ที่นี่

Download Report

Transcript ที่นี่

หิ น
หินเป็ นวัสดุธรรมชาติทมี่ นุษย์ รู้จักนามาใช้ ประโยชน์ ตั้งแต่ สมัย
แรกเริ่มทีม่ นุษย์ ยงั อาศัยอยู่ในถา้ และตามเพิงผาธรรมชาติ โดยกะเทาะ
หินให้ มีเหลีย่ มคมเพือ่ ใช้ เป็ นอาวุธ เรียกว่ าหินกะเทาะ และใช้ หินขัดถูกนั
ให้ เกิดประกายไฟ เป็ นต้ น จึงเรียกมนุษย์ ในสมัยนั้นว่ า มนุษย์ ยุคหิน
ต่ อมาเมื่อมนุษย์ รู้จักพัฒนาเทคโนโลยีสูงขึน้ จึงได้ นาหินมาใช้ ประโยชน์
ในการก่อสร้ างทีอ่ ยู่อาศัย อาคาร และ ศาสนสถานต่ างๆตลอดจน
ดัดแปลงทาเครื่องใช้ เครื่องประดับ ปัจจุบันมนุษย์ กย็ งั ใช้ ประโยชน์ จาก
หินอย่ างแพร่ หลาย เช่ น ใช้ หินปูนผสมปูนซีเมนต์ ในการก่อสร้ าง ใช้
หินแกรนิต หินอ่อนปูพนื้ บ้ าน ตกแต่ งอาคาร ใช้ หินทราย หินดินดาน
หินชนวน ปูสนาม และใช้ หินปูนทาฐานรากของถนน เป็ นต้ น
หินตะกอน
( Sedimentary Rocks )
ตะกอน ( Sedimentary ) คือ เศษหิ น ดิน แร่ และอินทรี ยวัตถุที่เกิดจาก
กระบวนการผุสลายและพังทลาย วัตถุเหล่านี้ถูกน้ า,ลมหรื อธารน้ าแข็งพามา
สะสม หลังจากที่หินถูกกัดกร่ อนผุพงั กลายเป็ นตะกอน ต่อมาตะกอนเหล่านั้นถูก
น้ า ลม ธารน้ าแข็ง และแรงโน้มถ่วงของโลกพัดพาไปตามความลาดชันของพื้นที่
จากภูเขาลงสู่ที่ราบตามแม่น้ า ลาคลอง ทะเล และมหาสมุทร เป็ นต้น จนกระทั้ง
การพัดพาสิ้ นสุ ดลงเนื่องจากความเร็ วหรื อพลังงานในการพัดพาลดลงทาให้
ตะกอนเหล่านั้นตกสะสมตัวตามสภาพแวดล้อมของบริ เวณนั้น
ต่อมาเมื่อระยะเวลานานตะกอนที่ทบั ถมกันมีความหนามากขึ้น น้ าหนักของสาร
ตะกอนที่ทบั ถมกันทาให้ตะกอนอัดตัวกันแน่นมากขึ้น และสารที่แทรกอยู่
ระหว่างรู พรุ นของเม็ดตะกอนจะช่วยเชื่อมตะกอนให้ยดึ ติดกันจนในที่สุดตะกอน
ที่ทบั ถมกันจึงแข็งตัวกลายเป็ นหิ น
การสะสมตัวของ เศษหิ น กรวด ทราย และดินละเอียด ที่ทบั ถมในน้ า ทาให้เกิด
ตะกอนเป็ นชั้นๆเรี ยงตามขนาดของตะกอน ส่ วนที่มีขนาดเล็กหรื อละเอียด จะ
แทรกอยูต่ ามช่องว่างระหว่างตะกอนหยาบของทราย และกรวด ในฤดูแล้งเมื่อน้ า
ระเหยแห้งไปตะกอนจะจับตัวกันแน่นมากขึ้น และเมื่อถึงฤดูฝนน้ าจะพัดพา
ตะกอนมาสะสมทับถมเพิม่ มากขึ้นอีก เกิดเป็ นชั้นตะกอนหนาขึ้นเรื่ อยๆ
นี่คือภาพของ หิ น
ตะกอนค่ะ
ชนิดของหิ นตะกอน
กระบวนการเกิด
หิ นตะกอนชนิดเม็ด เกิดจาก
กระบวนการสะสม ทับถม
ตัวอย่าง
หิ นทราย หิ นดินดาน หิ นกรวด
มน หิ นทรายแป้ ง หิ นกรวด
เหลี่ยม
หิ นตะกอนที่เกิดจากการย่อย ถ่านหิ น หิ นปูนจากซาก
สลาย และแปรสภาพสิ่ งมีชีวติ ปะการัง
หิ นตะกอนที่เกิดจากการระเหย
ของน้ าในสารละลาย หรื อ เกิด เกลือหิ น หิ นปูนที่ตกตะกอน
จากการตกตะกอนสะสมตัว
จากน้ าทะเล
ของสารที่ละลายอยูใ่ นน้ า
ศิลาแลง (Laterite) ดินที่มีลกั ษณะร่ วนซุย เป็ นรู พรุ น สี สนิมเหล็ก
ประกอบด้วยเหล็กออกไซด์และอลูมิเนียมออกไซด์ ซึ่งเกิดจากการที่น้ า
ละลายเอาแร่ เหล็กและอลูมิเนียมจากหิ นต่างๆแล้วนามาสะสมรวมกันอยู่
เมื่อปล่อยทิ้งไว้จะแข็งมาก จึงเรี ยกว่า ศิลาแลง ใช้รองพื้นถนน ก่อผนัง
กาแพง ตกต่างอาคาร กรุ บ่อน้ า
หิ นปูน (Limestone) หิ นเนื้อแน่นละเอียด ประกอบด้วยแร่ แคลไซด์เป็ นส่ วนใหญ่
เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีหรื อจากการตกสะสมของซากเปลือกหอยหรื อ
สิ่ งมีชีวติ ที่อาศัยอยูใ่ นทะเล มีสีขาว เทา ชมพู เหลือง ใช้ทาปูนซีเมนต์ ปูนขาว ฟอก
หนัง ฟอกน้ าตาล อุตสาหกรรมแก้ว ใช้เป็ นหิ นก่อสร้าง หิ นประดับ หิ นขัด ใช้แก้
ดินเปรี้ ยว ประเทศไทยมีหินปูนอยูม่ าก
หิ นทราย (Sandstone) ประกอบด้วยเศษหิ นที่มีลกั ษณะกลมหรื อเหลี่ยมขนาดเม็ด
ทราย อาจมีวตั ถุประสานจาพวกซิ ลิกา แคลเซี ยมคาร์บอเนตหรื อเหล็กออกไซด์
ประสานให้เศษหิ นเกาะกันแน่นเม็ดทรายส่ วนใหญ่เป็ นแร่ ควอร์ ต ถ้าบริ สุทธิ์ จะมีสี
ขาว ถ้ามีเหล็กปนจะมีสีแดงถึงน้ าตาล มีคาร์ บอนปนมากทาให้มีสีดาใช้ทาหิ น
ก่อสร้าง กาแพง ปูพ้นื หิ นลับมีด พบตามขอบที่ราบ
หิ นกรวดมน (Conglomerate) เป็ นหิ นเนื้อหยาบ ประกอบด้วยเศษหิ น
กรวดขนาดใหญ่ ฝังอยูใ่ นเนื้อหิ นละเอียด มักมีวตั ถุประสานจาพวก
แคลเซียมคาร์บอเนต เหล็กออกไซด์ ซิลิกา หรื อดิน กรวดเหล่านี้มี
ลักษณะกลมหรื อมน เพราะถูกพัดพามาไกลจากแหล่งกาเนิด ใช้ทาหิ น
ประดับ
หิ นดินดาน (Shale) เนื้อละเอียด เกิดหากการสะสมตัวของโคลนตมและดิน
เหนียว อาจมีแร่ และสิ่ งอื่นปนอยูด่ ว้ ย เช่น เหล็ก และอินทรี ย ์ ทาให้มีสี
ต่างๆ เช่น สี แดง น้ าตาล เทา ดา ให้ทาปูนซีเมนต์ทาอิฐกระเบื้องปูพ้นื
ภาชนะดินเผา พบที่ จ.เชียงใหม่ นครราชสี มา
หิ นน้ ามัน (Oil Shale) หิ นดินดานที่มีสารไฮไดรคาร์บอน พวกเคโรเจน
่ นเนื้อหิ น ถ้าจุดจะติดไฟ ชาวบ้านเรี ยกว่า
(Kerogrn) ซึ่ งเป็ นสารน้ ามันอยูใ
หิ นติดไฟ สี น้ าตาลอ่อน น้ าตาลแก่ เผาที่อุณหภูมิสูงจะได้ไอน้ าและ
น้ ามัน เมื่อควบแน่นจะได้น้ ามันหิ น ซึ่งใช้เป็ นเชื้อเพลิงและประโยชน์
อื่นๆได้ พบที่ อ.แม่สอด จ.ตาก
หินอัคนี
(Igneous Rocks)
การเกิดหิ นอัคนี
สารต่างๆที่หลอมเหลวอยูใ่ ต้โลกจะมีลกั ษณะเป็ นหิ นหนืด เรี ยกว่า
แมกมา ( magma ) แมกมาจะดันตัวขึ้นมาจนถึงระดับหนึ่งภายใต้
เปลือกโลก และอยูใ่ นสภาวะที่อุณหภูมิลดลง แมกมาจะเกิดการเย็นตัว
และแข็งตัวอย่างช้าๆเกิดเป็ นผลึกแร่ ขนาดใหญ่ ทาให้หินมีเนื้อผลึก
หยาบ โดยทัว่ ไปจะมีแร่ หลายชนิดสอดประสานเกาะกันแน่น เนื้อหิ นมี
ลักษณะแน่นแข็ง เป็ น อัคนีแทรกซ้อน ได้แก่ หิ นแกรนิต
หิ นไดออไรต์ หิ นแกบโบร เป็ นต้น
หิ นอัคนีอีกประเภทหนึ่งเกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ เมื่อแมกมาพ่น
หรื อระเบิดพุง่ ขึ้นมาบนผิวโลกในรู ปของเหลวร้อนเรี ยกว่า ลาวา ลาวาจะ
เย็นและแข็งตัวอย่างรวดเร็ วภายในไม่กี่ชวั่ โมงเกิดเป็ นหิ นที่มีลกั ษณะ
เป็ นรู พรุ น เช่น หิ นพัมมิซ บางส่ วนมีลกั ษณะเนื้อเนียนเป็ นแก้ว เช่น หิ น
ออบซิเดียน ส่ วนลาวาที่ถูกดันตามขึ้นมาและไหลไปตามผิวโลกแล้วตก
ผลึกแข็งตัวที่บริ เวณผิวโลก หรื อใกล้ผวิ โลกเกิดเป็ น หิ นอัคนีพุ หรื อ
หิ นภูเขาไฟ ซึ่งส่ วนมามีเนื้อแน่นเป็ นผลึกขนาดเล็กมาก ได้แก่ หิ นไร
โอไรต์ หิ นบะซอลต์ และหิ นแอนดีไซต์
บางครั้งลาวาที่ไหลขึ้นมาบนผิวโลกจะนาแร่ ธาตุต่างๆ ที่อยูภ่ ายใน
โลกขึ้นมาด้วย เมื่อเย็นตัวตกผลึกเป็ นหิ นบะซอลต์กจ็ ะมีผลึกแร่ ธาตุ
ดังกล่าวแทรกปนอยูด่ ว้ ย หิ นอัคนีจึงมีสีต่างๆกัน ถ้ามีสีอ่อนแสดงว่า
ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยผลึกของแร่ ควอตซ์ และแร่ เฟลด์สปาร์สีอ่อน ซึ่ง
ตกผลึกในที่มีอุณหภูมิต่า ส่ วนหิ นอัคนีที่มีสีเข้มส่ วนใหญ่ประกอบด้วย
แร่ สีเข้ม เช่น แร่ โอลิวีน ซึ่งตกผลึกในที่ที่มีอุณหภูมิสูง
ตาราง ลักษณะและประโยชน์ของหิ นอัคนีต่างๆที่พบในประเทศไทย
ชื่อหิ น
ลักษณะเนื้อหิ น
ตัวอย่างแหล่งที่พบ
ประโยชน์
ไรโอไลต์
เนือ้ ละเอียดมาก อาจมี จังหวัดสระบุรี ตาก
แร่ ดอก สี อ่อน ขาว ลพบุรี เลย เพชรบูรณ์
ชมพู
ใช้ ในอุตสาหกรรม
เซรามิก และก่ อสร้ าง
แกรนิต
เนือ้ หยาบถึงหยาบมาก
เนือ้ หินสมา่ เสมอ อาจ
มีดอกผลึกแร่
ประสานกันแน่ น
ทาหินประดับ ปูพนื้
ผนังอาคาร เป็ นหิน
สลักและบางชนิดเป็ น
หินต้ นกาเนิดแร่ ดีบุก
บะซอลต์
จังหวัดจันทบุรี เลย
ลาปาง ตาก บริเวณเขต
แดนไทย-พม่ า ภูเก็ต
เป็ นต้ น
เนือ้ แน่ น ละเอียด มักมี จังหวัดจันทบุรี ตราด
รูพรุน มีสีดาเข้ ม
กาญจนบุรี ลาปาง
บุรีรัมย์ ศรีษะเกษ
ใช้ ในอุตสาหกรรม
ก่ อสร้ าง และบาง
บริเวณเป็ นหินต้ น
กาเนิดอัญมณี
หิ นบะซอลต์ (Basalt) เกิดจากการเย็นตัวของลาวาบนเปลือกโลก เนื้อละเอียดมาก
มีรูพรุ นบ้างเล็กน้อย สี เข้มน้ าตาลแก่จนถึงดา เป็ นหิ นซึ่ งมีพลอยสี ต่างๆ ที่มีค่าเกิดร่ วมด้วย ใช้ทาหิ น
ก่อสร้าง เมื่อผุพงั สลายตัวจะกลายเป็ นดินที่มีประโยชน์มากในการเพาะปลูก
หิ นแกรนิต (Granite) เกิดจากการเย็นตัวของหิ นหนืดภายใต้เปลือกโลก มักมีเนื้อ
หยาบ เนื้อปานกลาง เนื้อดอก มีแร่ ควอรตซ์ เฟลด์สปาร์ ไบโอไทต์ มัสโคไวต์ เป็ นแร่
ประกอบที่สาคัญ สี อ่อน เช่น ขาว ชมพู เทา ใช้ทาหิ นประดับ ปูพ้นื หิ นก่อสร้าง
หิ นสคอเรี ย (Scoria) หิ นอัคนีเนื้อแก้ว เกิดจากการเย็นตัวของลาวาอย่างรวดเร็ ว มีรู
และโพรงใหญ่อยูห่ ่างๆกัน เกิดจากการขยายตัวของก๊าซขณะที่ลาวาเย็นตัวลง พบอยู่
ส่ วนบนของหิ นบะซอลต์ มีสีน้ าตาลถึงดา
หิ นออบซิ เดียน (Obsidian) หิ นแก้วภูเขาไฟ เกิดจากการเย็นตัวของลาวาที่ประทุ
ขึ้นมาจากภูเขาไฟแล้วเย็นตัวอย่างรวดเร็ ว มีเนื้อแก้ว ผิวแตกเว้า รู ปก้นหอย โปร่ งแสง
สี น้ าตาลเข้มถึงดา เมื่อตัดเป็ นแผ่นบางใช้ทาเครื่ องประดับ
หิ นพัมมิส (Pumice) หิ นอัคนีเนื้อแก้ว เกิดจากการเย็นตัวของลาวาทีป่ ระทุ
ขึ้นมาจากภูเขาไฟอย่างรวดเร็ ว มีโพรงอากาศเล็กๆ อยูใ่ นเนื้อหิ นมากจนมองดูคล้าย
ฟองน้ า เบา ลอยน้ าได้ ส่ วนประกอบเหมือนหิ นไรโอไลต์ สี ขาว เทา น้ าตาลอ่อน-แก่
จนถึงดาใช้ขดั ถูภาชนะได้
หินแอนดีไซต์ (Andesite) เกิดจากการเย็นตัวของหิ นหนืดภายนอกเปลือกโลก เนื้อ
ละเอียดหรื อเนื้อดอก สี เข้ม เช่น เขียว น้ าตาลถึงดา มีแร่ เฟลด์สปาร์ ไบโอไทด์ ฮอร์นเบลนด์ เป็ นแร่
ประกอบสาคัญ ใช้ทาหินก่อสร้าง หิ นประดับทาครก
หินไรโอไลต์ เกิดจากการเย็นตัวของหิ นหนืดภายนอกเปลือกโลก มีส่วนประกอบเหมือน
หิ นแกรนิต เนื้อละเอียดหรื อเนื้อดอก บางแห่งพบมีลกั ษณะการไหลเหมือนลาวา สี อ่อน เช่น ขาว
ชมพู เทาอ่อน เหลือง แต่บางครั้งพบมีสีเข้ม เช่น ม่วง แดง ใช้ทาหิ นผสมคอนกรี ต หิ นก่อสร้าง หิ น
ประดับ
หินแปร
(Metamorphic Rocks)
การเกิดหิ นแปร
การเปลี่ยนสภาพของหิ นเนื่องจากความร้อนและความกดดันตาม
ธรรมชาติเป็ นสาเหตุสาคัญ ความกดดันจะทาให้หินปูนเปลี่ยนสภาพเกิด
การตกผลึกใหม่ของเนื้อแร่ ทาให้มีความใสและความแน่นเพิ่มขึ้นจนใน
ที่สุดเกิดเป็ นหินอ่อน ดังนั้น หิ นอ่อนจึงเป็ นหิ นแปรที่แปรสภาพมาจาก
หิ นปูนซึ่งเป็ นหิ นตะกอน
สาเหตุอื่นที่ทาให้หินแปรสภาพได้ ได้แก่ การเคลื่อนไหวของเปลือก
โลก การกดทับของชั้นหิ นที่อยูด่ า้ นบนส่ งผลให้เกิดความร้อนและความ
ดันสูง และมีของเหลวแทรกซึมเข้าทาปฏิกิริยาเคมีกบั หิ นในบริ เวณนั้น
สิ่ งต่างๆเหล่านี้ส่งผลให้หินถูกแรงกระทาในทิศทางต่างๆทาให้เนื้อหิ น
เกิดการเปลี่ยนแปลง เราจึงเรี ยกหิ นนั้นว่า หิ นแปร
ตาราง ลักษณะและประโยชน์ของหิ นแปรชนิดต่างๆที่พบในประเทศไทย
ชื่อหิ น
ลักษณะเนื้อหิ น ตัวอย่างแหล่งที่พบ
ประโยชน์
หิ นเดิม
หิ นอ่อน
เนื้อละเอียดถึง
หยาบ เนื้อแน่น
จังหวัดสระบุรี ยะลา ใช้ทาหินประดับ
สุ โขทัย ชัยนาท เป็ น วัสดุก่อสร้าง
ต้น
หิ นปูน
หิ นชีสต์
เนื้อหยาบ มี
จังหวัดตาก ชลบุรี
ลักษณะเป็ นแผ่น ประจวบคีรีขนั ธ์
หิ นชนวน
ผิวหน้าเรี ยบแซะ จังหวัดสระบุรี สงขลา ใช้ทาหินประดับปู
เป็ นแผ่นบางๆ
กาญจนบุรี
พื้นและมุงหลังคา
นครราชสี มา
ใช้ทาหินประดับ
หิ นทราย
หิ นแกรนิต
หิ นดินดาน
หิ นทัฟฟ์
หินไนส์ เกิดจากการแปรสภาพของหิ นอัคนีหรื อหิ นตะกอน เนื้อหิ นประกอบด้วยชั้นหรื อแถบ
ของแร่ สีขาวพวกควอรตซ์ เฟลด์สปาร์ และสี ดา พวกไบโอไทต์ เรี ยงสลับชั้นขนานกันเป็ นแนว มีท้ งั
เนื้อหยาบและเนื้อละเอียด ใช้ทาหินก่อสร้าง กาแพง หิ นปูพ้นื ทาครก
หินชีสต์ เกิดจากการแปรสภาพของหิ นดินดานหรื อหิ นอัคนีพเุ นื้อละเอียด มีการเรี ยงตัวของเม็ด
แร่ สีขาวและดา พวกไมกาเป็ นแนวสลับกันเห็นได้ชดั มักมีการโค้งงอของแนวชั้นแร่ เกิดจากการแปร
สภาพอย่างรุ นแรง ในบางครั้งพบแร่ ใหม่เกิดในหิ นชีสต์ เช่น การ์เนต สี เขียว ดา เทา เปราะแตกง่าย
ไม่นิยมทาหินก่อสร้าง
หินอ่อน แปรสภาพหินปูนหรื อหิ นโดโลไมต์ มีเนื้อแน่นละเอียดกว่าหิ นปูน เพราะมีการแปร
สภาพตกผลึกใหม่ หินอ่อนบริ สุทธิ์มีสีขาว ถ้ามีเหล็กปนจะมีสีแดง ชมพู เหลือง น้ าตาล ถ้ามีคาร์บอน
ปนจะมีสีเทาถึงดา ขัดเป็ นเงาได้ง่ายทนทาน จึงนิยมใช้เป็ นหิ นประดับ หิ นปูพ้นื หิ นขัด ตกแต่งอาคาร
ทารู ปแกะสลัก ใช้ทาเชื้อถลุง ในการถลุงโลหะ
หินชนวน เกิดจากการแปรสภาพของหิ นดินดาน เนื้อละเอียดมาก เนื้อหิ นแสดงการเรี ยงตัวของ
แร่ ที่เป็ นแผ่นพวกไมกา มีสีต่างๆ เช่น เทา ดา น้ าตาล ใช้ทากระดาษชนวน แผ่นกั้นความร้อน
กระเบื้องปูพ้นื ตกแต่งฝาผนังอาคารที่เรี ยกว่า หิ นกาบ
หินควอร์ตไซต์ แปรสภาพมาจากหินทรายที่เชื่อมประสานตัวกันด้วยซิ ลิกา เมื่อได้รับความร้อน
ความกดดัน เม็ดทรายจะเชื่อประสานกันจับตัวแน่นสนิทยิง่ ขึ้น จึงมีเนื้อแน่นแกร่ ง ใช้ทาหิ นปูพ้นื หิ น
ผสมคอนกรี ต หินลับมีด
หินฟิ ลไลด์ เกิดจากการแปรสภาพของหินดินดาน เนื้อละเอียดเป็ นเงา ประกอบด้วยแผ่นไมกา
ขนาดเล็กเรี ยงตัวกันเป็ นแถบ หินฟิ ลไลด์มีการแปรสภาพเนื่องจากความร้อนและความกดดันสู งกว่า
หินชนวน หินฟิ ลไลด์ผใุ ช้รองพื้นถนน รองพื้นอาคารที่ไม่ตอ้ งรับน้ าหนักมาก
ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงคาตอบเดียว
1. หินตะกอน หมายถึงอะไร
ก. หินทีถ่ ูกแปรสภาพเนื่องจากความร้ อน
ภายในโลก
ข. หินที่มีลกั ษณะเล็กๆคล้ายตะกอน
ค. หินที่เกิดขึน้ เป็ นอันดับแรกของโลก
ง. หินที่เกิดจากตะกอนของสารต่ างๆมา
ทับถมกัน
ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงคาตอบเดียว
1. หินตะกอน หมายถึงอะไร
ก. หินทีถ่ ูกแปรสภาพเนื่องจากความร้ อนภายในโลก
ข. หินทีม่ ีลกั ษณะเล็กๆคล้ายตะกอน
ค. หินทีเ่ กิดขึน้ เป็ นอันดับแรกของโลก
ง. หินทีเ่ กิดจากตะกอนของสารต่ างๆมาทับถมกัน
เฉลย ง.
2.หิ นตะกอนมีลกั ษณะอย่างไร
ก. มีลกั ษณะเป็ นชั้นๆและมีวตั ถุประสาน
ข. มีผลึกกระจายอยูท่ วั่ ไป
ค. เนื้อแข็งประกอบด้วยตะกอนของทราย
ง. เนื้อหิ นมีผลึกแวววาวของแคลเซียมคาร์บอเนต
เฉลย ก.
3.หิ นตะกอนเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร
ก.หิ นแกรนิต
ข.หิ นดินดาน
ค.หิ นทราย
ง.หิ นชั้น
เฉลย ง.
4.วัตถุประสานของคอนกรี ต คือข้อใด
ก.หิ น
ข.ทราย
ค.กรวด
ง.ซีเมนต์
เฉลย ง.
5.หิ นที่เกิดจากตะกอนของ หิ น กรวด ทราย ดิน รวมทั้งซากพืชซากสัตว์
โดยมีวตั ถุประสานคือหิ นในข้อใด
ก.หิ นอัคนี
ข.หิ นตะกอน
ค.หิ นปูน
ง.หิ นแปร
เฉลย ข.
6.ข้อใดไม่ใช่วตั ถุประสาน
ก.ซิลิกา
ข.กามะถัน
ค.เหล็ก
ง.แคลเซียมคาร์บอเนต
เฉลย ข.
7.ความหนาบางของหิ นตะกอนขึ้นอยูก่ บั เหตุผลในข้อใด
ก.วัตถุประสานและช่วงเวลา
ข.สี และความแข็งของตะกอน
ค.ช่วงเวลาและปริ มาณของตะกอน
ง.วัตถุประสานและปริ มาณของตะกอน
เฉลย ค.
8.เราจะพบหิ นชนิดใดในปริ มาณสูงสุ ด ในบริ เวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของประเทศไทย
ก.หิ นแปร
ข.หิ นอัคนี
ค.หิ นตะกอน
ง.หิ นทราย
เฉลย ค.
9.บริ เวณภูเขาถนนมิตรภาพจังหวัดนครราชสี มาจะพบหิ นตะกอนมาก
สันนิษฐานว่าบริ เวณนี้ในอดีตเคยเป็ นอะไรมาก่อน
ก.แม่น้ าหรื อทะเล
ข.ทะเลทราย
ค.เมืองโบราณ
ง.ภูเขาไฟระเบิด
เฉลย ก.
10.ซากดึกดาบรรพ์พบมากที่สุดในหิ นชนิดใด
ก.หิ นอ่อน
ข.หิ นศิลาแลง
ค.หิ นแกรนิต
ง.หิ นดินดาน
เฉลย ง.
11.หิ นที่มีเหล็กออกไซด์เป็ นวัตถุประสาน คือหิ นในข้อใด
ก.ศิลาแลง
ข.หิ นปูน
ค.หิ นดินดาน ง.หิ นอ่อน
เฉลย ก.
12.ถ้านักเรี ยนต้องการลับมีดจะต้องใช้หินในข้อใด
ก.หิ นพัมมิส ข.หิ นปูน
ค.หิ นทราย
ง.หิ นกรวด
เฉลย ค.
13.หินทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อการศึกษาทางด้ านโบราณคดี คือหินในข้ อใด
ก.หินอัคนี
ข.หินตะกอน
ค.หินแปร
ง.หินหนืด
เฉลย ข.
14.หิ นที่นามาทากระเบื้องมุงหลังคา คือหิ นในข้อใด
ก.หิ นอ่อน
ข.หิ นชนวน
ค.หิ นดินดาน ง.หิ นปูน
เฉลย ข.
15.หิ นแปรหมายถึงหิ นในข้อใด
ก.หิ นที่แตกละเอียดเป็ นชิ้นเล็กๆ
ข.หิ นที่นามาแปรรู ปเป็ นสิ่ งต่างๆ
ค.หิ นที่เกิดจากการกระทาของความร้อนและแรงกดดัน
ง.หิ นที่เกิดจากการเย็นตัวลงของลาวาภูเขาไฟ
เฉลย ค.
16.เหตุผลใดจึงไม่นิยมใช้หินอ่อนทาโต๊ะทดลองวิทยาศาสตร์
ก.ราคาแพงมาก
ข.มีน้ าหนักมาก
ค.ไม่ทนทาน
ง.ทาปฏิกิริยากับกรด
เฉลย ง.
17.ครกและโม่ที่ทาจากอ่างศิลาทาจากหิ นชนิดใด
ก.หิ นไนส์
ข.หิ นอ่อน
ค.หิ นปูน
ง.หิ นแกรนิต
เฉลย ก.
18.ตุก๊ ตาหิ นใช้ทาเป็ นของที่ระลึกทาจากหิ นในข้อใด
ก.หิ นทราย
ข.หิ นอ่อน
ค.หิ นปูน
ง.หิ นแกรนิต
เฉลย ข.
19.หิ นที่นิยมนามาแกะสลักเป็ นรู ปต่างๆคือหิ นในข้อใด
ก.หิ นชีสต์
ข.หิ นแกรนิต
ค.หิ นปูน
ง.หิ นอ่อน
เฉลย ง.
20.หิ นที่เกิดจากการเย็นตัวลงช้าๆของหิ นหนืด คือ
ก.หิ นแกรนิต ข.หิ นบะซอลต์
ค.หิ นออบซิเดียน ง.หิ นสคอเรี ย
เฉลย ก.
21.หิ นชนิดใดที่สามารถมองเห็นผลึกได้ดว้ ยตาเปล่า
ก.หิ นแกรนิต ข. หิ นบะซอลต์
ค.หิ นออบซิเดียน ง.หิ นสคอเรี ย
เฉลย ก.
22. นักธรณี วิทยาใช้อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนกหิ น
ก. องค์ประกอบ
ข. ลักษณะการเกิด
ค. ความหนาแน่นของหิ น
ง. ขนาดของผลึกในเนื้อหิ น
เฉลย ข.
23.ถ้าในท้องถิ่นของนักเรี ยนมีหินต่อไปนี้มากพอ นักเรี ยนจะเลือกหิ นชนิด
ใดไปประดับอาคาร
ก.หิ นแกรนิต
ข.หิ นบะซอลต์
ค.หิ นออบซิเดียน
ง.หิ นสคอเรี ย
เฉลย ก.
24.จากข้อ 23 นักเรี ยนจะเลือกหิ นชนิดใดทาหิ นขัด
ก.หิ นแกรนิต
ข.หิ นบะซอลต์
ค.หิ นออบซิเดียน
ง.หิ นสคอเรี ย
เฉลย ง.
25.หิ นที่เกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของหิ นหนืดภายในเปลือกโลกและ
บนผิวโลกคือ
ก.หิ นตะกอน
ข.หิ นอัคนี
ค.หิ นแปร
ง.หิ นชั้น
เฉลย ข.
26.หิ นชนิดใดที่เกิดก่อนหิ นชนิดอื่น
ก.หิ นอัคนี
ข.หิ นตะกอน
ค.หิ นแปร
ง.หิ นปูน
เฉลย ก.
27.หิ นชนิดใดที่รอยแตกคมเหมือนแก้วมนุษย์เคยใช้ทาอาวุธโบราณ
ก.หิ นแกรนิต
ข.หิ นบะซอลต์
ค.หิ นออบซิเดียน
ง.หิ นสคอเรี ย
เฉลย ค.
28.นาหิ นชนิดหนึ่งมาทุบด้วยค้อนปรากฎว่าแตกเป็ นชิ้นเล็กๆหยดกรดลง
ไปเกิดฟองก๊าซมากถ้าเผาแล้วใส่ ในน้ าเย็นจะแตกเป็ นแผ่นแสดงว่าหิ น
ชนิดนี้คือ
ก.หิ นแกรนิต
ข.หิ นปูน
ค.หิ นทราย
ง.หิ นชนวน
เฉลย ข.
29.พระที่นงั่ อนันตสมาคมและโบสถ์วดั เบญจมบพิตร สร้างจากหิ นชนิดใด
ก.หิ นอ่อน
ข.หิ นปูน
ค.หิ นชนวน
ง.หิ นทราย
เฉลย ก.
30.หิ นที่ใช้ทาครกต้องมีความแข็งและทนทานต่อการสึ กกร่ อน จึงควรใช้
หิ นชนิดใด
ก.หิ นอ่อน
ข.หิ นไนส์
ค.หิ นทราย
ง.หิ นศิลาแลง
เฉลย ข.
31.หิ นในบริ เวณสุ สานหอยจังหวัดกระบี่เป็ นหิ นชนิดใด
ก.หิ นปูน
ข.หิ นอ่อน
ค.หิ นดินดาน
ง.หิ นทราย
เฉลย ก.
32.ลาวาที่ไหลออกจากภูเขาไฟลงไปในทะเลจะกลายเป็ นหิ นเนื้อละเอียด
จาพวกใด
ก.หิ นอัคนี
ข.หิ นแกรนิต
ค.หิ นออบซิเดียน
ง.หิ นบะซอลต์
เฉลย ค.
33.แก้วโป่ งข่ามเกิดจากการแปรสภาพของหิ นชนิดใด
ก.หิ นดินดาน
ข.หิ นทราย
ค.หิ นแกรนิต
ง.หิ นอ่อน
เฉลย ข.
THE END
สวัสดีค่ะ
ครูวรลักษณ์ กอบหิรัญกลุ