Transcript แร่

หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรียท์ ี่มีเนื้ อเดียวเกิดขึ้ นเองตามธรรมชาติในรูป
ของผลึกมีองค์ประกอบทางเคมีแน่นอน
แร่ส่วนใหญ่เกิดรวมตัวอยู่กบั หิน จึ งเรียกว่าแร่ประกอบหิน
แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ซึ่งเกิดเป็ นส่วนประกอบของหินชนิดต่างๆ เช่ น
หินแกรนิต ซึ่งประกอบขึ้ นด้วยแร่ควอร์ตซ์และแร่เฟลสปาร์




ผลึก หมายถึง สารที่มีลักษณะเป็ นของแข็งมีผวิ หน้ าเรียบ และมีรูปทรงสัณฐาน
เป็ นเหลี่ยมแน่นอน จากัด ตัวอย่างเช่น
ผลึกเกลือแกง มีลักษณะเป็ นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์
ผลึกจุนสี มีลักษณะเป็ นรูปหกเหลี่ยม
ผลึกสารส้ ม มีลักษณะเป็ นรูปแปดเหลี่ยมปลาย 2 ข้ างแหลม

1. สี คือ สีของแร่เมื่อเป็ นก้ อน เช่น แร่ฮีมาไทต์มีสคี ่อนข้ างดา แร่ไมกามีสขี าว
หรือใสไม่มีสี แร่กาลีนามีสเี ทา แร่ชนิดเดียวกันอาจมีสตี ่างกันได้ เช่น
แร่คอรันดัม สีแดง คือทับทิม
แร่คอรันดัม สีนา้ เงิน คือ ไพริน

2. สีผงละเอียด คือ สีของแร่เมื่อบดละเอียดหรือนาไปขีดบนแผ่นกระเบื้องขาว
เช่น แร่เหล็กฮีมาไทต์ เมื่อนามาขีดบนแผ่นกระเบื้องสีขาวจะได้ ผลสีแดง

3. ความวาว คือ แสงแวววาวที่ผวิ แร่ เช่น แร่ไพไรต์ และแร่เหล็กฮีมาไทต์วาว
แบบโลหะ แร่ควอร์ตซ์วาวคล้ ายแก้ ว
4. ความแข็ง คือ ความที่แร่อย่างหนึ่งสามารถขีดแร่อกี อย่างหนึ่งให้ เป็ นรอยได้
หรือถูกวัตถุอ่นื ขีดให้ เป็ นรอยได้ โมห์ส(mohs) เป็ นผู้กาหนดความแข็งของ
แร่ไว้ ต้งั แต่ 1-10
ความแข็ง
ความสามารถในการขู ดหรือถูกขู ด
ทัลค์
1
เล็บขูดเป็ นรอย
ยิปซัม
2
เล็บขูดเป็ นรอย
แคลไซต์
3
มีดขูดเป็ นรอย
ฟลูออไรต์
4
มีดขูดเป็ นรอย
อะพาไรต์
5
มีดขูดเป็ นรอย
ออร์โทแคลส
6
ขูดกระจกเป็ นรอย
ควอร์ตซ์
7
ขูดกระจกเป็ นรอย
โทแพช
8
ขูดกระจกเป็ นรอย
คอรันดัม
9
ขูดกระจกเป็ นรอย
เพชร
10
ขูดกระจกเป็ นรอย
ชื่อแร่
5. ความหนาแน่น ( DENSITY ) คือ มวลของแร่ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ซึ่ง
เป็ นสมบัติเฉพาะตัวของแร่
 สูตรคานวณ
D=m/V
D = ความหนาแน่นของสาร มีหน่วยเป็ น g/cm3
m( mass ) = มวลสาร หน่วยเป็ น g หรือ kg
V ( Volume ) = ปริมาตร หน่วยเป็ น g / cm3 หรือ kg /m3

เช่น แร่ควอร์ตซ์มีความหนาแน่น 2.65 g/cm3
แร่เงินมีความหนาแน่น 10.50 g/cm3


การจาแนกชนิดของแร่โดยใช้ ส่วนประกอบทางเคมีเป็ นเกณฑ์แบ่งได้ เป็ น แร่
โลหะ แร่อโลหะ แร่รัตนชาติ และแร่เชื้อเพลิง

ถ้ าจาแนกโดยใช้ ลักษณะการนาไปใช้ ประโยชน์เป็ นเกณฑ์ แบ่งได้ เป็ น แร่
กัมมันตรังสี แร่รัตนชาติ แร่โลหะ แร่อโลหะ และแร่เชื้อเพลิง
การจาแนกแร่เป็ นกลุ่ม 2 กลุ่ม คือ
1) แร่ประกอบหินคือ แร่ท่มี ักพบอยู่ในหินชนิดต่างๆ เป็ นกลุ่มแร่ซิลิเกตที่มี
ธาตุซิลิกอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก เป็ นส่วนประกอบ
2) แร่เศรษฐกิจ คือ แร่ท่มี ีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เช่นแร่โลหะ และอโลหะ



คือ แร่ท่สี ลายตัวแล้ วให้ กมั มันตรังสีซ่ึงมีพลังงานมหาศาล นาไปใช้ ประโยชน์ใน
ด้ านวิศวกรรมพลังงาน การแพทย์ และการเกษตรได้ ตัวอย่างเช่น แร่ยูเรเนียม
เรเดียม โคบอลต์-60 เป็ นต้ น
แร่เดียม
แร่โคบอลต์

คือ แร่ท่นี ามาเจียระไนแล้ วมีความสวยงาม นาไปใช้ เป็ นเครื่องประดับได้ แบ่ง
ออกป็ น 2 ประเภท คือ
1.แร่ที่เกิดจากอินทรีสาร เช่น ไข่มุก อาพัน
อาพันเกิดจากยางสนในในรูปของฟอสซิลธรรมชาติฟอร์มตัวจนแข็งเป็ นเรซิน
2.แร่ที่เกิดจากอนินทรียสาร เช่น เพชร ทับทิม มรกต

แร่โลหะคือ แร่ท่มี ีโลหะผสมอยู่ เวลาจะใช้ ต้องนามาถลุงก่อน
ตัวอย่างของแร่อโลหะ เช่น ทองคา เงิน ทองแดง เหล็ก ตะกั่ว แมงกานีส

แร่อโลหะ คือ แร่ท่ไี ม่มีการถลุง นาไปใช้ ประโยชน์ได้ ทนั ที เช่น กามะถัน
กราไฟต์ ยิปซัม

คือ แร่ท่นี ามาใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในโรงจักรผลิตกระแสไฟฟ้ า และโรงงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ
เช่น ถ่านหิน ลิกไนต์ และปิ โตรเลียม

เป็ นแร่เชื้ อเพลิงที่มีสถานะเป็ นของแข็ง มีความเปราะมีสีต่างๆ เช่น สีดา
น้ าตาล น้ าตาลแกมดา และน้ าตาลเข้ม เกิดจากการทับถมและแปรสภาพ
จากพืช มี 4 ชนิด คือ
1. พีต
2. ลิกไนต์
3. บิทูมินสั
4. แอนทราไซต์

ปิ โตรเลียม หมายถึง สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
โดยมีธาตุเป็ นองค์ประกอบหลัก คือ คาร์บอน และไฮโดรเจน

แบ่งตามสถานะในธรรมชาติได้ 2 ชนิด
1.น้ ามันดิบ (Crude Oil)
2. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas)

เนื่องจากนา้ มันดิบประกอบด้ วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายพันชนิด
ดังนั้นจึงไม่สามารถแยกสารที่มีอยู่ออกเป็ น สารเดี่ยวๆได้ อีกทั้งสารเหลวนี้มี
จุดเดือดใกล้ เคียงกันมาก

วิธกี ารแยกองค์ ประกอบนา้ มันดิบจะทาได้ โดยการกลั่นลาดับส่วนและเก็บสาร
ตามช่วงอุณหภูมิ

ซึ่งก่อนที่จะกลั่นจะต้ องนานา้ มันดิบมาแยกเอานา้ และสารประกอบกามะถัน
ออกซิเจน ไนโตรเจนและโลหะหนักอื่นๆ ออกไปก่อนที่จะนาไปเผาที่อุณหภูมิ
320 - 385 C
- ก๊าซ (C1 - C4)เป็ นของผสมระหว่ างก๊าซมีเทน อีเทน โพรเพนและบิ วเทน
ประโยชน์ : มีเทน ผลิตกระแสไฟฟ้า
อีเทน โพรเพนและบิวเทน ใช้ ในอุตสาหกรรม
- ปิ โตรเคมี และโพรเพนและบิวเทนใช้ ทําก๊ าซหุงต้ ม (LPG
- แนฟทาเบา (C5 - C7) : ใช้ ทาํ ตัวทําละลาย - แนฟทาหนัก (C6 - C12) :ทํานํา้ มัน
เบนซิน
- มันเบนซิน : ใช้ ทาํ เชื้อเพลิงรถยนต์
- นํา้ มันก๊าด (C10 - C14) : ใช้ ทาํ เชื้อเพลิงสํ าหรับตะเกียงและเครื่องยนต์
- นํา้ มันดีเซล (C14 - C19) : ใช้ ทําเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ ดเี ซล ได้ แก่ รถบรรทุก , เรือ
- นํา้ มันหล่อลืน่ (C19 - C35) : ใช้ ทาํ นํา้ มันหล่ อลืน่ เครื่องยนตเครื่องจักรกล
- ไขนํา้ มันเตาและยางมะตอย (C > C35)
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
ดีบุก
ส่วนใหญ่ใช้ใน
อุตสาหกรรม
มีการใช้นอ้ ยมาก ส่วน
ใหญ่ใช้สมโลหะตะกัว่
บัดกรี ใช้ในการฉาบแผ่น
เหล็กเพือ่ ทากระป๋ อง
บรรจุอาหาร ชุบแผ่น
เหล็กทาเหล็กวิลาศ ฯลฯ
ทังสเตน
ใช้ ในการถลุงเหล็ก ใช้ ผสมกับเหล็กกล้ า ยังไม่มีการใช้ ในประเทศ
ใช้ ทาเครื่องมือที่ทนความร้ อนได้ สงู ฯลฯ
ชนิดของแร่
ชนิดของแร่
พลวง
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
ใช้ ในการทาโลหะผสม ผสมตะกั่ว ทาแผ่นกริต
แบตเตอรี่ ใช้ ในส่วนประกอบของกระสุนปื น ใช้ ทา
ผ้ าทนไฟ และใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบ
มีการใช้ ไม่มากนัก ส่วนใหญ่ใช้ ผสมกับ
ตะกั่วและดีบุกทาตะกั่วตัวพิมพ์ หรือ
โลหะบัดกรี บางชนิด
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
สังกะสี
ใช้ ในการเคลือบแผ่นเหล็กทาสังกะสีมุงหลังคา ทากระป๋ อง บุ
เปลือกในของถ่านไฟฉาย ใช้ หล่อส่วนประกอบต่างๆ ของสิ้น
ส่วนในรถยนต์
ยังไม่มีการใช้ ในอุตสาหกรรมในประเทศ
ตะกั่ว
ทาตะกั่วบัดกรี กระดาษตะกั่วห่ออาหารและบุหรี่ ทาท่อนา้ ทา ทาตะกั่วบัดกรี
แผ่นตะกั่ว ทาสี ทาตัวพิมพ์ ฯลฯ
ชนิดของแร่
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
ทองแดง
สินแร่ของทองแดงถลุงเอาโลหะทองแดงเพื่อใช้ ประโยชน์ใน
อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ในการทาอุปกรณ์ไฟฟ้ า
เครื่องจักรกล อาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ ฯลฯ
ผลิตโลหะทองแดง
ทองคา
เป็ นหลักประกันของธนบัตร ทาเหรียญกระษาปณ์ ทา
เครื่องประดับ ใช้ ผสมโลหะอื่นๆ เพื่อใช้ ในการ
ทันตกรรม
ทาเครื่องประดับ
ชนิดของแร่
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
ฟลูออไรด์
ใช้ ในการถลุงเหล็ก อุตสาหกรรมทาอะลูมเนียม ทาอุปกรณ์
กล้ องจุลทรรศน์ ใช้ ในอุตสาหกรรมผลิตใยแก้ ว อุตสาหกรร
เคมี ฯลฯ
อุตสาหกรรมผลิตแก้ ว
ยิปซัม
ใช้ ทาปูนซีเมนต์ ปูนปลาสเตอร์ แผ่นยิปซัมบอร์ด ปุ๋ ย
กระดาษ ดินสอสี ยาง และทาเต้ าหู้ถ่วั เหลือง
ผลิตซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ผลิตปูน
ปลาสเตอร์และชอล์ค ผลิตแผ่นยิปซัม
บอร์ด
ชนิดของแร่
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
ดินมาร์ล
ผลิตปูนซีเมนต์ ใช้ ผลิตปูนซีเมนต์
ใช้ แก้ ปัญหาดินเปรี้ยว
ทรายแก้ ว
ใช้ ทาแก้ วและกระจก
ใช้ ในโรงงานทาแก้ วและโรงงานทากระจก
ดินขาว
ใช้ ทาอิฐ กระเบื้อง เครื่องถ้ วยชาม ใช้ ในอุตสาหกรรม
กระดาษ ยาง และสี
ทาถ้ วยชาม ทาเครื่องสุขภัณฑ์
โดโลไมต์
ใช้ ในอุตสาหกรรมแก้ วและกระจก ใช้ เป็ นหินประดับและ
หินก่อสร้ าง
ใช้ ในอุตสหกรรมแก้ วและกระจก
ชนิดของแร่
ประโยชน์
การใช้ในประเทศ
ทัลค์
ทาแป้ งผัดหน้ า ใช้ ในโรงงานผลิตยางรถยนต์
ทาแป้ งผัดหน้ า ใช้ ในโรงงานผลิตยาง
รถยนต์
ฟอสเฟต
ประมาณ 70% ใช้ ทาปุ๋ ย นอกนั้นใช้ ประโยชน์อ่ืนๆ เช่น
อาหารสัตว์ ผงซักฟอก วัสดุทนไฟ
ใช้ ทาปุ๋ ย
หินอ่อน
ใช้ เป็ นวัสดุก่อสร้ าง และเครื่องตกแต่งอาคาร ใช้ ทาปุ๋ ย
และเคมีภัณฑ์
ประดับพื้นหรือผนังบ้ านหรืออุปกรณ์
เครื่องใช้ ต่างๆ
ชนิดของแร่
ชนิดของแร่
ประโยชน์
ถ่านลิกไนต์
ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้ แทนถ่านไม้ และ
นา้ มัน
ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงของโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้ า
การใช้ในประเทศ
ใช้ สาหรับโรงงานผลิตปุ๋ ย ใช้ แทนไม้ ฟืน
เพื่อการบ่มใบยาสูบ

http://www.kr.ac.th/tech/det48m2/soiltest10
.htm