พอยท์หิน

Download Report

Transcript พอยท์หิน

หิน (Rock)
โดย
ครู ธันว์ ชนก บัวคงดี
หิน
คือ มวลของแข็งที่ประกอบไปด้ วยแร่ ชนิด
เดียวกัน หรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตาม
ธรรมชาติ เนื่องจากองค์ ประกอบของ
เปลือกโลกส่ วนใหญ่ เป็ นสารประกอบ
ซิลกิ อนไดออกไซด์ (SiO2)
ดังนั้นเปลือกโลกส่ วนใหญ่ มักเป็ นแร่ ตระกูล
ซิลเิ กต
การจาแนกหิน
 ตามลักษณะการเกิด ได้
3 ชนิด
1.หินอัคนี
2.หินตะกอน / หินชั้ น
3.หินแปร
หินอัคนี
เกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของ
หินหนืด
มี 2 ชนิด
 1.อัคนีพุ
คือหินที่เย็นตัวอย่ างรวดเร็ว เกิดบนเปลือกโลก
มีลกั ษณะเนือ้ ละเอียด
 2. อัคนีแทรกซอน /บาดาล
คือหินที่เย็นตัวอย่ างช้ าๆ เกิดภายใต้ เปลือกโลก
มีลกั ษณะเนือ้ หยาบ
แหล่ งกาเนิดหินอัคนี
ตัวอย่ างหินอัคนี
ตัวอย่ างหินอัคนีพุ
 หินไรโอไลต์
เนือ้ ละเอียดกว่ าหินแกรนิต
ประกอบด้ วยผลึกแร่ หลาย
ชนิด ประโยชน์ ใช้ ในงาน
ก่ อสร้ าง แหล่ งที่พบ
จังหวัดสระบุรี
เพชรบูรณ์
หินแอนดีไซต์
เนือ้ แน่ น ทึบ ละเอียดเป็ น
ผลึกเล็กๆกระจัดกระจาย
รู ปผลึกมองด้ วยตาเปล่ าไม่
เห็นต้ องส่ องด้ วยกล้ อง
จุลทรรศน์
 ประโยชน์ ใช้ ในงานก่ อสร้ าง
ทาถนน
 แหล่ งที่พบ สระบุรีและ
เพชรบูรณ์

หินบะซอลต์
มีสีเข้ ม เนือ้ แน่ นผลึกมีขนาด
เล็กมีรูพรุนทนทานต่ อการผุ
กร่ อนเป็ นแหล่ งกาเนิดของอัญ
มณี (พลอยชนิดต่ างๆ )
 ประโยชน์ ใช้ ทาถนน ก่ อสร้ าง
 แหล่ งทีพ
่ บ กาญจนบุรี
จันทบุรี ลาปาง ลพบุรี

หินออบชิเดียน



ไม่ เป็ นผลึก เนือ้ เรียบ เกลีย้ ง
คล้ายแก้วมีสีดารอยแตกคม
เหมือนแก้วแตก
ประโยชน์ ใช้ ทาอาวุธโบราณ
แหล่งทีพ่ บ
หินพัมมิช
เหมือนสคอเรีย แต่ รูพรุนเล็ก
กว่ า เบา ลอยนา้ ได้
ประโยชน์ ใช้ ทาหินขัด
พบได้ ตามชายฝั่ง

หินตะกอนหรือหินชั้น
เกิดจากการผุพงั ของหินต่ างๆทีผ่ วิ โลก เกิดการพัดพา
ทับถมและตกตะกอนโดยมีวตั ถุประสาน

วัตถุประสานในธรรมชาติ
 ซิลก
ิา
 เหล็กออกไซด์
 แคลเซียมคาร์ บอเนต
ตัวอย่ างหินตะกอน
หินทราย
เนือ้ หยาบสี นา้ ตาล เกิดจาก
การทับถมตัวของทราย มี
องค์ ประกอบหลักเป็ น
แร่ ควอรตซ์
 ประโยชน์ ใช้ หินทราย
แกะสลัก สร้ างปราสาท และ
ทาหินลับมีด
 แหล่ งทีพ
่ บ เพชรบุรี ราชบุรี
กาญจนบุรี

หินดินดาน
เนื้อละเอียดมาก
สี เทา ผสมสี แดงเนื่องจากแร่ เหล็ก
กะเทาะหลุดออกมาเป็ นแผ่นๆได้
 ประโยชน์ ผสมทาปูนซี เมนต์
ปูพ้ืนทางเดิน
แหล่งที่พบ สงขลา เลย

หินปูน
เนือ้ ละเอียดมีหลายสี
ทาปฏิกริ ิยากับกรด อาจ
พบซากพืช ซากสั ตว์
 ประโยชน์ ผสมคอนกรี ต
ใช้ ในงานก่ อสร้ าง ทาวัตถุ
ทนไฟ
 แหล่ งทีพ
่ บ สระบุรี
ราชบุรี เพชรบุรี

หินกรวดมน

เนือ้ หยาบ เป็ นกรวดมนหลาย
ก้อนเชื่อมติดกัน
หินแปร
คือหินที่แปรสภาพไปเนื่องจากความร้ อนและ
แรงกดดัน

ตัวอย่ างหินแปร
หินชนวน



เนื้อละเอียดมาก มีสีเข้ม เกิดจาก
การแปรสภาพของหิ นดินดาน
กะเทาะออกเป็ นแผ่นๆตามรอย
แยกได้
ประโยชน์ ทากระดานชนวน มุง
หลังคา ปูพ้นื ทางเดิน ทาแผ่นกัน
ความร้อน
แหล่งที่พบ เส้นทางถนนมิตรภาพ
ก่อนถึงอาเภอปากช่อง
หินอ่ อน



เนื้อละเอียดถึงหยาบ แปรสภาพ
มาจากหิ นปูน ไม่มีริ้วขนาน แข็ง
น้อย สึ กกร่ อนง่าย ทาปฏิกิริยากับ
กรดทาให้เกิดฟองฟู่
ประโยชน์ ใช้เป็ นวัสดุตกแต่ง
อาคาร ตุก๊ ตาหิ น
แหล่งที่พบ สระบุรี นครนายก
ยะลา
วัฎจักรของหิน
คือ กระบวนการเกิดการเปลี่ยนแปลงและการหมุนเวียน
ของหิ นอัคนี หิ นตะกอนและหิ นแปร
 โดยเริ่ มจากหิ นหนื ดเย็นตัวลงกลายเป็ นหิ นอัคนี หิ นอัคนี
จะสลายตัวและสึ กกร่ อนเป็ นเศษหิ นและตะกอนต่างๆ ซึ่ ง
จะถูกพัดพาและทับถมเป็ นหิ นตะกอน หิ นตะกอนได้รับ
ความร้อนและแรงกดดันกลายเป็ นหิ นแปร ดังแผนภาพ
ต่อไปนี้

วัฎจักรของหิน