ยบร้อย โดยไม่ให้มีรอยพับหรื อหักงอ เพราะจะทาให้สายยางรั่วได้
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานพืช
3. บัวรดนา้
บัวรดนา้ ใช้ ดา้หญ้ า หรือตัดกิง่ ไม้
ใช้สาหรับรดน้ าพืช น้ าที่ออกจากฝักบัวจะเป็ นฝอยกระจายทัว่ ต้นพืช
ทาให้พืชได้รับน้ าอย่างทัว่ ถึง และส่ วนต่าง ๆ ของพืชไม่หกั ง่าย การใช้
บัวรดน้ า ถ้าไม่ระมัดระวังจะเสี ยหายง่ายที่ส่วนคอของ ฝักบัวจึงควรจับ
ที่หูหิ้วหรื อที่มือจับเท่านั้น
ความปลอดภั้ในการใช้
ก่อนใช้ควรตรวจดูสภาพของบัวรดน้ าตรงที่มือจับหรื อหูหิ้ว
เสี ยก่อน ถ้าชารุ ดควรซ่อมให้เรี ยบร้อยก่อนนาไปใช้ และขณะที่ใช้ตอ้ ง
จับถือให้แน่นเพื่อไม่ให้ตกลงเท้า
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้แล้ว ควรล้างทาความสะอาดถังตัวถังและฝักบัว อย่าให้เศษหญ้าหรื ออย่างอื่นอุดตัน แล้ว
ควา่ เก็บเข้าที่
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานพืช
4. กรรไกรตัดหญ้ า
กรรไกรตัดหญ้ า ใช้ ตัดหรือตัดแต่ งหญ้ า
หรือต้ นไม้ ทมี่ ีลกั ษณะเป็ นพุ่ม
ใช้สาหรับตัดหญ้าหรื อตกแต่งรั้วต้นไม้หรื อตัดหญ้าในสนามที่มีมุมแคบ
ความปลอดภั้ในการใช้
ขณะที่ใช้ควรระมัดระวังคนที่อยูข่ า้ งเคียง ไม่ควรใช้มือจับ ใกล้โคน
กรรไกรมากเกินไป มือจะพลาดไปถูกคมของกรรไกรได้ ขณะใช้ควร
ระวังไม่ให้ปลายกรรไกร ไปถูกผูอ้ ื่นด้วย
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้ ควรล้ างทาความสะอาดเช็ดให้ แห้ ง ทาน ้ามัน กันสนิม หยอดน ้ามันเก็บเข้ าที่ โดยการ
แขวน
เครื่องมือเกษตรที่ใช้ กบั งานพืช
5. กรรไกรตัดกิง่
กรรไกรตัดกิง่ ใช้ ตัดกิง่ ไม้ ขนาดเล็กหรือ
ตัดดอกไม้
ใช้สาหรับตัดแต่งกิ่งไม้ขนาดเล็ก เช่น กิ่งที่แห้งไม่ สมบูรณ์ เป็ น
โรคและแมลงกัดกิน หรื อใช้ตดั แต่งพืชที่มี ใบและกิ่งหนา เกินไป
ก่อนใช้ควรปลดที่รัดสปริ งออก ใช้มือที่ผใู ้ ช้ถนัดจับโดยใช้อุง้ มือ
บริ เวณนิ้วหัวแม่มือบังคับกรรไกร ตอนบนในการตัดกิ่ง
ความปลอดภั้ในการใช้
ขณะตัดแต่งกิ่งควรใช้อย่างระมัดระวังโดยไม่ให้หลุดมือหรื อ
แกว่งเล่น
การทาความสะอาดและเก็บรักษา
ภายหลังการใช้ควรล้าง เช็ดทาความสะอาด ทาน้ ามันกันสนิม และหยอดน้ ามันตรงสปริ งขากรรไกร แล้ว
เก็บเข้าที่โดยการแขวน
กรรไกรดามยาว
ใช้ตัด
้
แตงหญ
าและต
นไม
ให
่
้
้
้ ้มี
รูปทรงสวยงาม
กรรไกรกระตุก
เป็ นเลื่อยที่ใช้ ในการตัดกิ่งไม้ เท่านัน้
ฟั นเลื่อยถี่ ทาให้ กิ่งไม้ ไม่ช ้าหรื อกีกขาด
มีดติดตาตอกิ
่ ๆ
่ ง่ และอุปกรณอื
์ น
สปริ งเกอร์
กระบะเพาะเมล็ด
กระบะพ่นหมอก
เครื่องฉีดพ่นสาร
1.1 เครื่องฉีดพ่ นสารอย่ างง่ าย
1.2 เครื่องฉีดพ่ นสารแบบสะพายหลัง (knapsack sprayers)
1.3 เครื่ องฉีดพ่ นสารแบบอัดแรงดัน (compression sprayers)
1.4 เครือ
่ งฉี ดพนสารแบบใช
่
้กาลังจาก
เครือ
่ งยนต ์ (engine powered
sprayers)
1.5 เครือ
่ งฉี ดพนสารแบบใช
่
้กาลังจาก
power take off ของแทรคเตอร ์
1.6 เครื่องฉีดพ่ นสารแบบใช้ นา้ น้ อย (mist blower,
ULV sprayer)
1.7 เครื่องฉีดพ่ นสารจากเครื่องบิน (aircraft sprayers)
1.8 เครื่องฉีดสารเข้ าไปในเนือ้ ไม้ (tree injectors)
เครื่ องหว่ าน (spreader, applicator หรื อ distributor)
วิธีการใช้เครื่ องมือเกษตรอย่างถูกต้อง ควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. ควรศึ กษาวิธก
ี ารใช้เครือ
่ งมือเกษตรให้
เขาใจเสี
ยกอน
้
่
2. ตรวจดูสภาพของเครือ
่ งมือเกษตรให้อยู่
ในสภาพดี
3. ใช้เครือ
่ งมือเกษตรอยางระมั
ดระวัง
่
อกั
ามาเลนหยอกล
และไมควรน
้ น
่
่
4. ใช้เครือ
่ งมือเกษตรให้เหมาะสม และ
ตรงกับลักษณะของงาน
การดูแลและเก็บเครือ
่ งมือเกษตร
1. ทาความสะอาดเครือ
่ งมือเกษตรหลังจากใช้
งานเสร็จแลวทุ
้ กครัง้
2. เครือ
่ งมือทีม
่ ค
ี ม เช่น จอม เสี ยม
กรรไกรตัดหญา้ ควรลับให้คมอยูเสมอ
่
3. เครือ
่ งมือทีเ่ ป็ นโลหะ ควรทาน้ามันเพือ
่
ป้องกันสนิม
4. ไมควรวางเครื
อ
่ งมือทีเ่ ป็ นโลหะหรือสั งกะสี ไว้
่
กลางแดดกลางฝน
เพราะจะทาให้เกิดสนิม
ไดง้ าย
่
ดิน (soil)
ความหมาย
คือ วัตถุท่ เี กาะตัวกันเป็ นกลุ่มก้ อน รวมตัว
กันเป็ นชัน้ ๆ ปกคลุมผิวบนของเปลือกโลก 
สลายตัวของหินและธาตุ +อินทรี ยวัตถุ (ซาก
พืช+สัตว์ ) +ดิน + นา้ + อากาศ
องคประกอบของดิ
น
์
25%
45%
แร่ ธาตุอาหารพืช
อินทรี้วัตถุ
อากาศ
นา้
25%
5%
Note ดินที่เหมาะสมในการปลูกพืช ต้ องมีทงั ้ 4 องค์ประกอบ หากขาดเพียงองค์ประกอบเดียวก็จะ
ทาให้ พืชเจริ ญเติบโตได้ ช้า
1 อนินทรียวัตถุ เป็ นส่วนทีเ่ กิดจากชิ้นเล็ก
ชิ้นน้อยของแร่และหินต่างๆ ทีส
่ ลายตัวโดยทาง
เคมี กายภาพ และชีวเคมี ทาหน้าทีเ่ ป็ นแหลง่
ของธาตุ อ าหารให้ กับ พืช และเป็ นอาหารของ
จุลน
ิ ทรียดิ
์ น
2 อิน ทรีย วัต ถุ ได้แก่ ส่ วนทีเ่ กิด จากการ
เน่าเปื่ อยผุพงั หรือการสลายตัวของเศษเหลือของ
พืชและสั ตวที
่ บ
ั ถมกันอยูบนดิ
น ทาหน้าที่ เป็ น
์ ท
่
แหล่ งอาหารของจุ ล ิน ทรีย ์ดิน ให้ พลัง งานแก่
จุลน
ิ ทรียดิ
ิ างกายภาพของ
์ น และควบคุมสมบัตท
ดิน เช่ น โครงสร้ างดิน ความร่วนซุ ย การ
ระบายน้าและการแลกเปลีย
่ นอากาศของดิน เป็ น
ตน
้ มีปริมาณธาตุอาหารพืชตา่
ประเภทของเนื้อดิน
1. มีอนุ ภาคขนาดใหญ่ ในช่องวางใน
่
เนื้อดินมาก ถายเทได
ดี
่
้ มากจน
เกือบจะอุมน
แรธาตุ
้ ้าไมได
่ เลย
้
่
อาหารมีน้อย
ดินทราย (มากกวา่ 0.05 mm )
2. ไถพรวนงาย
อากาศถายเทดี
อุ้มน้า
่
่
ไดปานกลาง
สามารถดูซบ
ั เอาแรธาตุ
ท ี่
้
่
จาเป็ นตอพื
้้
่ ชไวได
้
 ดินรวน
(0.02 0 – 0.05mm)
่
3. อนุ ภาคดินขนาดเล็ก จับตัวแน่น เมือ
่
ดินที่มีปัญหาต่อการเพาะปลูก
1. ดินขาดก๊ าซออกซิเจน ดินนา ดินพรุ
2. ดินที่มีชนหยั
ั ้ ง่ รากพืชไม่เหมาะสม หน้ าดินตื ้น ดินปน
หิน ดินหินโผล่ ดินพรุ
3. ดินไม่กกั เก็บน ้า ดินทรายจัด ดินเหมืองแร่ร้าง ดินบ่อ
พลอย
4. ดินที่มีสารพิษ ดินที่มีสภาพกรดจัด ด่างจัด ดินเค็ม
การกู้พรุ
1.ระบายน ้าออกให้ หมด ถมทรายและ
ดินเหนียว ลงไป 60-90%
ดินพรุ
มีธาตุอินทรี ย์ 20-99%
3.ก่อนปลูกพืช ปรับปรุง บารุงดินด้ วยปุ๋ยเคมีที่มีธาตุ
อาหารเสริ ม
****การแก้ ปัญหาดินพรุต้องลงทุน และใช้ เวลานาน
พบมากในภาคใต้ และภาคตะวันออก ****
2. ทาคันดินล้ อมรอบ
การกู้พรุ
1.ปูแผนพลาสติ
ก
่
ขางล
างก
อนท
าแปลง
้
่
่
หรือเตรียมแปลงปลูก
ดินทรายจัด
ใช้ขุดสระเก็บน้าภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ญีป
่ ่ นใช
ุ
้ในการปลูกขาวได
้
้
ผลผลิตดี
ใช้ปลูกพืชผัก
และผลไมที
่ รี าก
้ ม
สั้ น เช่น
กะหลา่ ปลี สต
รอเบอรี่ แคนตา
ลูปฯลฯ
การแก้ ปัญหา วิธีการ “แกล้ งดิน”ตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั
ณ ศูนย์การศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทอง จ.นราธิวาส
1.
ระบายน ้าออกจากบริ เวณดังกล่าวให้ หมด
ตากดินให้ แห้ ง
ปล่อยให้ กรดกามะถันเกิดเต็มที่
ดินกรดจัด
2.ใส่ปนู ขาวลงไปในปริ มาณ
มาก เพื่อปรับแก้ ความเป็ นกรด
ของดิน
3. ปล่อยให้ น ้าท่วมขังนานประมาณ 1 เดือน  ปลูก
ข้ าว หรื อพืชน ้าอื่นๆได้
การใส่ปนู ขาวในดินมากเกินไป ดินจะเกิดความด่างจัด ดินขาดธาตุอาหารเสริ ม Fe Mn Cu ทันที
ให้ ป๋ ยโดยกี
ุ
ดพ่นทางใบ
2เลือกพืชทนเค็มที่เหมาะสมกับระดับ
ความเค็มของดินมาปลูก เช่น ข้ าว อ้ อย
ปาล์มน ้ามัน และมะพร้ าวค่อยๆดูด
ซับเกลือออกจากดิน
3ควรให้ ป๋ ยทางใบ
ุ
แทนการใส่ลงในดิน
ดินเค็ม
1ระบายน ้าออกจากดินเค็มนานไป ดิน
จะลดความเค็มลงได้
ปุ๋ยและธาตุอาหาร
ความหมายของปุ๋ย
ปุ๋ย (Fertilizer) คือ อาหารพืชทีเ่ กิดขึน
้
ตามธรรมชาติ หรือทีค
่ นเราสั งเคราะหขึ
้ โดย
์ น
กรรมวิธท
ี างวิทยาศาสตร ์ สามารถทาให้พืช
เจริญเติบโตได้
ความหมายของธาตุอาหารพืช
ธาตุอาหารพืช (Plant nutrients) หมายถึง
ธาตุทจ
ี่ าเป็ นหรือเป็ นประโยชนต
ญเติบโต
์ อการเจริ
่
ของพืช ถาพื
หรือไดรั
้ ชขาดธาตุดงั กลาว
่
้ บไมได
่ ้
ปุ๋ยแบงออกได
เป็
่
้ น 2 ประเภท คือ ปุ๋ย
อินทรียและปุ
๋ ยอนินทรีย ์
์
ปุ๋ยอินทรีย ์ เป็ นปุ๋ยทีไ่ ดจากซากพื
ชซาก
้
สั ตว ์ มูลสั ตว ์ เศษขยะมูลฝอยตางๆปุ
่
๋ ยนี้จะมี
ธาตุอาหารพืชอยูในปริ
มาณน้อย แตจะช
่
่
่ วยใน
การปรับปรุงคุณสมบัตท
ิ างกายภาพของดินให้ดี
ขึน
้ ซึง่ จะทาให้ดินรวนซุ
ย อุมน
่
้ ้าไดดี
้ ปุ๋ย
อินทรียเราสามารถแบ
งออกได
เป็
์
่
้ น 4 ชนิด
คือ
(1) ปุ๋ยคอก
(2) ปุ๋ยหมัก
3) ปุ๋ยพืชสด
ปุ๋ยอนินทรีย ์
ี างเคมี
ปุ๋ยเคมี ซึ่ง หมายถึง การใช้กรรมวิธท
สั งเคราะหแร
ตางๆ
เพือ
่ ให้ไดปุ
่ ี ปริมาณ
์ ธาตุ
่
่
้ ๋ ยทีม
ธาตุ อ าหารตามที่ ต้ องการโดยทั่ว ไปจะมี ธ าตุ
อาหารหลัก ซึ่งได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และโปตัส เซี ย มอยู่ในปริม าณมาก ปุ๋ ยเคมีน้ั น
สามารถแบงออกได
เป็
่
้ น 2 ชนิดคือ
(1) ปุ๋ยเดีย
่ วหรือแมปุ
่ ธ
ี าตุอาหารหลัก
่ ๋ ย เป็ นปุ๋ยทีม
ธาตุใดธาตุหนึ่งเพียงธาตุเดียว ซึง่ ไดแก
้ ่
ก. ปุ๋ยทีใ่ ห้ธาตุไนโตรเจน ไดแก
้ ่
- ปุ๋ยยูเรีย (Urea) บางทีเรียกวาปุ
่ ๋ ยเย็น มีสี
ขุนขาวเหมื
อนเม็ดสาคู ละลายน้างาย
มีธาตุ
่
่
ไนโตรเจนรอยละ
45-46 โดยน้าหนัก
้
- ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (Ammonium
sulphate) หรือบางทีเรียกวา่ ปุ๋ยน้าตาล
ละลายน้าไดดี
20-21
้ มีธาตุไนโตรเจนรอยละ
้
โดยน้าหนัก
- ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรท (Ammonium
nitrate) มีธาตุไนโตรเจนรอยละ
35 โดย
้
น้าหนัก
ข. ปุ๋ยทีใ่ ห้ธาตุฟอสฟอรัส ไดแก
้ ่
- ปุ๋ยหินฟอสเฟต (Rock phosphate) จะให้
ธาตุฟอสฟอรัสประมาณ
รอยละ
30 โดย
้
น้าหนัก
- ปุ๋ยซูเปอรฟอสเฟต
(Super phosphate) จะ
์
ให้ฟอสฟอรัสรอยละ
20 โดยน้าหนัก
้
- ปุ๋ยดับเบิล
(Double super
้ ซูเปอรฟอสเฟต
์
phosphate) ให้ธาตุฟอสฟอรัสรอยละ
40 โดย
้
น้าหนัก
ค. ปุ๋ยทีใ่ ห้ธาตุโปตัสเซียม ไดแก
้ ่
- ปุ๋ยโปตัสเซียมคลอไรด ์ (Potassium
Chloride) ให้ธาตุโปตัสเซียม
รอยละ
60
้
โดยน้าหนัก
- ปุ๋ยโปตัสเซียมเฟต (Potassium sulphate) ให้
ธาตุโปตัสเซียมรอยละ
50 โดยน้าหนัก
้
ปุ๋ยผสม ไดแก
่ ้องเอาปุ๋ยเดีย
่ วหรือแมปุ
้ ปุ
่ ๋ ยทีต
่ ๋ย
ตัง้ แต่ 2 ชนิดมาผสมกับเพือ
่ ให้ไดธาตุ
อาหารพืช
้
ตามทีต
่ ้องการแบงออกเป็
น
่
ก. ปุ๋ยผสมไมสมบู
รณ ์ เป็ นปุ๋ยทีม
่ ธ
ี าตุอาหารหลัก
่
อยูเพี
่ ยง 2 ธาตุ เช่น ปุ๋ยสูตร 16 - 20 - 0 จะมีธาตุ
ไนโตรเจน 16 ส่วน และฟอสฟอรัส 20 ส่วนในรอย
้
ส่วนเป็ นตน
้
ข. ปุ๋ยผสมสมบูรณ ์ จะมีธาตุอาหารหลักครบ 3
ธาตุ เช่น ปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 เป็ นตน
้
ในกา รน า แม่ ปุ๋ ยมา ผสมกั น เพื่ อ ให้ ได้ น้ าหนั ก
จานวนเต็ม 100 ส่วน ซึ่งหากเมือ
่ ใช้แมปุ
่ ๋ ยแล้วยังได้
น้ าหนักไมเต็
ื่ ทีไ่ มมี
่ ม 100 ส่วน จะต้องใช้วัสดุอน
่
อาหารพืช สามารถคลุกเคล้าปุ๋ยได้ เช่น ทราย ขี้
เลือ
่ ย ฯลฯ มาเติม เราเรียกวัสดุน้ันวา
ฟิ ลเลอร
วิธก
ี ารใส่ปุ๋ย
(1) ละลายน้ารด ใช้กับปุ๋ยทีล
่ ะลายน้าไดดี
้
เช่น ปุ๋ยยูเรีย
(2) หวาน
เป็ นวิธท
ี น
ี่ ิยมกันมาก จะใช้มือกา
่
แลวหว
านปุ
้
่
๋ ยไปให้ทัว่ ถึงและรวดเร็ว
(3) หยอดหลุม ใช้กับพืชทีป
่ ลูกเป็ นหลุมหาง
่
กันจะช่วยป้องกันการชะลางจากน
้า
้
(4) โรยเป็ นแถว อาจใส่หลังจากการพรวนดิน
โดยเฉพาะกับพืชทีป
่ ลูกเป็ นแนวบางทีอาจใช้
เครือ
่ งทุนแรงช
่
่ วย ก็จะเกิดการประหยัด
แหลงน
่ การเกษตร
่ ้าเพือ
• น้าฝน
• น้าผิว
ดิน
• น้าใต้
ดิน
ทีม
่ าของ
แหลงน
่ ้า
ประเภทของงานพัฒนาแหลงน
่
่ ้าเพือ
การเกษตร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
บน้า
งานอางเก็
่
งานสระเก็บน้า
งานขุดลอกหนองและบึง
งานฝายทดน้า
งานคลองส่งน้า
งานสูบน้า
คูส่งน้าเขาพื
้ ทีเ่ พาะปลูกช่วยทาให้ไร่
้ น
นาไดรั
ว่ ถึง
้ บน้าอยางทั
่
ฝายคอนกรีต
การพัฒนาแหลงน
่ ้าช่วยให้สั ตว ์
เลีย
้ งไมขาดแคลนน
้า
่
อางเก็
บน้า
่
วิธก
ี ารปลูกพืชผัก
หลักวิธก
ี าร
• การเตรียมดิน
– ถางหญา้
– พรวนดิน
– ผสมดิน (ดินตอขี
3:1)
่ เ้ ถาแกลบ
้
– พักดิน 1 สั ปดาห ์
• การปลูก (แบบหยอดหรือหวาน
หรือถอน
่
แยก) และการปกคลุมดิน
• การดูแล (รดน้าเช้า-เย็น , การให้รมเงาแก
่
่
พืชทีย
่ ้ายปลูกใหม)่
• การเก็บเกีย
่ ว(ขายจริง....)
วิธก
ี ารปลูกพืชผัก สามารถปลูกได้
3 วิธ ี คือ
1. การปลูกโดยอาศัยส่วนตาง
ๆ ของตนพื
่
้ ช
ราก ลาตน
ประกอบดวย
้ ใบ โดยการปัก
้
ชา การตอนกิง่ การโน้มกิง่ การแยกหน่อ
หรือหัว โดยวิธก
ี ารตาง
ๆ ดังนี้
่
1.1 ราก ส่วนใหญน
่ ามาปักชา เช่น ราก
มั น เ ท ศ
เ ป็ น ต้ น
1.2 ลาต้น นามาปลูกโดยการปักชา การ
ตอนกิง่ การโน้มกิง่ และการแยกหน่อหรือหัว
ล าต้ นแบ่งออกเป็ นหลายชนิ ด เช่ น มัน เทศ
สะระแหน่ โหระพา หอมแดง ตะไคร้ ขิง
ขา่ ขมิน
้
เป็ นตน
้
2. การปลูกดวยเมล็
ดโดยตรง
้
เป็ นวิธ ีท ี่ใ ช้ กัน โดยทั่ว ไปกับ พืช ผัก ที่ม ีก าร
เจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ในที่ ท ี่ ไ ม่ มี ปั ญ หาน้ า และ
ศัตรูพช
ื มากนัก
- พื ช ผัก ที่ ป ลู ก ด้ วยเมล็ ด โดยตรงมัก เป็ น
พืชผักทีท
่ นทานตอสภาพแวดล
อมได
ดี
่
้
้
- พืชผักทีม
่ รี ะบบการงอกของรากไมดี
่ ไม่
สามารถเพาะกลาแล
วย
กได้ เมล็ดมีขนาด
้
้ ายปลู
้
ใหญ่ เมล็ดมีราคาถูก มีการปฏิบต
ั ด
ิ ูแลรักษา
งาย
มีโรคและแมลงรบกวนน้อย หรือพืชผักที่
่
ใช้ รากหรือ หัว เป็ นอาหารก็ นิ ย มปลู ก
ด้ วย
2.1 การหวานเมล็
ด
่
เป็ นวิธก
ี ารทีใ่ ช้กับพืชผักทีใ่ ช้ใบเป็ นอาหาร มี
อายุเก็บเกีย
่ วสั้ น โตเร็ว มีระยะการปลูกถี่ บางชนิด
มีเมล็ดขนาดใหญสะดวกในการหว
านลงในแปลงปลู
ก
่
่
ไดเป็
แตเมล็
้ นอยางดี
่
่ ดพืชผักบางชนิดมีขนาดเล็ก
การหวานให
มักจะขึน
้
่
้ทัว่ ทัง้ แปลงกระทาไดยาก
้
เป็ นกระจุก
ควรใช้ทรายหยาบ ผสมกับเมล็ดพันธุก
าน
่
่
์ อนหว
โดยใช้อัตราส่วนเมล็ดพันธุ ์ 1 ส่วน ผสมกับทราย 5
ส่วน คลุกเคลาให
าน
้
้เขากั
้ นกอนหว
่
่
กอนน
าเมล็ดไปปลูกควรนาเมล็ด แช่น้าไว้
่
ประมาณ 12 ชัว
่ โมง ผึง่ ลมให้สะเด็ดน้ากอนน
าไป
่
หวาน
เมล็ดจะงอกเร็วขึน
้ พืชผักทีป
่ ลูกดวยวิ
ธน
ี ี้
่
้
2.2 การหวานเมล็
ดและถอนแยก
่
เป็ นวิธท
ี ใี่ ช้กันมากในการปลูกพืชผักทัว
่ ไปที่
สามารถย้ายกล้าได้ พืชผักทีน
่ ิยมปลูกโดยวิธน
ี ี้
เช่ น ผัก คะน้ า ผัก กาดขาว ผัก กาดหอม
ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหัว เป็ นตน
้
โดยการจัดระยะระหวางต
นค
่
้ านึงถึงทรง
พุมใบของพื
ชผัก ระวังอยาให
่
่
้แน่นจนเกินไป
อาจเป็ นทีอ
่ ยูอาศั
ยของแมลงศัตรูพช
ื และการ
่
ระบาดของโรคพืชผักได้
2.3 การปลูกดวยการหยอดเป็
นหลุม
้
นิ ย มใช้ กับ พืช ผัก ที่ม ีข นาดใหญ่ เมล็ ด ใหญ่
ต้ นกล้ าแข็ ง แรง และมีก ารเจริญ เติบ โตได้ ดีใ น
สภาพแวดล้อม ของท้องถิน
่ ปกติการเตรียมหลุม
ปลูกต้องมีระยะการปลูกตามความอุดมสมบูรณของ
์
ดิน หลังพืชผักงอกแล้วต้องถอนต้นทีไ
่ ม่แข็งแรง
ออก เหลือไวหลุ
้ มละ 2-3 ตน
้
พืชผักทีน
่ ิยมปลูกดวยวิ
ธน
ี ี้ไดแก
้
้ ่ ข้าวโพด
ถัว่ ตาง
ๆ แตงตาง
ๆ ฟักทอง แฟง บวบ
่
่
มะระ เป็ นตน
้
ไดเวลานั
กเรียนวางแผนและลงมือ
้
ปฏิบต
ั ไิ ดแล
้ วคะ
้