การพัฒนาทักษะความคิดเพื่อการปรับปรุงงาน

Download Report

Transcript การพัฒนาทักษะความคิดเพื่อการปรับปรุงงาน

การพัฒนาทักษะความคิด
เพื่อการปรับปร ุงงาน
โดย พลตรี เอนก แสงส ุก
ผูท้ รงค ุณว ุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
1
วิเคราะห์ศพ
ั ท์
• การพัฒนา : การทาให้เจริญขึ้น
• ทักษะความคิด : ความชานาญใน
การคิด
• การปรับปร ุงงาน : การทางานให้
ดีข้ ึน รวดเร็วขึ้น เรียบร้อยขึ้น
สร ุปชื่อเรือ่ งเป็น
•การทาให้เกิดความชานาญ
ในการคิดเพื่อการปรับปร ุงงาน
หัวข้อบรรยาย
1. วัตถ ุประสงค์ในการปรับปร ุงงาน
2. การพัฒนาความคิดเพื่อการปรับปร ุงงาน
3. การสร้างนิสยั หรือวิธีฝึกให้เป็นคนช่างคิด
4. เทคนิควิธีที่จะช่วยให้เกิดการปรับปร ุงงาน
5. การปรับปร ุงงาน
6. สร ุป
วัตถ ุประสงค์ในการปรับปร ุงงาน
•ความแตกต่างระหว่างภาค
เอกชน กับ ภาครัฐ ?
•ทาไมต้องปรับปร ุงงาน ?
ทาไมบ ุคลากรภาคเอกชนจึงคิด
ปรับปร ุงงานอยูเ่ สมอ?
• เพราะเป็นการแข่งขันนาเสนอสิ่งที่ดีกว่า
• เพราะผูบ้ ริโภคชอบอะไรใหม่ ๆ
• เพื่อให้ได้กาไรมากขึ้น
• พนักงานได้รบั แบ่งปันผลกาไรในร ูป “โบนัส”
• ถ้าไม่พฒ
ั นา อาจถูก เชิญออก ให้ออก ไล่ออก
ทาไมบ ุคลากรภาคเอกรัฐจึงคิด
ปรับปร ุงงาน หรือดาเนินการ
ปรับปร ุงงานได้นอ้ ยกว่าภาคเอกชน?
•
•
•
•
เพราะเป็นงานบริการ ไม่หากาไร ไม่มีการแข่งขัน
ผลที่ได้รบั เป็นเพียง “ความพอใจ” ไม่ใช่ “ผลกาไร”
พนักงานกินเงินเดือน ไม่มีโบนัส
ถ้าไม่พฒ
ั นาก็ไม่ถ ูกไล่ออก จะถ ูกให้ออก ไล่ออก เมื่อผิด
วินยั ร้ายแรง
• ได้งบประมาณน้อย ก็พฒ
ั นาได้นอ้ ย
ทาไมจึงต้องปรับปร ุงงาน?
• เพื่อให้งานดีข้ ึน เร็วขึ้น สะดวกขึ้น มากขึ้น
มีประสิทธิภาพขึ้น
• เพื่อให้ได้ผลกาไรมากขึ้น ผลงานมากขึ้น
• เพื่อให้ได้รบั ความสนใจ พอใจ จากผูบ้ ริโภค
หรือผูใ้ ช้บริการ มากขึ้น
• เพื่อลดต้นท ุน ลดขัน้ ตอน
• เพื่อช่วยพัฒนาองค์กร และประเทศชาติ
การพัฒนาความคิดเพื่อการปรับปร ุงงาน
• ต้องพัฒนาความคิดของ
1. ตัวเอง
2. หัวหน้าหน่วยรอง หรือล ูกน้อง
การพัฒนาความคิดของตัวเอง
• จะปรับปร ุงงาน ต้อง ปรับปร ุงตัวเอง
ก่อน มิฉะนัน้ จะไม่ได้รบั
“ความร่วมมือ – ร่วมใจ” อาจได้แต่
“ความร่วมมือ” ไม่ได้ “ความร่วมใจ”
การปรับปร ุงตัวเองต้องเริม
่ ที่ใจ
• ตัง้ ใจที่จะคิด ที่จะริเริม่
• ตัง้ ใจจะไม่ทางานแบบตัง้ รับ
• ตัง้ ใจจะทางานเชิงร ุก
• ตัง้ ใจจะริเริม
่ พัฒนาไม่หย ุดนิ่ง
• ตัง้ ใจจะสูไ้ ม่ถอย
• จะเป็น “คนแก่ความรู้ ใช่อยูน่ าน”
• จะไม่ “ทาอาหารตามสัง่ ”
• จะยอมรับฟังความคิดของผูอ้ ื่น
ต้องปรับทัศนติตวั เองและล ูกน้อง
• ไม่คิดว่า ยิ่งริเริม่ ยิ่งเพิ่มงาน ยิ่งเหนื่อย
• เลิกพูดว่า “เรือ่ งที่แล้ว ครัง้ ที่แล้ว ปีที่แล้ว
เขาก็ทากันมายังงี้”
• ไม่คิดว่า จะเกษียณแล้ว ไม่เอาอะไรแล้ว
• เปิดใจรับความคิดใหม่ของคนใหม่
• เปิดใจรับความคิดใหม่ของคนใหม่
ไม่ถือตนว่าอยูม่ าก่อน
• ไม่ปล่อยให้นายคิดคนเดียว ท ุกคนมีสว่ น
ร่วม
• คิดว่า การปรับปร ุงงาน อาจทาให้ ลด
เวลา ลดขัน้ ตอน ได้
• คิดว่า การปรับปร ุงงาน จะทาให้การ
บริการ ดีข้ ึน มากขึ้น เร็วขึ้น
• เมื่อ “ทาใจ” และ “ปรับทัศนคติ” ได้แล้ว
จึงเริม่ “พัฒนาความคิด” ที่จะ
“ปรับปร ุงงาน”
วิธีที่ 1 โดยการ “ตัง้ ใจว่า”
•จะทาวันนี้ให้ดีกว่าวันก่อน
•จะทางานนี้ให้ดีกว่างานที่แล้ว
•จะทาเรือ่ งนี้ให้ดีกว่าเรือ่ งที่แล้ว
วิธีที่ 2 โดยการ “ตัง้ คาถามว่า”
• งานในหน้าที่ ทาครบถ้วน ถูกต้อง
รวดเร็ว ไม่ผิดพลาด แล้วหรือยัง?
• วิธีทาให้เร็ว มาก สะดวก สมบูรณ์
กว่านี้ มีหรือไม่?
• จะทาอย่างไร เพื่อให้บริการล ูกค้า ได้มาก
สะดวก เร็ว กว่านี้อีก
• หน่วยงานอื่น เขาทาอย่างไร
วิธีที่ 3 “ใช้หลักอริยสัจสี่”
• ท ุกข์ : ปัญหา (ข้อขัดข้อง)
• เหต ุเกิดท ุกข์ : ข้อเท็จจริง (สาเหต ุ)
• ทางสูค่ วามดับท ุกข์ : ข้อพิจารณา
(ทางแก้ขอ้ ขัดข้อง)
• วิธีการพ้นท ุกข์ : ข้อเสนอ (ทางแก้ที่ดี
ที่ส ุด)
• สารวจตัวเองหรือหน่วยว่า
ทางานเต็มที่ เต็มเวลา หรือยัง
• พิจารณา : คน เครื่องมือ พอหรือไม่ ดีหรือไม่
แก้ไขให้ตรงจดุ
• คนไม่พอ : ขอเพิ่ม บรรจุ จ้าง ช่วยงาน
• คนไม่มีประสิทธภาพ : ตักเตือน ฝึกสอน
สัปเปลี่ยนหน้าที่ ย้าย ส่งคืน
• เครื่องมือ : ไม่พอ-ขอเพิ่ม เก่า-ขอใหม่
ใช้เครื่องมือแทนคน
วิธีอื่น ๆ
• ด ูตัวอย่างความคิดของคนอื่น
• ค ุยกับหน่วยอื่น ขอด ูงาน นามาใช้
• พยายามคิดใช้เทคโนโลยีแทนคน
• สังเกตการคิดของ ผบช. บ ุคคลสาคัญ
• ถ้ามีความคิดใหม่ ก็แก้ระเบียบได้
• ใช้การระดมความคิด
• คิดทางานเชิงร ุก
• คิดวาดลาดับงานตัง้ แต่ตน้ จนจบ
การพัฒนาความคิดของ
หน.หน่วยรอง หรือล ูกน้อง
• ถามความเห็น หารือ สัง่ ให้ไปคิดมา
• สัง่ งานแบบมอบภารกิจ
• มอบความรับผิดชอบ เพื่อฝึกให้คิด
• ไม่โยนความรับผิดชอบ
• ไม่แย่งล ูกน้องคิดทัง้ หมด
• ไม่รอฟังแต่ความคิดของนาย
• เปิดโอกาสให้ล ูกน้องแสดงความคิดเห็น
• สนใจฟัง ให้กาลังใจ เมื่อล ูกน้องเสนอความคิดเห็น
วิธีฝึกให้เป็นคนช่างคิด
• ฝึกคิดจากเรือ่ งในชีวิตประจาวัน
• ด ูทีวี หนังสือพิมพ์ แล้วคิดตาม
• เห็นใครทาอะไร คิดว่า ถ้าเป็นเราจะทา
อย่างไร
• แสดงความเห็นในอินเตอร์เน็ตด ูบ้าง
เทคนิควิธีที่จะช่วยให้เกิดการปรับปร ุงงาน
• ศึกษาเรื่องที่เคยทามาแล้ว คิดปรับปร ุง แก้ไขข้อขัดข้อง
• กาหนดให้รายงานผลดาเนินการ พร้อมปัญหา
ข้อขัดข้อง – ข้อเสนอ
• นาปัญหานัน้ มาพิจารณา ก่อนทาปีนี้
• ทาแฟ้มบันทึกเรื่องที่ ผบช. ตาหนิ
• ทาแฟ้มบันทึก “นโยบาย” แล้วพยายามทาตามนัน้
• “การเตรียมการ” “การซักซ้อม” ก่อนวันจริง จะทาให้
เห็น “ข้อขัดข้อง” และ “ปรับปร ุงงาน” ก่อนวันจริงได้
• จัดทาแฟ้มคาแนะนาในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่/ภารกิจ
การปรับปร ุงงาน
1. ลดขัน้ ตอน
2. รวมงานลักษณะเดียวกัน
3. บริการจุดเดียว
4. กระจายการบริการ
5. ระดมทรัพยากร
6. ใช้สายการบังคับบัญชา
23
7. ใช้เทคโนโลยี
8. ทางานได้โดยต่อเนื่อง
9. จัดระบบจัดระเบียบ
10. รับฟังความคิดเห็น
24
สร ุป
• การพัฒนาทักษะความคิดเพื่อการปรับปร ุงงาน
ต้องเริ่มที่ใจ ทาใจ เปิดใจ ตัง้ ใจ
• ต้องปรับทัศนคติของ ตัวเอง และล ูกน้อง
• ต้องพัฒนาทักษะความคิดทัง้ ของ ตัวเอง ล ูกน้อง
•ตัง้ คาถามว่า
งานในหน้าที่ ทาครบถ้วน ถ ูกต้อง
รวดเร็วหรือยัง วิธีทาให้ดีกว่านี้มี
ไหม จะทาอย่างไรเพื่อให้การ
บริการล ูกค้า ดียิ่งขึ้น หน่วยงาน
อื่นเขาทาอย่างไร
จบแล้ วครับ
ดื่มกาแฟกัน
27
กิจกรรมกล่ มุ
• ให้ แต่ ละกลุ่มระดมความคิดเพือ่ นาเสนอ
แนวทางการปรับปรุงงานของหน่ วยงานของท่ าน
• ใช้ เวลาระดมความคิด 30นาที
• ใช้ เวลานาเสนอกลุ่มละไม่ เกิน 5นาที