เดินชมเมืองเก่า - สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
Download
Report
Transcript เดินชมเมืองเก่า - สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
เดินชม เมืองเก่ า
มนต์ เสน่ ห์แห่ ง ภูเก็ตความงดงามแห่ งอารยะ
Phuket old town walking tour
Magnificent
Civilization, Charming Phuket
เดินชมเมืองเก่าภูเก็ต...เสน่ห์แห่งชิโนโปตุกีส บนเส้ นทาง
ประวัติศาสตร์ ที่ควรค่าแก่การศึกษาระยะทางกว่า 4.6 กิโลเมตร
สัมผัสสถาปั ตยกรรมอันงดงามวิถีชีวิตผู้คนใจดี อาหารพื ้นเมืองเลื่องชื่อ
โดยมีเส้ นทางที่น่าสนใจ 6 ช่วง
ช่ วงที่ 1 Part 1
ถนนภูเก็ต ถนนรัษฎา ถนนระนอง
Phuket Road,Rassada Road,and Ranong Road
ศูนย์ รวมข่ าวพรหมเทพ สั ญลักษณ์ แห่ งกาลเวลา
(Phromthep News Center Building, a symbol of time)
สัญลักษณ์ของย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ต อาคารตึกสี ขาว 2
ชั้น โดดเด่นด้วยหอนาฬิกา สูง 4 ชั้น มีหลังคาคล้ายหมวกตารวจ
สมัยก่อน สร้างขึ้นเพื่อเป็ นที่ทาการของตารวจรักษาการณ์ ใน
สมัยพระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ
โรงแรมถาวร สะท้ อนตัวตนคนภูเก็ต
(Thavorn Hotel reflects identity of Phuketians)
ชมและสั ม ผั ส ความงดงามในอดี ต ของภู เ ก็ ต ด้ ว ย
นิ ทรรศการภาพเก่าเมืองภูเก็ตและโบราณวัตถุอนั ทรงคุณค่า อาทิ
ขาวของจากเหมืองแร่ อุปกรณ์ในวงการภาพยนตร์ ฯลฯ เสมือน
กระจกเงาสะท้อนวิถีชีวติ แห่งตัวตนคนภูเก็ต
วงเวียนสุ ริยเดช(Suriyadate Fountain)
สร้างขึ้นเพื่อราลึกถึงการทาเหมืองแร่ ยคุ อดีต อยูบ่ ริ เวณ
ถนนระนอง โดยนาจุย้ ปี ด (ท่อฉี ดน้ า) ที่ใช้ในการทาเหมืองแร่ มา
เป็ นเอกลักษณ์ ได้รับบริ จาคจาก ตระกูลหงส์หยก
กลุ่มอาคารตึกแถวเก่ า ถนนระนอง
(Sino Portuguese buildings at Ranong Road)
บริ เวณถนนระนอง สามารถชมอาคารตึกแถวรู ปแบบเก่าอัน
ทรงคุณค่าทางสถาปั ตยกรรมชิ โนโปตุกีส โดยมีความงามของ
ลวดลายที่เรี ยกว่า “อาร์ตเดโค (Art Deco)” น่าศึกษาเป็ นอย่างยิง่
คฤหาสน์ พระอร่ ามสาครเขต
(Pra Aram Sakorn Khet Mansion)
“อังมอเหลา” หรื อตึกฝรั่ง ของ “พระอร่ าม สาครเขต” หรื อ
“ตันเพ็กฮวด” ต้นตระกูล “ตัณฑัยย์” นายเหมืองผูม้ ีบทบาท
สาคัญทางการค้าและการพัฒนาเมืองภูเก็ต สร้างขึ้นประมาณ ปี
พ.ศ. 2460-2465 ปัจจุบนั เป็ นที่ทาการของบริ ษทั การบินไทย
จากัด (มหาชน) สานักงานภูเก็ต
ศาลเจ้ าปุดจ้ อ(Pud Jor Shirne)
ตั้งอยูป่ ากซอยภูธร เป็ นศาลเจ้าเก่าแก่ที่สาคัญแห่งหนึ่งใน
ภูเก็ตอายุมากกว่า 120 ปี งดงามด้วยองค์เจ้าแม่กวนอิมปุดจ้อ
ชาวภูเก็ตนิยมมาสะเดาะเคราะห์ ขอยารักษาโรคและขอบุตร
รวมทั้งตั้งชื่อเด็กเพื่อเป็ นสิ ริมงคล
ศาลเจ้ าจุ้ยตุ่ยเต้ าโบ้ เก้ ง(Jui Tui Shrine)
ตั้งอยูใ่ นซอยภูธร เป็ นศาลเจ้าที่ได้รับความนิยมเป็ นอย่าง
มากในการจัดประเพณี ถือศีลกินผัก โดยช่วงกินผักได้จดั
ทาอาหารเจแจกแก่ผมู้ ากินผักในแต่ละวัน นับหมื่นคน สาหรับ
การนมัสการองค์พระในศาลเจ้ามักนิยมอธิษฐานขอให้สุขภาพ
แข็งแรง
ช่ วงที่ 2 Part 2
ถนนกระบี่ ถนนสตูล
Krabi Road Satun Road
บ้ านหลวงอนุภาษภูเก็ตการ เตีย้ มล่ ายแห่ งความรัก
(Luang Anuphas-Phuket-Karn House, Tiam Lai of love)
ในปี พ.ศ. 2446 “เตี้ยมล่าย” หลังนี้เกิดจากน้ าพักน้ าแรงของ
“ตัน จิ้นหงวน”หรื อ “หลวงอนุภาษภูเก็ตการ” ที่ใช้เป็ นเรื อนหอ
กับ “นางเอี ยบลุ ้ยหุ น ” ภรรยาคู่ ทุก ข์คู่ย าก และต่ อ มาเปิ ดเป็ น
สานักงาน ใช้ชื่อว่า “บ่านหล่องฮวด” ประกอบธุ รกิ จขายวัสดุ
เหมืองแร่ สบู่ สวนมะพร้าว กิจการเดินเรื อภูเก็ตตรัง และกิจการ
เหมืองแร่ ในนามของเหมืองเจ้าฟ้ า
พิพธิ ภัณฑ์ ภูเก็ตไทยหัว กระจกเงาแห่ งตัวตนคนภูเก็ต
(Thai Hua Museum, mirror of Phuketians)
โรงเรี ยนสอนภาษาจีนแห่งแรกในจังหวัดภูเก็ต โดยชาวจีนรุ่ นแรก
ที่อพยพมาอยูไ่ ด้ร่วมกันสร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2477 หน้าจัว่ อาคารเรี ยนมี
รู ปปูนปั้นเป็ นรู ปค้างคาวแดงสื่ อความหมายถึง การรู ้หนังสือคือโชคอัน
ยิง่ ใหญ่ ปัจจุบนั เป็ นพิพิธภัณฑ์ ภูเก็ตไทยหัว ภายในจัดแสดงนิทรรศการ
อันแสดงถึงความเป็ นตัวตนคนภูเก็ต
คฤหาสน์ พระพิทกั ษ์ ชินประชา
(Phra Phitak Chinpracha Mansion)
บ้านของพระพิทกั ษ์ชินประชา (ตันม่าเสี ยง) ต้นตระกูลตัณฑวณิ ช
มีความโดดเด่นคือเป็ นอังมอเหลาที่สมบูรณ์ที่สุดอีกแห่ งหนึ่ งของภูเก็ต
ด้วยมุขยื่นด้านหน้าถึง 3 มุขด้วยกันมีการตกแต่งซุ ้มโค้งด้วยบัวปูนปั้ น
และหิ นหลักช่องโค้ง (Keystone) ประตูหน้าต่างชั้นล่างเป็ นแบบจีนอย่าง
สมบูรณ์
บ้ านชินประชา(Chin Pracha House)
ตั้งอยูบ่ นถนนกระบี่ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2462 เพื่อเป็ นเรื อนหอ ของ
พระพิทกั ษ์ชินประชา คุณประชา ตัณฑวณิ ช ซึ่งเป็ นเจ้าของได้อนุรักษ์ไว้
เป็ นอย่างดี รวมทั้งได้สะสมของเก่าที่น่าสนใจมากมายเหมาะเป็ นแหล่ง
ศึกษาวัฒนธรรม การใช้ชีวิตของชาวภูเก็ตเมื่อร้อยปี มาแล้วปัจจุบนั คุณ
จรู ญรัตน์ ตัณฑวณิ ช ภรรยาคุณประชาฯ ได้เปิ ดบริ การให้เข้าชมความ
งดงาม นอกจากนี้ยงั เคยใช้เป็ นสถานที่ถ่ายทาภาพยนตร์ท้ งั ในและ
ต่างประเทศ
ช่ วงที่ 3 Part 3
ถนนดีบุก ถนนเยาวราช และ ตรอกสุ นอุทศิ
Dibuk Road,Yaowarat Road,and Soon Uthit Sub-lane
อาคารบ้ านนายเหมืองถนนดีบุก ย่ านแห่ งความรุ่งเรืองในอดีต
(Mine Owner’s Residential,Dibuk Road, glorious area
in the past)
เป็ นอีกหนึ่งถนนที่มีความสวยงามของสถาปั ตยกรรมชิโนโปตุกีส โดย
เป็ นกลุ่มอาคารตึกแถวที่ยงั คงรักษาสภาพเดิมไว้ได้มากที่สุด เพราะเจ้าของบ้านส่ วนใหญ่
เป็ นลูกหลานนายเหมืองผูม้ งั่ คัง่ จากหลายตระกูลด้านหน้ากลุ่มอาคารมีลกั ษณะคล้ายคลึง
กัน ประตูมีสองชั้นชั้นนอกมักเจาะหรื อฉลุลายโปร่ งเพื่อช่วยถ่ายเทอากาศภายในบ้านให้
เย็นสบายส่ วนชั้นในเป็ นประตูทึบกระเบื้องที่ประดับฝาผนังสัง่ ตรงมาจากปี นัง ปั จจุบนั
ยังคงคุณภาพทั้งสี และลวดลายอย่างสวยงามชัดเจน
บ้ านหลวงอานาจนรารักษ์ องั มอเหลาแห่ งตระกูลตัณฑเวส
(Luang Amnart Nararak Mansion,Angmor Lao of
Tantawes Family)
อังมอเหลา ของ หลวงอานาจนรารักษ์ (จีนตันควด) ต้น
ตระกูลตัณฑเวส เป็ นอาคาร 2 ชั้นมีมุขด้านหน้า จุดเด่นของอาคาร
หลังนี้ คือลายปูนปั้ นซึ่งมีความวิจิตรงดงาม ประดับลายค้างคาว
ลายหงส์ และลายเมฆรวมทั้งลายใบไม้ และผลไม้ซ่ ึงเป็ น
สัญลักษณ์อนั เป็ นมงคลของจีนประดับไว้อย่างสวยงามนับเป็ น
อาคารที่มีความสวยงามและทรงคุณค่าอีกแห่งหนึ่งในย่านถนน
ดีบุก
ช่ วงที่ 4 Part 4
ถนนถลาง ซอยรมณีย์
Thalang Road SoiRomanee
นมัสการ.....พระยามังกรทะเลเสริมสิ ริมงคลแห่ งชีวติ
(Pay respect to sea dragon for blessing life)
พญามังกรทะเล หรื อ ฮ่ายเหล็งอ๋ อง สัตว์มงคลที่ยงิ่ ใหญ่จดั สร้างขึ้น
เพื่อเป็ นสิ ริมงคล โดยได้นาแนวคิดของซินแส ในสมัยพระยารัษฎานุ
ประดิษฐ์มหิ รศภักดีฯ ที่กล่าวถึงเกาะภูเก็ตว่า “ภูมิศาสตร์และทาเลมี
ลักษณะคล้ายมังกรฮ่ายเหล็ง หรื อ มังกรทะเลแห่งมหาสมุทรอินเดีย” ซึ่ง
มีความเชื่อมาจากตานานเจ้าสมุทรทั้งสี่ ที่ช่วยดูแลปกป้ องรักษา
มหาสมุทรตามบัญชาสวรรค์โดยหัวใจของมังกรอยูต่ รงกลางเมือง
(บริ เวณเรื อนจา)
อาคารสิ ริรัตน์ ความงดงามแห่ งลายปูนปั้น
(SiriratBuilding ,beautiful stucco decoration)
เดิมเคยเป็ นร้านถ่ายรู ปของช่างถ่ายรู ปชาวญี่ปุ่นในสมัยรัชกาลที่ 6
ชื่อ นิกโก้ ต่อมาเป็ นกิจการช่างภาพชาวไทยคนแรกในภูเก็ต (แต่เป็ นชาว
พระนคร) คือนายสว่าง หลังจากนั้น มีผรู ้ ับช่วงต่อคือ ร้านสุ ภาพ ก่อนที่
จะกลายเป็ นร้านเสริ มสวยทิพย์สะอาด และได้เปลี่ยนมาเป็ นร้านสิ ริรัตน์
ขายผ้า ในปัจจุบนั ความงดงามอันทรงคุณค่าของอาคาริ ริรัตน์ คือ ภาพ
ปูนปั้นตุก๊ ตาจีน อยูเ่ หนือคานชั้น 2
รื่นรมย์ ซอยรมณีย์ ซอยแห่ งความสุ ข
(RuenRom ,SoiRomanee , a lane of pleasure)
ชื่อบอกกล่าวถึงความสุ ขของผูม้ าเยือนสะท้อนให้เห็นความ
รื่ นรมย์ในยุคอดีตสมัยเหมืองแร่ เฟื่ องฟู ปัจจุบนั ซอยรมณี ยเ์ ป็ นที่
ที่นกั ท่องเที่ยวนิยมถ่ายภาพเป็ นที่ระลึกเพราะยังคงเอกลักษณ์
ของศิลปะแบบชิโนโปรตุกีสไว้อย่างงาม
ศูนย์ บริการข้ อมูลท่ องเทีย่ ว
(Tourist Information Center)
เป็ นศูนย์บริ การข้อมูลสาหรับนักท่องเที่ยว เพือ่ ให้
นักท่องเที่ยวมาเยือนนครภูเก็ตได้สมั ผัสเสน่ห์แห่งนครภูเก็ต คือ
ความงดงามของสถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกีส วิถีชีวิต อาหาร
พื้นเมือง และประวัติความเป็ นมาของย่านการค้าเมืองเก่า เปิ ด
ให้บริ การทุกวันในเวลาราชการไม่เว้นวันหยุด
อาคารไชน่ าอินน์ อาคารแห่ งการอนุรักษ์
(ChainaInn , preserved building)
เดิ ม เป็ นบ้า นของ “อ๋ องบุ ้น เที ย ม”พ่ อ ตาของพระพิ ท ัก ษ์ชิ น ประชา
(ตันม่าเสี ยง ตัณฑวนิ ช) คหบดี คนสาคัญของภูเก็ตใช้สานักงานแลกเปลี่ยน
เงิ น ตรา “ฮั บ หล่ อ งฮวด” และป้ ายภาษาจี น ครึ่ งวงกลมเป็ นข้ อ ความ
ประชาสัมพันธ์กิจการว่า “ห้างแห่ งนี้ รับโอนเงินไปยังเมืองเชี่ ยเหมินมณฑล
ฮกเกี้ยนในจีน” รวมถึงจารึ กคาจีนที่มีความหมายว่า “ให้ธุรกิจเฟื่ องฟู งอก
งาม” ทาให้ทราบว่าเดิ มเป็ นสานักงานดาเนิ นกิจการ โพยก๊วน-รับซื้ อขาย
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
ช่ วงที่ 5 Part 5
ถนนพังงา ถนนภูเก็ต
PhangNga Road , Phuket Road
ศาลเจ้ าแสงธรรม
(Shrine of the Serene Light (SaengTham))
สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2434 เดิมปี ชื่อว่า ศาลเจ้าซิ งเจียกอง ลักษณะอาคารเป็ น
สถาปั ตยกรรมเก๋ งจีน หลังคามีรูปปั้ นรู ปมังกรและตุก๊ ตาจีนภายในศาลเจ้ามี
ภาพวาดฝาผนังเรื่ อง ซิ ยนิ่ กุย้ เป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับราชวงค์ถงั ของจีน ส่ วนมี่เหนือ
ขึ้นไปจากภาพทั้งสองด้านเป็ นภาพของ ส่ าจับลักเทียนก้ง หรื อสามสิบหกเทพ
สวรรค์ และป้ ายหน้าศาลเจ้าบนขอบประตูเป็ นสัญลักษณ์ประจาตระกูล เต่งก้องต๋
อง แปลว่าแสงจากดวงประทีปที่สว่างไสว ไม่มีวนั แตกดับ หมายถึงแสงธรรม
โรงแรมออนออน ( On On hotel)
คาว่า ออน ออน มาจากภาจีน ฮกเกี้ยนว่า อัน อัน แปลว่า
เจริ ญรุ่ งเรื อง ก่อสร้างในปี พ.ศ. 2473 เป็ นโรงแรมแห่งแรกของภูเก็ต
ของต้นตระกูลธารสิ ริโรจน์ “แป๊ ะยกเซียว” ปัจจุบนั มีชื่อเสี ยงเป็ นที่รู้จกั
ของนักเดินทางทัว่ โลกเพราะแฝงไปด้วยมนต์ขลังแห่งอดีตที่จะนา
ย้อนกลับไปสู่ยคุ ทองแห่งการทาเหมืองแร่ อีกครั้ง ทาให้โรงแรมแห่งนี้
เป็ นทางเลือกสาหรับนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการสัมผัสความเป็ นภูเก็ต
อาคารธนาคารสแตนดาร์ ดชาร์ ตเตอร์ ธนาคารท้ องถิ่นแห่ งแรกในประเทศไทย
(Standard Chartered, first local bank in Thailand)
เริ่ มดาเนินกิจการในช่วงปี พ.ศ. 2450-2453 ยุคเฟื่ องฟูทางการค้า สมัยพระยารัษฎา
นุประดิษฐ์ฯ ซึ่ งท่านได้ติดต่อในธนาคารชาร์ ตเตอร์ มาเปิ ดสาขาที่ภูเก็ต นับเป็ นธนาคาร
ท้องถิ่นแห่งแรกในประเทศไทย ต่อมาได้รวมกับธนาคารสแตนดาร์ ดอาฟริ กา จึงเรี ยกว่า
ธนาคารสแตนดาร์ ดชาร์ ต เตอร์ และเปลี่ ยนมาเป็ นธนาคารนครหลวงไทย ในปี 2533
ปั จจุบนั ทางเทศบาลนครภูเก็ตร่ วมกับสมาคมเพอรานากัน ดาเนิ นการจัดตั้งเป็ นศูนย์
วัฒนธรรม เฉลิมราชบาบ๋ าภูเก็ต เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ทางวัฒนธรรมโดยเฉพาะมรดก
ทางปั ญญาทางวัฒนธรรม
ช่ วงที่ 6 part 6
ถนนเทพกระษัตรี และถนนมนตรี
Thepkasattri Road and Montri Road
คฤหาสน์ ตระกลูหงส์ หยก
อังมอเหลาของ หลวงอนุ ภาษภูเก็ตการ (นายจิ้นหงวนหงษ์หยก)
สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2473 ออกแบบโดยขุนพิศาลสารกรรมตัวบ้านเป็ น
อาคารยุโรปผสมจีน มีเนื้ อที่กว่า 5 ไร่ ปั จจุบนั ได้รักษาสภาพตึกให้คง
เหมื อ นเดิ ม จึ ง ได้รั บ พระราชทาน เกรี ย ติ บ ัต รจากสมเด็ จ พระเทพ
รั ตนราชสุ ดาฯ โดยสมาคมสถานิ ก สยามในพระบรมราชู ปถัมภ์เมื่ อปี
พ.ศ. 2530
พิพธิ ภัณฑ์ ตราไปรษณีย์ โทรเลข ภูเก็ต
(Phuket Philatelic Museum)
เป็ นอาคารเก่าแก่อีกแห่งที่ยงั ความงดงามและทรงคุณค่าใน
ด้านสถาปัตยกรรม สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2473 แต่เดิมเคยเป็ นที่พกั
อาศัยของพระยาอนุรักษ์โยธา (นุด) ข้าหลวงรักษาราชการหัว
เมืองฝ่ ายตะวันตก ลักษณะอาคารชั้นเดียวคอนกรี ตเสริ มเหล็ก