พทุ ธศาสนกับชีวติ อนิจจัง สรรพสิ่ ง อยู่ใต้ ไตรลักษณ์ อนัตตา ทุกขัง เรียบเรียงโดย เดชา จันทภาษา ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖ แก้ ไขเพิม่ เติมสาหรับคอมพิวเตอร์ เมือ่ ๙ มีนาคม พ.ศ.
Download
Report
Transcript พทุ ธศาสนกับชีวติ อนิจจัง สรรพสิ่ ง อยู่ใต้ ไตรลักษณ์ อนัตตา ทุกขัง เรียบเรียงโดย เดชา จันทภาษา ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖ แก้ ไขเพิม่ เติมสาหรับคอมพิวเตอร์ เมือ่ ๙ มีนาคม พ.ศ.
พทุ ธศาสนกับชีวติ
อนิจจัง
สรรพสิ่ ง
อยู่ใต้ ไตรลักษณ์
อนัตตา
ทุกขัง
เรียบเรียงโดย
เดชา จันทภาษา
๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖
แก้ ไขเพิม่ เติมสาหรับคอมพิวเตอร์ เมือ่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
อนิจจัง
สรรพสิ่ง
อนัตตา อยู่ใต้ ไตรลักษณ์ ทุกขัง
พทุ ธศาสนกับชีวติ
พุทธธรรมที่พระพุทธเจ้ าทรงสั่ งสอนสั ตว์ โลก ล้ วนบริสุทธิ์เต็มส่ วนและเป็ นจริง สามารถนามา
ประพฤติปฏิบัติได้ ทุกเมือ่ โดยไม่ จากัดด้ วยกาลเวลา ธรรมะว่ าด้ วยธรรมชาติตามที่เป็ นจริง ทั้ง
รู ปธรรมและนามธรรม ทั้งที่มชี ีวติ มีจิตวิญญาณครองและไม่ มี ตลอดจนสรรพสิ่ งทั้งหลาย ทุก
อย่ างล้ วนเกีย่ วเนื่องกันโดยตลอดไม่ มชี ่ องว่ าง ทรงสั่ งสอนสั ตว์ โลกตามภูมแิ ห่ งกาลังรับธรรม ผู้
ที่มภี ูมปิ ัญญาสู ง รู้ แจ้ งเห็นจริงได้ เร็ว ทรงชี้แนะทางอย่ างตรงจุด ส่ วนผู้ที่มีปัญญาปานกลาง ทรง
ค่ อยๆ ประคับประคองและชี้ทางสว่ างที่เหมาะสมให้ ทรงเน้ นทางสายกลางที่จะทาให้ ถึงความสิ้น
ทุกข์ และให้ ยดึ ถือเป็ นหลักปฏิบัติตามสติกาลังของแต่ ละคน ทรงเน้ นให้ พจิ ารณาอริยสั จ ๔ ซึ่ง
เป็ นธรรมะที่ทรงตรัสรู้ เพือ่ ให้ ผู้ปฏิบัติตามได้ มโี อกาสเห็นธรรมเช่ นเดียวกับพระองค์ ทรงเน้ น
เรื่องไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา โดยเฉพาะเรื่องอนัตตานั้น พระองค์ ทรงเป็ นผู้ค้นพบ
และถือว่ าเป็ นหัวข้ อธรรมที่สาคัญ ถ้ าผู้ใดมองเห็นก็เท่ ากับว่ ามองเห็นธรรมชาติที่แท้ จริงนั่นเอง
อุดมการของพระพุทธศาสนาทีพ่ ระพุทธเจ้ าทรงแสดง
พระพุทธเจ้ าได้ ทรง
แสดงธรรมโอวาทะปาติ
โมกข์ ต่อพระอรหันต์
๑๒๕๐ รูป ในวันเพ็ญ
มาฆะบูชา หลังตรั สรู้
แล้ ว ๙ เดือน และถือว่ า
เป็ นอุดมการณ์ ของ
พระพุทธศาสนาที่
สาคัญ
พิจารณาจาก
อุดมการณ์ แล้ วจะเห็น
ได้ ว่า ทุกศาสนิก
สามารถนาไปปฏิบตั ิได้
ไม่ มีข้อความใดเลยที่
ขัดแย้ งกับหลักศาสนา
เว้ นการทาบาปทัง้ ปวง
มีศีล ๕ ประจาใจ
ทาบุญกุศลอยู่เสมอ
สงเคราะห์ ช่วยผู้อนื่
ทาจิตใจให้ ผ่องใสเสมอ
สวดมนต์ ภาวนา
ผู้ใดทาข้ อใดข้ อหนึ่งหรือครบทั้ง ๓ ข้ อ เป็ นผู้สร้ างกรรมดีโดยอัตโนมัติ ผลคือ “บุญ”
สิ่ งทีเ่ กิดขึน้ ได้ ยาก ๔ ประการ
กิจฺฉ สทฺธมฺมสฺ สวน
กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท
การได้ ฟังธรรมะแท้
การอุบตั ิของพระพุทธเจ้ า
สิ่ งที่เกิดขึน้
ยาก ๔ อย่ าง
กิจฺฉ มจฺจานชีวติ
กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ
การมีชีวติ อยู่จนถึงขณะนี้
การเกิดเป็ นมนุษย์
ปริยตั ิ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
ปริยตั ิ
ข้ อธรรมะทีต่ ้ องศึกษาเรียนรู้
ปฏิบัติ
นาธรรมะทีเ่ รียนไปสู่ ภาคปฏิบัติ
ปฏิเวธ
ความรู้ แจ้ งทีเ่ กิดจากการปฏิบัติ
พระพุทธศาสนาเป็ น
ศาสนาเดียวในโลกทีท่ ้ า
พิสูจน์ ความจริงใน
ภาคปฏิบตั ิหลังจากได้
ศึกษาภาคทฤษฎี(ปริยตั ิ)
มาแล้ ว และเป็ นศาสนา
เดียวทีผ่ ู้บาเพ็ญสามารถ
บรรลุธรรมขั้นสู งสุ ดได้
เทียบเท่ าองค์ ศาสดา คือ
ได้ อรหัตผลหลุดพ้ นจาก
กิเลส พ้ นจากทุกข์ ท้งั
มวลได้ โดยสิ้นเชิง
พระพุทธเจ้ าทรงเคยเปรียบเทียบว่า “ธรรมะที่ทรงสอนเทียบเท่ าใบไม้ ในกามือ แต่ ธรรมะในภาคปฏิบัติเท่ ากับใบไม้ ทั้งต้ น”
๔. ปฏิเวธธรรม
อนิจจัง
สรรพสิ่ ง
อยู่ใต้ ไตรลักษณ์
อนัตตา
ทุกขัง
ปฏิเวธธรรม คือความรู้ ทเี่ กิดจากการปฏิบัตธิ รรม มีหลายระดับ
ขึน้ อยู่กบั ความเข้ มข้ นของมรรคปฏิปทาของผู้ปฏิบตั ิ จุดสู งสุ ด
คือ อรหัตผล จิตจะบริสุทธิ์หลุดพ้นจากอานาจกิเลสทั้งปวง
ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติจิตภาวนา (ต่ อ)
รูปธรรม
นามธรรม
คนเป็ น
เวทนา
ศพ
สัญญา
ศพเน่ า
สังขาร
ศพแห้ ง
วิญญาณ
พิจารณาไตรลักษณ์
ปัญญาพิจารณาเป็ นภาวนามะยะปัญญา
พิจารณาขันธ์ ๕
ทามรรคปหานเข้ าถึงอริยมรรค
จิตเป็ นเอกาพิสมัย สว่างและสงบมาก
ภาวนามะยะปัญญาจะหมุนตัวฆ่ ากิเลส
ตั้งแต่ หยาบถึงละเอียดดัง่ ธรรมจักร
กระดูก
อวิชชา
จิตจะบริสุทธิ์ขนึ้ และตัดกิเลสได้ โดย
ลาดับ สุ ดท้ ายเหลือแต่ อวิชชาตัวแสบ
ตัววัฏฏะจักรวัฏฏะจิตก่อภพก่อชาติ
อนิจจัง
ทุกขัง
อนัตตา
รูปธรรมนามธรรมทั้งหมด และธรรม
ชั้นโลกิยะล้ วนอยู่ใต้ ไตรลักษณ์ การ
พิจารณาไตรลักษณ์ ด้วยภาวนามะยะ
ปัญญานี้จะทาให้ เห็นทุกสิ่งตามเป็ น
จริง กิเลสจะลดลงตามลาดับ เพราะ
จิตจะยอมรับ สิ่งที่เคยยึดมั่นถือมั่นก็
จะเป็ นเพียงสักแต่ ว่าอาศัยซึ่งกันและ
กันเท่ านั้น ไม่ ใช่ ของถาวรและไม่ ใช่
ของใครที่ถาวรด้ วย ทุกอย่ างเป็ นของ
สมมุติขนึ้ มาเพือ่ ใช้ ชั่วคราวทั้งสิ้น
วิสุทธิจิต ภายใต้ ปฏิเวธธรรม
จิตและปัญญาเป็ นอุเบกขามัธยัสถ์
(มีความเป็ นกลางไม่ กระเพือ่ ม)
สติ
ควบคุม
การทาลายอวิชชาแฝงในจิตด้ วยพลัง
ของทางสายกลาง (มรรคปฏิปทา)
จิตสมาธิ
วิสุทธิจติ จิตของ
พระอรหันต์
ภาวนามะยะปัญญา
ปฏิกริ ิยาในจิต
ปฏิเวธธรรม คือความรู้
ธรรมในภาคปฏิบตั ิ
จิตที่อวิชชาดับแล้ว
สงบเย็นและเห็นธรรม
รู้แจ้ งเห็นจริงในการ
กาจัดกิเลสทุกระดับ
จิตที่เหลือแต่ อวิชชาตัวแสบ
ตัววัฏฏะจักรวัฏฏะจิตก่อภพก่อชาติ
จิตอวิชชา
ธรรมที่เห็นเป็ นธรรม
ของจริงที่เหนือโลก
อวิชชา
จิตเหนือโลกธรรม ๘
และเหนือไตรลักษณ์
วิชชา ๓ (ความรู้ แจ้ ง ๓ ประการ)
ปุพเพนิวาสานุสสติ
ญาณ
ญาณเป็ นเหตุระลึกขันธ์ ที่อาศัยอยู่ในแต่ ก่อนได้ กล่าวคือ
สามารถระลึกชาติก่อนของตนได้
จุตูปปาตญาณ
ญาณกาหนดรู้การจุตแิ ละการอุบัตขิ นึ้ ของสัตว์ท้ังหลาย
ซึ่งเป็ นไปตามกรรม เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสั ตว์
ทั้งหลาย เรียกอีกอย่ างหนึ่งว่า ทิพย์ จกั ขุญาณ
อาสะวักขยะญาณ
ญาณหยัง่ รู้ในธรรมเป็ นที่สิ้นไปแห่ งอาสวะกิเลสทั้งหลาย
ความรู้ที่ทาให้ สิ้นอาสวะ รู้ว่าหลุดพ้นจากกิเลสแล้ว
พระอรหันต์ ผ้มู ีจติ บริสุทธิ์หลุดพ้นจากกิเลสแล้ว ย่ อมมีวชิ ชา ๓ นี้
ในวิสัยทัศน์ ที่แตกต่ างกันออกไปขึน้ อยู่กบั อุปนิสัยของแต่ ละท่ าน
พรหมวิหารธรรม ๔
เมตตา
กรุณา
ความรักปรารถนาดีอยากให้ มีสุข
ความสงสาร คิดช่ วยให้ พ้นทุกข์
พรหมวิหารธรรม ๔
อุเบกขา
มุทติ า
ความเป็ นกลางจิตเที่ยงตรงไม่ รักไม่ ชัง
ความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุ ข
พระอริยบุคคลทุกระดับจะมีพรหมวิหารธรรมสู งตามลาดับ ดุจดังบิดามารดามีต่อบุตร
พระอริยะบุคคล ๔
อริยะมรรค ๘
วิสุทธิจิต (จิตทีบ่ ริสุทธิ์)
คือจิตของพระอรหันต์
เป็ นกระแสแห่ งนิพพาน
ระดับพระอริ ยะบุคคล ๔
โสดาปัตติมรรค ๑
โสดาปัตติผล ๑
สะกิทาคามิมรรค ๑
สะกิทาคามิผล ๑
อานาคามิมรรค ๑
อานาคามิผล ๑
อรหัตมรรค ๑
อรหัตผล ๑
มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ เป็ นผลมาจากการปฏิบตั ิธรรม ๔ ระดับ ของพระอริ ยะบุคคล
ระดับจิต-ใจของผู้มธี รรมประจาใจ จาแนกได้ ๖ ระดับ
พระอริยะบุคคล
พระอรหันต์ ผู้หลุดพ้นจากกิเลส และอีก ๓ ระดับรองลงมา
สมมุตสิ งฆ์
พระภิกษุผู้ถือศีล ๒๒๗ ข้ อ ใต้ ผ้ากาสาวพัตร์
สามเณร
ลูกหลานชาวพุทธอายุตา่ กว่ า ๒๐ ปี ถือศีล ๑๐ ข้ อ
อุบาสก-อุบาสิ กา
พุทธศาสนิกชนผู้ใฝ่ ธรรมะปฏิบัติ ถืออุโบสถศีล ๘ ข้ อ
คนดีของสั งคมผู้มศี ีลธรรม
พุทธศาสนิกชนผู้มีศีล ๕ ประจาใจ เว้ นอบายมุข ๖
คนดีของสั งคมผู้มศี ีลธรรมอยู่บ้าง
พุทธศาสนิกชนผู้มีศีล ๕ ไม่ ครบแต่ ไม่ เคยทาผิดกฎหมาย
ประชากรของโลก!!
พระอริยะบุคคล ๔
พระภิกษุ (สมมุติสงฆ์ ) ศีล ๒๒๗
สามเณร ศีล ๑๐
อุบาสก-อุบาสิ กา ศีล ๘
คนดีของสังคมผู้ใฝ่ ธรรม มีศีล ๕ ประจาใจ
เสมอ ดาเนินชีวติ ด้ วย ทาน ศีล และภาวนา
ประชาชนทั่วไปมีศีลไม่ ครบ
แต่ ไม่ เคยทาผิดกฎหมายเลย
กลุ่มคนชั่วทั้งหลายที่นิยมทาผิด
กฎหมาย-ผิดศีลธรรมยังมีอยู่
ด้ วยอานาจกิเลส โลภ โกรธ หลง
ที่รุนแรงมากขัน้ อุกฤต
ค้ามนุษย์ ทุกเพศทุกวัย
ค้ายาผลิตยาเสพติดทุกชนิด
ค้าของเถือ่ นหนีภาษีทุกชนิด
เป็ นโจรฉกชิงวิง่ ราว ตีรัน
การโกงกินทุกรูปแบบ
ฟันแทงต้ มตุ๋นและเข่ นฆ่ า