พทุ ธศาสนกับชีวติ อนิจจัง สรรพสิ่ ง อยู่ใต้ ไตรลักษณ์ อนัตตา ทุกขัง เรียบเรียงโดย เดชา จันทภาษา ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖ แก้ ไขเพิม่ เติมสาหรับคอมพิวเตอร์ เมือ่ ๙ มีนาคม พ.ศ.

Download Report

Transcript พทุ ธศาสนกับชีวติ อนิจจัง สรรพสิ่ ง อยู่ใต้ ไตรลักษณ์ อนัตตา ทุกขัง เรียบเรียงโดย เดชา จันทภาษา ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖ แก้ ไขเพิม่ เติมสาหรับคอมพิวเตอร์ เมือ่ ๙ มีนาคม พ.ศ.

พทุ ธศาสนกับชีวติ
อนิจจัง
สรรพสิ่ ง
อยู่ใต้ ไตรลักษณ์
อนัตตา
ทุกขัง
เรียบเรียงโดย
เดชา จันทภาษา
๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖
แก้ ไขเพิม่ เติมสาหรับคอมพิวเตอร์ เมือ่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
อนิจจัง
สรรพสิ่ง
อนัตตา อยู่ใต้ ไตรลักษณ์ ทุกขัง
พทุ ธศาสนกับชีวติ
พุทธธรรมที่พระพุทธเจ้ าทรงสั่ งสอนสั ตว์ โลก ล้ วนบริสุทธิ์เต็มส่ วนและเป็ นจริง สามารถนามา
ประพฤติปฏิบัติได้ ทุกเมือ่ โดยไม่ จากัดด้ วยกาลเวลา ธรรมะว่ าด้ วยธรรมชาติตามที่เป็ นจริง ทั้ง
รู ปธรรมและนามธรรม ทั้งที่มชี ีวติ มีจิตวิญญาณครองและไม่ มี ตลอดจนสรรพสิ่ งทั้งหลาย ทุก
อย่ างล้ วนเกีย่ วเนื่องกันโดยตลอดไม่ มชี ่ องว่ าง ทรงสั่ งสอนสั ตว์ โลกตามภูมแิ ห่ งกาลังรับธรรม ผู้
ที่มภี ูมปิ ัญญาสู ง รู้ แจ้ งเห็นจริงได้ เร็ว ทรงชี้แนะทางอย่ างตรงจุด ส่ วนผู้ที่มีปัญญาปานกลาง ทรง
ค่ อยๆ ประคับประคองและชี้ทางสว่ างที่เหมาะสมให้ ทรงเน้ นทางสายกลางที่จะทาให้ ถึงความสิ้น
ทุกข์ และให้ ยดึ ถือเป็ นหลักปฏิบัติตามสติกาลังของแต่ ละคน ทรงเน้ นให้ พจิ ารณาอริยสั จ ๔ ซึ่ง
เป็ นธรรมะที่ทรงตรัสรู้ เพือ่ ให้ ผู้ปฏิบัติตามได้ มโี อกาสเห็นธรรมเช่ นเดียวกับพระองค์ ทรงเน้ น
เรื่องไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา โดยเฉพาะเรื่องอนัตตานั้น พระองค์ ทรงเป็ นผู้ค้นพบ
และถือว่ าเป็ นหัวข้ อธรรมที่สาคัญ ถ้ าผู้ใดมองเห็นก็เท่ ากับว่ ามองเห็นธรรมชาติที่แท้ จริงนั่นเอง
อุดมการของพระพุทธศาสนาทีพ่ ระพุทธเจ้ าทรงแสดง
พระพุทธเจ้ าได้ ทรง
แสดงธรรมโอวาทะปาติ
โมกข์ ต่อพระอรหันต์
๑๒๕๐ รูป ในวันเพ็ญ
มาฆะบูชา หลังตรั สรู้
แล้ ว ๙ เดือน และถือว่ า
เป็ นอุดมการณ์ ของ
พระพุทธศาสนาที่
สาคัญ
พิจารณาจาก
อุดมการณ์ แล้ วจะเห็น
ได้ ว่า ทุกศาสนิก
สามารถนาไปปฏิบตั ิได้
ไม่ มีข้อความใดเลยที่
ขัดแย้ งกับหลักศาสนา
เว้ นการทาบาปทัง้ ปวง
มีศีล ๕ ประจาใจ
ทาบุญกุศลอยู่เสมอ
สงเคราะห์ ช่วยผู้อนื่
ทาจิตใจให้ ผ่องใสเสมอ
สวดมนต์ ภาวนา
ผู้ใดทาข้ อใดข้ อหนึ่งหรือครบทั้ง ๓ ข้ อ เป็ นผู้สร้ างกรรมดีโดยอัตโนมัติ ผลคือ “บุญ”
สิ่ งทีเ่ กิดขึน้ ได้ ยาก ๔ ประการ
กิจฺฉ สทฺธมฺมสฺ สวน
กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท
การได้ ฟังธรรมะแท้
การอุบตั ิของพระพุทธเจ้ า
สิ่ งที่เกิดขึน้
ยาก ๔ อย่ าง
กิจฺฉ มจฺจานชีวติ
กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ
การมีชีวติ อยู่จนถึงขณะนี้
การเกิดเป็ นมนุษย์
๑. ชีวติ ของเราทุกคน
อนิจจัง
สรรพสิ่ ง
อยู่ใต้ ไตรลักษณ์
อนัตตา
ทุกขัง
ชีวติ ของทุกคนต้ องประสบเป็ นสิ่ งทีต่ ้ องรู้ และทาความเข้ าใจให้
แจ้ งชัด ไม่ ต้องคานึงว่ าใครเป็ นผู้กาหนด แต่ เป็ นธรรมชาติทที่ ุก
คนมีอยู่ ถ้ าเข้ าใจดี ก็จะทาให้ การศึกษาธรรมะจะไม่ ยากมากนัก
ไตรลักษณ์ (ลักษณะ ๓ ประการประจาโลก)
อนิจจัง ความไม่
แน่ นอน
เกิดขึน้
ทุกขัง สารพัดปัญหา
ตั้งอยู่
อนัตตา สิ้นสุ ดไม่ มี
ตัวตน
ดับไป
โลกเราอยู่ภายใต้ กฎไตร
ลักษณ์ อย่ างหลีกเลี่ยง
ไม่ ได้ เว้ นแต่ จะใช้ ธรรม
เข้ าปราบ ด้ วยการขจัด
กิเลส คือ โลภ โกรธ
หลง ในทางทีผ่ ดิ
อุปาทาน คือความยึด
มัน่ ถือมัน่ จะลดลง
ความทุกข์ ท้งั หลายก็จะ
ลดลง ถ้ าสามารถทาลาย
อวิชชาได้ การก่ อภพก่ อ
ชาติกจ็ ะสิ้นสุ ดไม่ เกิด
ใหม่ อกี ต่ อไป
พระพุทธเจ้ าทรงเป็ นศาสดาองค์แรกของโลกที่อธิบายอนัตตาธรรม ว่าด้ วยทุกสิ่งไม่ ใช่ ตวั ตนที่ถาวร ไม่ มีใครเป็ นเจ้ าของ
ธรรมชาติของปุถุชน
จิตปรุงแต่ งด้ วยอานาจกิเลส
จาก สมุทัย ให้ เกิดตัณหา ๓
การรับรู้ของใจเกิดจากนามขันธ์ ท้ัง ๔
ถ้ าเป็ นไปในทางชั่วก็เกิดจากกิเลสชักใย
อนิจจัง
กามตัณห
า
ภวตัณหา
อนัตตา
วิภวตัณห
า
คน-มนุษย์
มีจิต-ใจ
ภายใต้ ไตรลักษณ์
ทุกขัง
เวทนา
ตา
สั ญญา
หู
จมูก
สั งขาร
วิญญาณ
ตัณหาทั้ง ๓ ถ้ าใช้ ในทางผิดทาให้ เกิดทุกข์ ก่อกรรมชั่วเวียนว่ ายตายเกิดไม่ รู้จบ
ลิน้
กาย
สั งโยชน์ ๕ ต่า-สู ง (เครื่องผูกรัดสั ตว์ โลกให้ เวียนว่ ายตายเกิด)
ตัณหาทั้ง ๓ ถ้ าใช้ ในทางผิดทาให้ เกิดทุกข์ ก่ อกรรมชั่วเวียนว่ ายตายเกิดไม่ ร้ ู จบ
กิเลสหยาบทีส่ ุ ด ๓
กิเลสหยาบรอง ๓
กิเลสสั งโยชน์ ต่า ๕
กิเลสสั งโยชน์ สูง ๕
เชื่อว่ากายจีรัง
ราคะ ยินดีในกามกิเลส
มีกเิ ลสหยาบสุ ด ๓
รูปราคะ ติดในรูปธรรม
ไม่ เชื่อในพระรัตนตรัย
โทสะ โกรธง่ ายคิดร้ าย
ราคะ ยินดีในกามกิเลส
อรูปราคะ ติดในอรูป
ศีล ๕ ขาดวิน่ ไม่ ครบ
โมหะ หลงไร้ เหตุผล
ปฏิฆะ หงุดหงิดง่ าย
มานะ ถือตนว่าดีเด่ น
อุทธัจจะ คิดฟุ้ งซ่ าน
อวิชชา ความไม่ รู้จริง
ขันธ์ ๕ (๕ หมู่ หรือ ๕ กอง)
รู ป-กาย
เป็ นอุปกรณ์ ของใจ อยู่ภายใต้ อานาจ
ของใจ “ใจจึงเป็ นนาย กายเป็ นบ่ าว”
เวทนา
สั ญญา
สั งขาร
นามธรรม จิตใช้
ในการปรุงแต่ ง
อาจจะด้ วยอานาจ
ของธรรมและ
กิเลสก็ได้ และน้ อม
เข้ าสู่ ใจโดยลาดับ
ทั้งหมดอยู่ภายใต้
ไตรลักษณ์
คือ
๑. แปรเปลีย่ น
ตลอดเวลา ไม่ เคยอยู่นิ่ง
อนิจจัง
๒. มีทุกข์ และปัญหา
ต่ างๆ เข้ ามาให้ แก้ เสมอ
ทุกขัง
๓. สุ ดท้ ายก็จบ ไม่ เป็ น
ของใครทีแ่ ท้ จริง
อนัตตา
วิญญาณ
พระพุทธเจ้ าตรัสว่า “ภาราหเว ปญฺจขนฺธา” แปลว่า ขันธ์ ๕ เป็ นภาระอันหนัก หนักที่จะต้ องดูแล
ชีวติ ของสั ตว์ โลก ย่ อมเป็ นไปตามกรรม
มีกรรมเป็ นผู้
ให้ ผล
มีกรรมเป็ น
ของตน
กรรม
มีกรรมเป็ นที่
พึง่ อาศัย
มีกรรมเป็ น
กาเนิด
มีกรรมเป็ น
ผู้ติดตาม
พุทธศาสนาไม่ สอนเรื่องพระเจ้ า แต่ สอนว่า
ทุกสิ่งมีเหตุปัจจัยมาก่อนจึงเกิดเป็ นผล
ผู้ใดทากรรมใดไว้ เป็ น “บุญ” หรือ เป็ น
“บาป” จักต้ องเป็ นผู้รับผลของกรรมนั้น
อุปาทาน ๔ (ความยึดมัน่ ถือมัน่ ด้ วยอานาจกิเลส ๔ อย่ าง)
ทิฐิอุปาทาน
กามุปาทาน
ยึดมั่นในทิฐิที่ผดิ
ยึดมั่นในกาม
คนเราที่มีทุกข์ กนั อยู่ทุก
วันนี้กเ็ พราะมีอุปาทาน
ยิง่ มีมากยิง่ ทุกข์ มาก
โดยเฉพาะอัตตะวาทุ
ปาทานสร้ างปัญหาไว้
มาก คนจะเครียดมากก็
เพราะตัวนี้ การปราบ
อุปาทานต้ องใช้ หลัก
“อนัตตาธรรม”
อุปาทาน ๔
อัตตะวาทุปาทาน
สีลพะตุปาทาน
ยึดมั่นในตัวตน-จะมีจะสู ญ
ยึดมั่นในศีลอย่ างงม
งาย
นามธรรมหรือนามขันธ์ ๔ ใช้ ป้อนสู่ ใจ
เวทนา
วิญญาณ
ความรู้สึกสุ ข-ทุกข์ -เฉยๆ
สั ญญา
ความจาเรื่องทั้งปวงในอดีต
สั งขาร
ความคิดปรุงแต่ งเรื่องต่ างๆ
ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ในกาย
จิต-ใจ
คน-มนุษย์
ตา
มองเห็น
หู ได้ ยนิ
จมูก ได้
กลิน่
ลิน้ รู้รสชาด
กาย ได้ สัมผัส
“ใจ” คือผู้ร้ ู รับรู้ทุกอย่ างผ่ านทางประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ใจไม่ มีอาการแส่ ส่าย เป็ นเพียงผู้ร้ ูเท่ านั้น ต่ างไปจาก “จิต”
ซึ่งมีอาการ คือแส่ ส่ายปรุงแต่ งไปตามกระแสต่ างๆ ทั้งดีและไม่ ดี ถ้าดีกเ็ ป็ นไปในทางธรรม ถ้าไม่ ดกี เ็ ป็ นไปทางกิเลส
จิต กับ ใจ (จิตใด ใจนั้น จิตเป็ นอาการ ใจไม่ มีอาการ)
คิด
ตัณหา
กิเลสหยาบ
สติ
นึก
จิต-ใจ
กิเลสละเอียด
อาการที่จติ แส่ ส่ายมีต่างๆ
ต้ องมีสติทาหน้ าที่ควบคุม
ปรุงแต่ ง
อนาคต
อดีต
ส่ วนใจทาหน้ าที่รับรู้อาการนั้นๆ
อารมณ์ ๖ (แบ่ งเป็ น ๓ วาระ คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
รูปอารมณ์
เกิดจากการเห็น
ธรรมารมณ์
อารมณ์ ที่เข้ าสู่ ใจ
ผัสสะอารมณ์
เกิดจากการ
สัมผัส
เสียงอารมณ์
เกิดจากการฟัง
จิต-ใจ
กลิน่ อารมณ์
เกิดจากการดม
รสอารมณ์
เกิดจากการกิน
กิเลสย้ อมใจ ๘ ประการ ชักให้ ไปสู่ ทางเสื่ อม
สะสมราคะ
โทสะ โมหะ ให้
ทวีขนึ้
ไม่ พอใจในสิ่งที่
ตนมี อยากได้ อีก
ชอบก่อทุกข์
สร้ างปัญหาต่ างๆ
ชอบอามิส
สิ่งของที่ผ้ อู ื่น
นามาให้
กิเลส
ชีวติ มั่ว ไม่
สนใจศาสน
ธรรมใดๆ
ธรรมที่ไม่ จริ ง
ของศาสดาไม่ แท้
ขีเ้ กียจ เห็นแก่
กินแก่นอน ไม่
ทางาน
เลีย้ งยากด้ วย
ปัจจัย ๔
อบายมุข ๖ หนทางไปสู่ ความฉิบหายในปัจจบุ ันชาติ
ดืม่ น้าเมาพีย้ าเสพ
ติด
คบคนชั่วเป็ นมิตร
เที่ยวกลางคืน
อบายมุข
๖
ทางเสื่อม
๖
เล่ นการพนันทุก
ชนิด
เที่ยวตะลอนไป
เกียจคร้ าน
เรื่อยๆ
ไม่ เคยมีผ้ใู ดในโลก จะมีความเจริญรุ่งเรืองโดยการใช้ อบายมุขเป็ นเครื่องมือในการดาเนินชีวติ ทุกศาสนาตาหนิเป็ นที่สุด
โลกธรรม ๘ (ธรรมดาของโลก ๘ ประการ)
มีลาภ
เสื่อมลาภ
มีสรรเสริญ
มียศ
โลกธรรม ๘
มีนินทา
เสื่อมยศ
มีสุข
มีทุกข์
โปรดระลึกเสมอว่า ไม่ มีผ้ใู ดในโลกนีจ้ ะล่วงพ้นภาวะของโลกธรรม ๘ ได้ เว้นแต่ พระพุทธเจ้ าและพระอรหันต์ เท่ านั้น
กิเลสบงการอยู่ในจิตใจของปุถุชนให้ แสดงออกทางกาย
ตา เห็นรู ป
ของสวยงามสดใส
หู ได้ ยนิ เสี ยง
คาสรรเสริญชม
จมูก ได้ กลิน่
หอมหวนชวนดม
ลิน้ ลิม้ รส
รสเด็ด-อร่ อย
กาย สั มผัส
อ่อนแข็ง-เย็นร้ อน
สมุทยั ผู้บงการใหญ่
กามตัณห
า
จิต-ใจ
คน-มนุษย์
ภวตัณหา
ผลที่ได้ รับคือ
ราคะ
โลภะ
วิภวตัณห
า
โทสะ
โมหะ
ธรรมเครื่องบารุงจิตใจ ๖ ประการ
ไม่ ฝักใฝ่ ใน
กามารมณ์
ละชั่วที่เคยทา
และไม่ ทาชั่วเพิม่
อีก
เลีย้ งง่ ายด้ วย
ปัจจัย ๔
ไม่ สร้ างทุกข์
สร้ างปัญหาต่ างๆ
ธรรม
พอใจในสิ่งที่ตน
มีไม่ ม่ ุงหาทาง
ผิด
สนใจธรรมะและ
หมั่นปฏิบัติ
ธรรม
ปริยตั ิ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
ปริยตั ิ
ข้ อธรรมะทีต่ ้ องศึกษาเรียนรู้
ปฏิบัติ
นาธรรมะทีเ่ รียนไปสู่ ภาคปฏิบัติ
ปฏิเวธ
ความรู้ แจ้ งทีเ่ กิดจากการปฏิบัติ
พระพุทธศาสนาเป็ น
ศาสนาเดียวในโลกทีท่ ้ า
พิสูจน์ ความจริงใน
ภาคปฏิบตั ิหลังจากได้
ศึกษาภาคทฤษฎี(ปริยตั ิ)
มาแล้ ว และเป็ นศาสนา
เดียวทีผ่ ู้บาเพ็ญสามารถ
บรรลุธรรมขั้นสู งสุ ดได้
เทียบเท่ าองค์ ศาสดา คือ
ได้ อรหัตผลหลุดพ้ นจาก
กิเลส พ้ นจากทุกข์ ท้งั
มวลได้ โดยสิ้นเชิง
พระพุทธเจ้ าทรงเคยเปรียบเทียบว่า “ธรรมะที่ทรงสอนเทียบเท่ าใบไม้ ในกามือ แต่ ธรรมะในภาคปฏิบัติเท่ ากับใบไม้ ทั้งต้ น”