pptx - catcsr

Download Report

Transcript pptx - catcsr

ความรู้ เบือ้ งต้ น
การดูแลคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ าย
 หัวข้ อและเนือ้ หาการบรรยาย
การดูแลบารุ งรักษาคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
- การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ด้าน Hardware
- รู้ จักกับผู้ให้ บริการ Service Provider ( SP )
- การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ด้าน Software
- อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
- การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ด้าน Peopleware
- ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies)ระบบเครือข่ าย
- การตั้งข้ อสั งเกตอาการที่พบในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
- ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับการเชื่อมต่ อ (Connectivity Problem )
- ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับประสิ ทธิภาพของระบบเครือข่ าย
- การแก้ ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
คอมพิวเตอร์เมื่อใช้ไประยะหนึ่งจะมีการเสื่ อมชารุ ดไปตามสภาพระยะเวลาที่ใช้งาน ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์จึงควรเอาใจใส่
ดูแลและบารุ งรักษาอย่างเหมาะสมสม่าเสมอ เพื่อเพิ่มอายุการใช้งานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะช่วยให้สามารถ
ประหยัดงบประมาณในการซ่อมบารุ งหรื อการเปลี่ยนอุปกรณ์ได้ ฮาร์ดแวร์ที่พบว่าเสื่ อมเสี ยชารุ ด อาทิ เช่น









Power Supply (แหล่งจ่ายไฟ)
CPU Fan (พัดลมระบายความร้อน)
สายสัญญาณ (สาย Pair,สาย SATA)
RAM (หน่วยความจา)
Hard drive (ฮาร์ดดิสก์)
Display Card (การ์ดจอ)
Monitor (จอภาพแสดงผล)
CD/DVD Drive
Mainboard (แผงวงจรหลัก)




Sound card (การ์ดเสี ยง)
Heat Sink (แผงระบายความร้อน)
Keyboard / Mouse
Network Card (การ์ดแลน)
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
รูปภาพแสดงอุปกรณ์ Hardware Computer
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
สาเหตุทที่ าให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหาย
 ความร้ อน
หลายคนคงเคยเจอปัญหาเครื่ องคอมพิวเตอร์ แฮงค์โดยไม่รู้สาเหตุ แค่เปิ ดใช้งานสักพักเครื่ องคอมพิวเตอร์กด็ นั มาแฮงค์ บาง
ทีงานที่ทา อยูย่ งั ไม่ได้ Save ข้อมูล ทาให้เสี ยทั้งเวลาและเสี ยอารมณ์อีกต่างหาก บางที MainBoard และ VGA CARD ก็เสี ย
โดยไม่รู้สาเหตุเช่นกัน สุ ดท้ายตัวเราไม่รู้วา่ จะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างไร เพราะลองยกเครื่ องไปให้ร้านซ่อมตรวจสอบก็
ได้รับคายืนยันจากช่างว่าเครื่ อง ปกติดีทุกอย่าง แต่พอนาเครื่ องกลับมาใช้ที่บา้ นก็เกิดอาการแฮงค์เหมือนเดิม
ทีน้ ี เรามาลองดูวา่ ปั จจัยหลัก(ในแง่ของ HardWare)ของเครื่ องคอมพิวเตอร์แฮงค์เกิดจากอะไร
• ความร้อนที่สะสมภายใน Case Computer ต้องเลือก Case Computer ที่มีระบบระบายความร้อนที่ดี ๆ
เช่น ระบบระบายความร้อนเชิงรุ กแบบอัจฉริ ยะ
• Power Supply จ่ายไฟไม่นิ่งและไม่เรี ยบ ต้องเป็ น Power Supply ที่จ่ายไฟได้นิ่งและเรี ยบ เช่น มีวงจรพายฟิ ลเตอร์
และการมีเร็กกูเลชัน่ ที่ดี
• ใช้ Hardware คุณภาพต่า เช่น Ram, Main board , VGA Card
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
สาเหตุทที่ าให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหาย
ความร้อนมีผลร้ายอย่างไรต่อชิ้นส่ วนคอมพิเตอร์ของเรา ลองดูปัญหาหลักของความร้อนในตัว Case Computer
นอกจากทาให้เครื่ องแฮงค์แล้วปั ญหาต่าง ๆที่จะตามมามีอีกมากมายที่จะแนะนา ดังต่อไปนี้
อายุการใช้ งานของชิ้นส่ วนคอมพิวเตอร์ จะสั้ นลง เช่ น
โดยเฉพาะ Capacitor ที่อยูใ่ นชิ้นส่ วนต่าง ๆ ถ้าอุณหภูมิภายในตัว Case Compouter เพิม่ ขึ้น 10 องศา อายุการใช้
งานของ Capacitor จะลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
สาเหตุทที่ าให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหาย
 ฝุ่ นผง เป็ นที่ทราบกันดีวา่ ในอากาศมีฝนุ่ ผงกระจัดกระจายอยูใ่ นทุกๆที่ฝนุ่ ผงที่เกาะติดอยูบ่ นแผงวงจรของคอมพิวเตอร์
ทาหน้าที่เสมือนฉนวนป้ องกันความร้อน ทาให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบไม่สามารถระบายออกสู่สภาพแวดล้อม
ภายนอกนอกจากนี้อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ซพั พลายหรื อฮาร์ดดิสค์หรื ออาจเข้าไปอยูร่ ะหว่าง
แผ่นดิสค์กบั หัวอ่าน ทาให้แผ่นดิสค์หรื อหัวอ่านเกิดความเสี ยหายได้
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
สาเหตุทที่ าให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหาย
วิธีป้องกัน ฝุ่ นผงอุดตันใน NOTEBOOK หรื อ CASE COMPUTER
• ไม่ควรเปิ ด Case เอาไว้โดยไม่จาเป็ นทาความสะอาดภายในเครื่ องทุก 6 เดือน หรื อทุกครั้งที่ถอดฝาครอบเคสออก
ขึ้นอยูก่ บั สภาพพื้นที่ที่ต้งั computerเป็ นหลัก ถ้าเป็ นที่ที่มีฝนุ่ ละอองลงอยูบ่ ่อยๆยิง่ ต้องหมัน่ ตรวจเช็คความสะอาด
อย่างสม่าเสมอ
• ใช้น้ ายาทาความสะอาดสาหรับเครื่ องคอมฯ เช็ดบริ เวณด้านนอก อาจใช้สาลีกา้ น พูก่ นั หรื อแปลงเล็กๆช่วยในการปั ดฝุ่ น
จากนั้นจึงใช้น้ ายากับผ้าสะอาดเช็ดให้ทวั่ ทิ้งไว้สกั พักค่อยเช็ดถูออกให้สะอาดอีกครั้ง จะทาให้เช็ดคราบสกปรกออกง่าย
ขึ้นชิ้นส่ วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทาความสะอาดช่วยในการเช็ดถู ส่ วนวงจรภายในให้ใช้ลมเป่ า (ไม่ควรใช้ไดร์เป่ าผม)
และแปรงขนอ่อนๆปัดฝุ่ นออก
• น้ ายาทาความสะอาดชิ้นส่ วนคอมพิวเตอร์ ไม่ควรนาไปใช้เช็ดถูบริ เวนหน้าจอแสดงผล หรื อ Moniter เป็ นอันขาด เพราะ
จะทาให้เกิดความเสี ยหายได้ หากมีฝนุ่ หรื อคราบรอยนิ้วมือให้ใช้ผา้ นุ่มๆสะอาดๆเช็ดเบาๆแทนครับ
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
สาเหตุทที่ าให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหาย
 สนามแม่ เหล็ก
แม่เหล็กสามารถทาให้ขอ้ มูลในแผ่นดิสก์หรื อฮาร์ดดิสก็สูญหายได้อย่างถาวรแหล่งที่ให้กาเนิด
สนามแม่เหล็กในสานักงานมีอยูม่ ากมาหลายประเภท อาทิเช่น
• แม่เหล็กติดกระดาาบันทึกบนตูเ้ ก็บแฟ้ ม
• คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก
• ไขควงหัวแม่เหล็ก
• ลาโพง
• มอเตอร์ ในพริ นเตอร์
• UPS
 วิธีแก้ ปัญหา
ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกาลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบคอมพิวเตอร์
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ Hardware
สาเหตุทที่ าให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหาย
 สั ญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า
สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ ามีหลายลักษณะ อาทิเช่น
• แรงดันเกิน
• แรงดันตก
• ไฟกระเพื่อม
 วิธีแก้ ปัญหา
เครื่ องจ่ายไฟสารอง (UPS) ถ้ามีงบประมาณเพียงพอควรติดตั้งร่ วมกับตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ด้วยเพราะ UPS
จะช่วยป้ องกันและแก้ปัญหาทางไฟฟ้ าไม่วา่ จะเป็ นไฟตก ไฟเกิน หรื อไฟกระชาก อันเป็ นสาเหตุที่จะทาให้เกิด
ความเสี ยหายของข้อมูลและชิ้นส่ วนอื่นๆ หรื อโดยการใช้เครื่ องควบคุมกระแสไฟฟ้ า หรื อ ที่เรี ยกว่า Stabilizer
ส่ วนไฟกระเพื่อม แก้ได้โดยการลดจานวนครั้งในการปิ ดเปิ ดเครื่ อง
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
 การลงโปรแกรม : ลงเฉพาะที่เราใช้ การลงโปรแกรมมากไปจะทาให้เครื่ องอืด ช้า จนถึงอาการที่เรี ยกว่า แฮงค์
หรื อการ Install Games มากไปเพราะขนาดไฟล์ของ Game บ้างเกมส์มีไฟล์ที่ขนาดใหญ่หลายร้อย MB.หรื อ GB.
 เปิ ดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้ วใช้ เวลาในการ Boot นาน : มีโปรแกรมอะไรบ้างที่ทางานซ้ าซ้อนกัน จาพวกโปรแกรม
ประเภท Media Player ทั้งหลายไม่วา่ จะเป็ น RealPlayer, Quicktime, iTunes, WinAmp หรื อแม้แต่ WinDVD
กับ PowerDVD เองก็ตาม โปรแกรมเหล่านี้มกั มีความสามารถ เหมือนๆ กัน มีความแตกต่างกันในความสามารถที่
จะรองรับไฟล์เฉพาะบางตัว จึงทาให้หลายคนต้องลงโปรแกรมเหล่านี้ลงไปในคอมพิวเตอร์พร้อมกัน และยังมี
โปรแกรมประเภทบีบอัดข้อมูล WinZip, WinRAR หรื อจาพวกโปรแกรมเร่ งประสิ ทธิภาพเครื่ องคอมฯ โปรแกรม
ป้ องกันไวรัส สปายร์แวร์ เป็ นต้น
 ลบโปรแกรมทีไ่ ม่ ได้ ใช้ งานทิง้ : หากเรารู ้วา่ โปรแกรมไหนที่เราไม่ได้ใช้งานแล้ว หรื อเกมส์ต่างๆที่เราลงไว้ใน
คอมพิวเตอร์ไม่ได้เล่นเราควรจะลบออกครับเช่นเดียวกับโฟลเดอร์และไฟล์ เพราะจะทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ของ
เราทางานหนัก
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
 การเก็บข้ อมูลเอกสาร :ไฟล์ต่างๆ ที่เราจะเก็บไว้ แนะนาอย่าไปเก็บใน Drive C: ควรเก็บไว้ Drive อื่นแทน
ส่ วนมาก Drive C ควรลงเฉพาะโปรแกรม ไม่ควรเก็บไฟล์งานที่สาคัญ หรื อพวกหนังเพลงเอาไว้ เนื่องจาก
ส่ วนมากเวลามีปัญหาจะเกิดกับ Drive C เป็ นหลัก อีกอย่างเมื่อต้องการล้างเครื่ องลงโปรแกรมใหม่ ก็สามารถ
ลบ Drive C แล้วลง Windows หรื อระบบปฏิบตั ิการใหม่ได้เลย ไม่จาเป็ นต้องเสี ยเวลาย้ายข้อมูลไปไว้ Drive อื่น
 จัดการไฟล์ ทไี่ ม่ ได้ ใช้ แล้ วหรือไม่ สาคัญ : ไฟล์ต่างๆที่เราดาวน์โหลดมาหรื อเก็บไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์
หากไม่ได้ใช้งานแล้ว หรื อไม่สาคัญก็ควรลบทิ้งจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ครับ เพราะจะทาให้ไม่หนัก
เครื่ องในส่ วนของหน่วยความจา จะได้พร้อมและมีทีวา่ งรับข้อมูลใหม่
 จัดระเบียบโฟลเดอร์ ต่างๆ : ในส่ วนนี้จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและช่วยในเรื่ องการทางานของเราได้เพราะ
หากเราจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ต่างๆ ให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย เวลาที่หาไฟล์ต่างๆก็จะสะดวกมากขึ้น
เครื่ องก็จะทางานไม่หนักครับ
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
 การเข้ าเว็บไซต์ : "ไซต์ นีอ้ าจเป็ นอันตราย" เป็ นการแจ้งเตือนจากเว็บกูเกิล หรื อ ข้อความ "ขออภัยค่ ะ ไซต์ นีอ้ าจเป็ น
อันตรายต่ อคอมพิวเตอร์ ของคุณ" ซอฟแวร์ที่สามารถตรวจสอบสคริ ปก่อนที่จะรับ "ม้าโทรจัน" เข้ามาโปรแกรมที่วา่
นี้ได้แก่ Fire Fox , Google Chrome , โปรแกรมแอนตี้สปายแวร์ AVAST , Kaspersky หรื อ Antivirus แบบ Internet
Security เป็ นต้น ( แนะนาควรใช้ของแท้เพื่อให้สามารถอัพเดทข้อมูลได้ตลอด )
การเข้า Web ผูใ้ หญ่ เช่น เว็บโป๊ ส่ วนมากเว็บแนวนี้เป็ นช่องทางที่ดีเลยครับสาหรับ พวก Hacker เพราะสามารถฝัง
ไวรัส หรื อ สปายแวร์ ไว้กบั เครื่ องผูท้ ี่เข้ามาเยีย่ มชมเว็บดังกล่าว ส่ วนมากจะมีกิจกรรมให้ทาหน้าเว็บ เช่น เชิญคลิก
อะไรประมาณนี้ เมื่อเราคลิกแล้วก็จะติดตั้งไวรัส หรื อ สปายแวร์ ลงเครื่ องผูใ้ ช้ ทางที่ดีควรหลีกเลี่ยงเว็บเหล่านี้ หาก
เลี่ยงไม่ได้เมื่อเข้าไปแล้ว ก็พยายามอย่าคลิกอะไร ติดโปรแกรมพวกป้ องกัน ป้ องกันไว้รัส ป้ องกันสปายแวร์ และ
หมัน่ Update โปรแกรมพวกนี้อยูเ่ สมอ
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
 การดูแลและบารุงรักษา : ระบบขั้นพื้นฐาน สิ่ งที่ทาก็คือ Disk Cleanup ( เก็บกวาดขยะบนฮาร์ดดิส )
Check disk ( ตรวจสอบสภาพฮาร์ดดิส ) และ Disk Defragmenter ( จัดเรี ยงแฟ้ มข้อมูลเพื่อเร่ งความเร็ว )
รูปแสดงลักษณะพืน้ ที่ Harddisk Drive c:
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
รูปแสดงลักษณะ การทา Disk Cleanup
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
รูปแสดงลักษณะ การทา Disk Defragment
 การดูแลบารุงรักษาคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางด้ านซอฟท์ แวร์ Software
ในส่ วนนี้ผใู้ ช้งานคอมพิวเตอร์ควรดูแลมากที่สุด เพราะในบางครั้งผูใ้ ช้งานถือเป็ นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์เสี ยได้บ่อยๆ ดังนั้นควรทาความเข้าใจว่าอะไรบ้างที่ควรรู ้ ควรกระทา ควรแก้ไข
 รักการอ่ าน : ฝึ กที่จะอ่านและทาความเข้าใจ ไม่วา่ จะมีขอ้ ความใดๆขึ้นควรอ่านสักนิดจะได้รู้ ว่าจะต้องทา
อะไรบ้าง หากภาษาอังกฤษไม่แข็งแรง ก็ควรเปิ ดดิกชินนารี เพื่อแปลข้อความเหล่านั้นว่าต้องการให้ทาอะไร
หรื อต้องแก้ไขอย่างไร โดยหากทาบ่อยๆ ก็จะทาให้เข้าใจคาศัพท์และสามารถที่เข้าใจได้เพราะคาศัพท์
ก็จะซ้ าๆกัน แล้วจะรู้วา่ จะทายังไงต่อไป ถ้าแปลไม่ได้จริ งๆไม่เข้าใจก็ถามคนที่รู้
 ควรมีการศึกษาคู่มอื : ก่อนการใช้งานควรมีการศึกษา คู่มือไม่วา่ จะเป็ นตัวเครื่ องหรื ออุปกรณ์เสริ มต่างๆ เพื่อ
เป็ นการสร้างความเข้าใจและการใช้งานที่ถูกต้อง
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
รู้ จักกับผู้ให้ บริการ Service Provider ( SP )
 Service Provider : คือ บริ ษทั หรื อหน่วยงาน ผูใ้ ห้บริ การหรื อจัดหาให้แก่ลูกค้านัน่ เอง สาหรับผูท้ ี่ทางานใน
แวดวงไอทีในเมืองไทยนั้น คงได้เคยติดต่อกับ Service Provider กันบ้างแล้ว เพื่อความเข้าใจมากขึ้น จะ
ยกตัวอย่าง Internet service provider และ Media service provider ให้พอเห็นภาพเพื่อประโยชน์ในการทางาน
 Media Service Provider หรือ Network service provider หรือ Telecommunications service provider
คือ ผูใ้ ห้บริ การหรื อจัดหา Media ให้เรานัน่ เอง ในที่น้ ี Media จะเป็ นสายสัญญาณต่างๆ เช่นสายโทรศัพท์ สายเคเบิล
สายไฟฟ้ า สายแลน หรื อแม้แต่ที่ไม่ได้ใช้สายเช่นคลื่นวิทยุ คลื่นโทรศัพท์มือถือ เป็ นต้น
 ตัวอย่ างบริษัทเี่ ป็ น Media Service Provider ในเมืองไทย ได้ แก่
1. บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
2. บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน)
3. True Corporation Public Company Limited
4. บริ ษทั ทริ ปเปิ ลที บรอดแบนด์ จากัด (มหาชน)
5. บริ ษทั ทีทีแอนด์ที จากัด (มหาชน)
6. บริ ษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด
7. บริ ษทั สามารถคอมมิวนิเคชัน่ เซอร์วสิ จากัด
8. ADVANCED INFO SERVICE PLC. (AIS)
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
รู้ จักกับผู้ให้ บริการ Service Provider ( SP )
 Internet Service Provider : คือ บริ ษทั ผูใ้ ห้บริ การ Internet ปัจจุบนั บริ ษทั เอกชนได้รับสิ ทธิ ในการจัดตั้ง
บริ ษทั เพื่อให้บริ การอินเตอร์เน็ตหลายแห่งด้วยกัน ซึ่ งพอจะรวบรวมเป็ นข้อมูลในปัจจุบนั ได้ ดังนี้
1. บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
2. อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จากัด
3. แปซิฟิค อินเทอร์เน็ต ( เวิลด์เน็ท ) ( ประเทศไทย ) จากัด
4. จัสมินอินเทอร์เน็ต จากัด
5. เอ-เน็ต จากัด
6. เวิลด์เว็บ
7. สามารถอินโฟเน็ต จากัด
8. บริ ษทั ทริ ปเพล ที โกเบอล์ เน็ต จากัด
9. บริ ษทั KIRZ จากัด
10. บริ ษทั โอทาโร จากัด
11. บริ ษทั อินเทอร์เน็ต เซอร์วสิ โพรวายเดอร์ จากัด
12. บริ ษทั โปรอิมเมจ เอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ คอมมูนิเคชัน่ จากัด
13. ฟาร์อีสท์ อินเทอร์เน็ต จากัด
14. บริ ษทั ซี เอส ล็อกซอินโฟ จากัด
15. เอเชียอินโฟเน็ต จากัด Ltd.
16. ริ ช คอมมูนิเคชัน่ ส์ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย )
17. เคเอสซี คอมเมอร์เชียล อินเทอร์เน็ต จากัด
18. บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน)
19. บริ ษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด
20. ชมะนันทน์ เวิลด์เน็ท จากัด
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
รู้ จักกับผู้ให้ บริการ Service Provider ( SP )
 WAN Technologies ที่ Media Service Provider : ในเมืองไทย ให้บริ การอยูน่ ้ นั มีหลายประเภท ซึ่ งแต่ละ
ประเภทก็แตกต่างกัน ได้แก่
- Leased Line ( วงจรเช่า T1/E1 )
- Frame-Relay
- Metro Ethernet ( Ethernet WANs )
- VSAT (Very Small Aperture Terminal)
- IPSTAR
- Cellular 3G / 4G ( Third generation and Fourth generation )
- MPLS (Multiprotocol Label Switching )
- ISDN
- DSL ( Digital subscriber line )
- Cable Internet
- Dark Fiber
- Ethernet over Synchronous Digital ---Hierarchy
(EoSDH)
- FTTH ( Fiber to the Home )
- etc
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 ความหมายของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ หรือ Computer Network คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่ องขึ้นไปและอุปกรณ์ต่างๆ
ที่ถูกนามาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผใู ้ ช้ในเครื อข่ายสามารถติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครื อข่าย
ร่ วมกันได้ เครื อข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่ อง เพื่อใช้งานในบ้าน
หรื อในบริ ษทั เล็กๆ ไปจนถึงเครื อข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทัว่ โลก เราเรี ยกว่า เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
 การใช้ ระบบเครือข่ ายสามารถก่ อประโยชน์ ได้ มากกมาย เช่ น
สามารถแบ่ งใช้ งานแฟ้ มข้ อมูลระหว่ างเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้ไม่ตอ้ งติดตั้งซอฟต์แวร์ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ อง
สามารถแบ่ งใช้ งานทรัพยากรร่ วมกัน เช่น เครื่ องพิมพ์ อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูล ซึ่งทรัพยากรเหล่านี้สามารถถูกติดตั้งไว้ใน
เครื อข่าย โดยที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ในเครื อข่ายทุกเครื่ องสามารถเข้าไปใช้งานทรัพยากรดังกล่าวจากจุดใดในเครื อข่ายได้
สามารถแลกเปลีย่ นข้ อมูลกันได้ เช่น File Server การโอนย้ายถ่ายแฟ้ มข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งไปยังอีกเครื่ องหนึ่ง
รวมถึงสามารถส่ งข่าวสารไปมาระหว่างคอมพิวเตอร์ได้
สามารถส่ งข่ าวสารในรู ปแบบของ E-Mail ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ได้ สามารถควบคุมการทางานของ เครื่ องคอมพิวเตอร์
ที่อยูบ่ นเครื อข่ายได้
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 ลักษณะการให้ บริการเครือข่ ายแบบ Peer-to-Peer และแบบ Client-Server
Peer-to-peer (P2P) : เป็ นเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูลบนเครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบบ client-client โดยที่ client แต่ละ
เครื่ องมีขอ้ มูลเก็บอยู่ และสามารถจาลองตนเองเป็ น serverเพื่อเปิ ดให้ client เครื่ องอื่นๆ สามารถเข้ามาโหลดข้อมูลจาก
เครื่ องของตนเองได้โดยอาศัยพลังงานและ bandwidth ที่เครื่ องตนเองมี ซึ่งจะแตกต่างกับการสื่ อสารแบบ client-server
ที่มี server เก็บข้อมูลไว้เพียงเครื่ องเดียว และเปิ ดให้ client เครื่ องอื่นเข้ามาโหลดข้อมูล
Client-Server : ระบบเครื อข่ายแบบนี้จะมีคอมพิวเตอร์หลักอยูห่ นึ่งเครื่ อง เรี ยกว่า เซิ ร์ฟเวอร์ (server) หรื อ เครื่ องแม่ข่าย
ทาหน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรม และแชร์ไฟล์หรื อโปรแกรมนั้นให้กบั เครื่ องลูกข่าย อีกทั้งยังทาหน้าที่ประมวลผล และส่ ง
ผลลัพธ์ที่ได้ไปให้เครื่ องลูกข่าย ซึ่งเป็ นเสมือนเครื่ องให้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์อื่นในเครื อข่ายที่ร้องขอ เข้ามา รวมทั้ง
เป็ นยังผูจ้ ดั การดูแลการจราจรในระบบเครื อข่ายทั้งหมด
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
รูปภาพแสดงการเชื่องโยงอุปกรณ์ ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 การ์ ดเชื่อมต่ อเครือข่ าย (Network Interface Card) : คือ แผงวงจรสาหรับใช้ในการเชื่อมต่อสัญญาณของ
เครื อข่ายทั้งแบบใช้สายและแบบไร้สาย มีหน้าที่แปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายนา
สัญญาณ ทาให้คอมพิวเตอร์ในเครื อข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้
รูปภาพแสดงลักษณะ Network Interface Card
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
สายสั ญญาณหรือสายเคเบิล
สายเคเบิลที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์โดยเสี ยบสายเข้าที่การ์ดเชื่อมต่อเครื อข่ายของแต่ละเครื่ อง ซึ่งสายที่นิยม
ใช้ในปัจจุบนั มีดงั นี้
 สายโคแอ็กเชียล (Coaxial) : คือ สายเดียวที่มีเปลือกเป็ นสายโลหะถัก เพื่อป้ องกันคลื่นรบกวน มีท้งั แบบเปลือก
บางและเปลือกหนา
รูปแสดงลักษณะสายโคแอ็กเชียล (Coaxial)
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) : คือ สายขนาดเล็ก คล้ายสายสัญญาณโทรศัพท์ มีสายทั้งหมด 4/คู่ 8/เส้น
ตีเกลียวเป็ นคู่เพือ่ ป้ องกันสัญญาณรบกวน
รูปแสดงลักษณะสาย UTP
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 หัว RJ45 ( UTP CAT5/CAT6 )
คือ หัวต่อที่ใช้กบั สายสัญญาณเชื่อมเครื อข่ายแบบสายคู่ตีเกลียว (สายคือ หัวต่อที่ใช้กบั สายสัญญาณเชื่อมเครื อข่ายแบบ
สายคู่ตีเกลียว (สาย UTP) ตัวผู้ มี 2 ชนิด ได้แก่ 1.หัวต่อตัวผู ้ RJ-45 (หรื อที่เรี ยกว่ RJ-45 Connecter หรื อ RJ-45 Jack Plug)
เป็ นอุปกรณ์สาหรับใส่ ที่ปลายสาย UTP มีลกั ษณะเป็ นพลาสติกสี่ เหลี่ยมคล้ายหัวต่อโทรศัพท์
รูปแสดงลักษณะ หัวRJ45 CAT5/CAT6
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 สาย STP (Shielded Twisted Pair) : คือ สายขนาดเล็ก คล้ายสายสัญญาณโทรศัพท์มีสายทั้งหมด 4/คู่ 8/ เส้น ตีเกลียว
ไขว้กนั แบบสาย UTP แต่มีฉนวนหุม้ เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวน ใช้กรณี เชื่อมต่อระยะทางไกลๆ
รูปแสดงลักษณะสาย STP
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 สายใยแก้ วนาแสง (Fiber Optic) : คือ สายที่ใช้ส่งสัญญาณด้วยแสง ข้อดีคือส่ งสัญญาณได้ระยะทางไกลๆ โดยไม่มี
สัญญาณรบกวน
รูปแสดงลักษณะสายใยแก้ วนาแสง (Fiber Optic)
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 ฮับ (Hub) : คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่ งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใด
พอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วธิ หรื ออัตราข้อมูลของเครื อข่าย
เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อตั ราการส่ งข้อมูลลดลง
รูปแสดงลักษณะของ ฮับ (HUB)
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 ความแตกต่ างระหว่ าง Hub และ Switch
Hub กับ Switch มีความแตกต่างกันคือ Hub นั้นเวลาส่ งข้อมูลจะเป็ นแบบ broadcast กระจายไปทุกเครื่ อง ฉะนั้นยิง่ มี
คอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อเข้ากับฮับมากเท่าใด ก็จะยิง่ ทาให้แบนด์วธิ ต่อคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่ องลดลง ขณะที่ Switch นั้น
จะสามารถส่ งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตที่เป็ นปลายทางเท่านั้น ทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ต
ที่เหลือสามารถส่ งข้อมูลถึงกันและกันได้ในเวลาเดียวกัน และคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องจะมีแบนด์วธิ เท่ากับแบนด์วธิ ของ
สวิตซ์
ตัวอย่าง
Speed HUB = Speed / N เครื่ อง
เช่น LAN 100 Mbps 10 เครื่ อง ทุกเครื่ องได้แค่ 10 Mbps
ขณะที่ Speed ของ switch นั้น LAN 100 Mbps ทุกเครื่ องก็จะได้ 100 Mbps
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 สวิตซ์ (Switching HUB) : คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็ นศูนย์รวมและกระจายสัญญาณในระบบเครื อข่าย เพื่ออานวย
ความสะดวกในการเชื่อมต่อของเครื อข่าย Switching เกิดจากการเชื่อมต่อ computer แบบ point-to-point ไม่สามารถ
ทาให้ PC ติดต่อกันอย่างทัว่ ถึง จึงได้เกิดอุปกรณ์ Switch เป็ น Network Layer Function สาเหตุที่ตอ้ ง
Switching : เพราะเราสามารถส่ งข้อมูลไปยังเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งได้
รูปแสดงลักษณะของ สวิตซ์ (Switching HUB)
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 หลักการทางานของ Switching HUB
Switch มีหน้าที่ในการส่ งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง โดยมีหลักการทางานดังนี้ เมื่อคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกับ Switch
ใน Port ที่ 1 ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ใดๆ ในเครื อข่ายแล้วนั้น คอมพิวเตอร์ตวั แรกก็จะสร้าง Frame ของข้อมูลขึ้นมา
โดยจะประกอบด้วย MAC Address, IP Address ของตัวมันเอง ซึ่ งเป็ นผูส้ ่ งและ IP Address ของปลายทางคือคอมพิวเตอร์ที่
ต้องการติดต่อ แต่จะยังไม่มี MAC Address ของคอมพิวเตอร์ปลายทาง นามาประกอบกันเป็ น Frame ต่อจากนั้นจะใช้
Protocol ARP ที่มีอยูใ่ น Protocol TCP/IP ในการค้นหา MAC Address ของ คอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่มนั ต้องการจะติดต่อ
ด้วย โดย Protocol ARP จะทาการ Broadcast Frame นี้ไปยังทุก Port ของ Switch เรี ยกว่า ARP Request เมื่อคอมพิวเตอร์ที่มี
IP Address ตรงกับ IP Address ที่ตอ้ งการติดต่อทราบ ก็จะตอบกลับว่านี่เป็ น IP Address ของฉัน ก็คือคอมพิวเตอร์ปลายทาง
ที่ตอ้ งการติดต่อ มันจะตอบกลับพร้อมกับใส่ ค่า MAC Address ของมันลง ใน ARP Reply ในแบบ Broadcast ด้วย ซึ่ งจะทา
ให้ Switch รับทราบด้วย ต่อจากนั้น Switch ก็จะทาการ Forward ข้อมูลต่างๆ ไปยัง Port ที่เป็ นที่อยูข่ องคอมพิวเตอร์ท้ งั สอง
ได้อย่างถูกต้อง และ Switch จะยังเก็บเอาข้อมูลของ Mac Address ต้นทางของทั้งสองเอาไว้ในตาราง Source Address Table
( SAT ) เพื่อเก็บเอาข้อมูล MAC Address กับ Port ที่ติดต่อไว้ใช้ในการสื่ อสารที่จะเกิดขึ้นต่อไป
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 หลักการทางานของ Switching HUB
การส่ ง ARP Request และ ARP Reply ในเครื อข่ายภายใน Switch ดังกล่าวจะยังคงเป็ นลักษณะ Broadcasting ซึ่งจะทา
ให้ Switch ทุก Port สามารถส่ งข้อมูลไปได้ดว้ ยเช่นกัน ทาให้เป็ นช่องโหว่อนั หนึ่งในการโจมตีได้ นอกจากนี้ ARP
Protocol ยังไม่มีการตรวจสอบตัวตนอย่างเข้มงวด ทาให้มีผทู ้ ี่จะปลอม MAC Address แล้วทา Man-in-the-MiddleAttack หรื อ ทา MAC Flooding ก็ตามสามารถโจมตีเครื อข่ายได้ ดังนั้น จะต้องเลือก Switch ที่มี Feature ที่คอยกาหนด
จานวนของ MAC Address ต่อ Port ได้ สาหรับ CISCO Switch จะใช้ Feature Port Security ในการกาหนดจานวน
MAC Address ต่อ Port
ในการรับส่ ง Frame ข้อมูลนั้น Switch จะเลือกรับส่ งข้อมูลเป็ นคู่ๆ ทาให้ในเวลาเดียวกันสามารถส่ งข้อมูลพร้อมกันได้
หลายคู่หรื อทางานขนานกันได้ซ่ ึ งเป็ นข้อดีกว่าอุปกรณ์ Hub ที่จะต้องรอจนกว่าการรับส่ งข้อมูลคู่ใดคู่หนึ่งทางานสาเร็ จ
จึงเริ่ มมีการรับส่ งใหม่ได้
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 หลักการทางานของ Switching HUB
รูปแสดงลักษณะคาสั่ งเบือ้ งต้ นตรวจสอบ arp
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 หลักการทางานของ Switching HUB
การใช้ Switch ในการเชื่อมต่อเครื อข่ายจะเป็ นการแบ่งเครื อข่ายออกเป็ น Multi Collision Domain (Collision Domain จะ
กล่าวถึงต่อไป) โดยอัตโนมัตจะทาให้ Network Computer ทางานได้อย่างเหมาะสมเพราะ Switch จะทาการ Drop frame ที่
ไม่จาเป็ นต้องส่ งต่อออกไปยัง Switch ตัวอื่น หากตรวจพบว่าคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ตอ้ งการส่ งอยูใ่ น Switch ตัวเดียวกัน
แล้วก็จะเป็ นการลด Traffic ใน Network ลงได้เป็ นอย่างดีทีเดียว
คาว่า Collision Domain คือการเชื่อมคอมพิวเตอร์จานวนหนึ่งเข้าด้วยกัน คอมพิวเตอร์ท้งั หมดติดต่อสื่ อสารกันได้และ
ข้อมูลก็อาจจะเกิดการชนกันได้ ทาให้เกิดการรับส่ งข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง การแก้ไขการชนกันของข้อมูลนั้น ต้องใช้กฏกติกา
การรับส่ งข้อมูลเข้ามาช่วยเช่น CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detect) เป็ นหนึ่งในกติกานั้น ซึ่งจะ
คล้ายกับสัญญาณไฟจราจรที่มีการหลีกเลี่ยงกันและกันในทางแยก (สาหรับในที่น้ ีจะไม่กล่าวถึงรายละเอียด) Collision
Domain ส่ วนมากมักจะเกิดจากเชื่อมต่อเข้าหากันด้วยอุปกรณ์ Hub ซึ่งในการเชื่อมต่อ Hub ต่อกันไปเรื่ อยๆ ทั้งหมดจะอยู่
ใน Collision Domain เดียวกัน ดังนั้นจะทาให้มี Collision Domain ขนาดใหญ่มากทาให้มีขอ้ มูลวิง่ เต็มไปหมดและมี
โอกาสเกิดการชนกันของข้อมูลได้ นอกจากนี้ยงั ทาให้เกิดการรอคอยที่ยาวนานกว่าจะสามารถทาการรับส่ งข้อมูลได้ทา
ให้ มี Switch เข้ามาทดแทนดังในปัจจุบนั นัน่ เอง
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 Modem Router หรือ DSL (Digital Subscriber Line) : คือ อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมโยงหลายๆ เครื อข่ายหรื ออุปกรณ์
หลายๆ ตัวเข้าด้วยกัน ดังนั้นจึงมีเส้นทางเข้าออกของข้อมูลได้หลายเส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้ เทคโนโลยี
เครื อข่ายที่แตกต่างกัน ซึ่ งตัวอุปกรณ์จดั เส้นทางนี้ จะทาหน้าที่หาเส้นทางที่เหมาะสมให้ เพื่อให้การส่ งข้อมูลมี
ประสิ ทธิภาพมายิง่ ขึ้น
รูปแสดงลักษณะของ Modem หรือ DSL Modem Router
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 Wireless Access Point
หรื อ WAP หรื อเรี ยกสั้นๆว่า AP คือ อุปกรณ์ใน เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ช่วยให้อุปกรณ์ไร้สายสามารถเชื่อมต่อกับ
เครื อข่ายแบบมีสายได้โดยการใช้เทคโนโลยีของ LAN ไร้สาย หรื อ มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง AP มักจะเชื่อมต่อกับ
Router ด้วยสายเคเบิล (ผ่านเครื อข่าย แบบมีสาย) ซึ่ งอาจเป็ นอุปกรณ์ แยกต่างหาก หรื อเป็ นส่ วนหนึ่งของ Router
รูปแสดงลักษณะของ ( Wireless Access Point )
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
อุปกรณ์ เครือข่ ายและระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 (Router) : เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ใน Layer ที่ 3 Router จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางทีส่วนหัว
(Header) ข้อ Packet ข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและส่ ง Packet ต่อไป Router จะมีตวั จัดเส้นทางใน Packet ที่เรี ยกว่า
(Routing Table) หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยงั ส่ งข้อมูลไปยังเครื อข่ายที่ให้ Protocol ต่างกันได้ เช่น IP
(Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยงั เชื่อมต่อกับเครื อข่ายอื่นได้
เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
รูปแสดงลักษณะของ Router
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 ระบบเครือข่ ายจะถูกแบ่ งออกตามขนาดของเครือข่ าย ซึ่งปัจจุบนั เครือข่ ายทีร่ ้ ูจักกันดีมอี ยู่ หลักๆ 3 แบบ ได้ แก่
เครือข่ ายภายใน หรือ LAN (Local Area Network: LAN) : เป็ นเครื อข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน
เช่น อยูใ่ นห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน
รูปแสดงลักษณะ Local Area Network : LAN
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 เครือข่ ายวงกว้ าง หรือ WAN (Wide Area Network : WAN) : ระบบเครื อข่ายแบบ WAN หรื อระบบเครื อข่ายบริ เวณ
กว้างจะเป็ นระบบเครื อข่ายที่เชื่อมโยงเครื อข่ายแบบท้องถิ่นตั้งแต่ 2 เครื อข่ายขึ้นไปเข้าด้วยกันผ่านระยะทางที่ไกลมาก
โดยการเชื่อมโยงจะผ่านช่องทางการสื่ อสารข้อมูลสาธารณะของบริ ษทั โทรศัพท์หรื อองค์การโทรศัพท์ของประเทศต่างๆ
เช่น สายโทรศัพท์แบบอนาลอก สายแบบดิจิทลั ดาวเทียม ไมโครเวฟ เป็ นต้น
รูปแสดงลักษณะ Local Area Network : WAN
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 เครือข่ ายวงกว้ าง หรือ MAN (Wide Area Network: MAN) : ย่อมาจาก Metropolitan Area Network เป็ นเครื อข่ายที่
มีการเชื่อมต่อเครื อข่าย LAN เข้าไว้ดว้ ยกัน ซึ่ งครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าเครื อข่าย LAN โดยครอบคลุมระดับเมือง
หรื อจังหวัด ซึ่งจาเป็ นต้องมีแบคโบน (Backbone) ที่ทาหน้าที่เป็ นสายหลักในการเชื่อมต่อเครื อข่ายดังกล่าว ตัวอย่าง
เครื อข่ายระดับเมือง เช่น บริ ษทั ที่มีการเชื่อมต่อเครื อข่ายของสาขาต่างๆที่อยูใ่ นเขตเมืองหรื อจังหวัดเดียวกัน และการ
บริ การเคเบิลเทเลวิชนั่ เป็ นต้น
รูปแสดงลักษณะ Local Area Network : MAN
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
รูปแสดงลักษณะ Local Area Network : LAN - MAN - WAN
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 รูปแบบการเชื่อมต่ อเครือข่ าย โทโพโลยี (Topologies)
โทโพโลยี (Topologies) : เป็ นการเชื่อมต่อเครื อข่ายระหว่างโหนดในลักษณะเชิงกายภาพ โดยโทโพโลยียงั สามารถ
แบ่งออกเป็ น 4 รู ปแบบหลักๆด้วยกันคือ
 โทโพโลยี Topology แบบบัส ( (Bus Topology)
 โทโพโลยี Topology แบบดาว (Star Topology)
 โทโพโลยี Topology แบบวงแหวน (Ring Topology)
 โทโพโลยี Topology แบบเมช (Mesh Topology)
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบบัส ( (Bus Topology)
ลักษณะทางกายภาพของโทโพโลยีแบบบัสนั้น จัดเป็ นรู ปแบบที่ง่าย ซึ่ งประกอบด้วยสายเคเบิลเส้นหนึ่งที
นามาใช้เป็ นสายแกนหลักที่เปรี ยบเสมือนเป็ นกระดูกสันหลัง (Backbone) โดยทุก ๆ โหนดบนเครื อข่าย
จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับสายเส้นนี้ จึงแลดูเหมือนกับราวที่มีไว้แขวนเสื้ อผ้า
ข้ อดี
มีรูปแบบที่ไม่ซบั ซ้อน ติดตั้งง่ายเพิม่ จานวนโหนดได้ง่าย โดยสามารถเชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักได้ทนั ที
ประหยัดสายสื่ อสาร เนื่องจากใช้สายแกนหลักเพียงเส้นเดียว
ข้ อเสี ย
หากสายเคเบิลที่เป็ นสายแกนหลักเกิดชารุ ดหรื อขาด เครื อข่ายจะหยุดชะงักในทันที กรณี เกิดข้อผิดพลาดบน
เครื อข่าย จะค้นหาจุดผิดพลาดยาก เนื่องจากทุกอุปกรณ์ต่างก็เชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักทั้งหมด ระหว่าง
โหนดแต่ละโหนดจะต้องมีระยะห่างตามข้อกาหนด
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบบัส ( (Bus Topology)
รูปแสดงลักษณะ การเชื่อมต่ อแบบ Bus Topology
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบดาว (Star Topology)
ในความเป็ นจริ งโทโพโลยีแบบดาวนั้น มีจุดเริ่ มต้นจากการเชื่อมต่อเทอร์มินลั กับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์
ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลาง และเทอร์มินลั ทุกเครื่ องจะเชื่อมต่อเข้ากับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์แต่ในยุคปัจจุบนั อุปกรณ์ที่นิยม
นามาใช้เป็ นศูนย์กลางควบคุมของสายสื่ อสารทั้งหมดก็คือ ฮับ (Hub) โดยทุก ๆ โหนดบนเครื อข่ายจะต้องเชื่อมโยงสาย
สื่ อสารผ่านฮับทั้งสิ้ น ซึ่ งฮับจะทาหน้าที่รับข้อมูลจากผูส้ ่ ง เพื่อส่ งไปยังโหนดปลายทางที่ตอ้ งการ
ข้ อดี
มีความคงทนสู ง กล่าวคือหากสายเคเบิลบางโหนดเกิดชารุ ดหรื อขาด จะส่ งผลต่อโหนดนั้นเท่านั้น ไม่ส่งผลกระทบ
ต่อระบบโดยรวม โหนดอื่น ๆ ยังคงใช้งานได้ตามปกติ เนื่องจากมีจุดศูนย์กลางควบคุมอยูท่ ี่ฮบั ทาให้การจัดการดูแลง่าย
และสะดวก
ข้ อเสี ย
สิ้ นเปลืองสายเคเบิล ซึ่งต้องใช้จานวนสายเท่ากับจานวนเครื่ องที่เชื่อมต่อ กรณี ตอ้ งการเพิ่มโหนด อุปกรณ์ฮบั จะต้องมี
พอร์ตว่างให้เชื่อมต่อ และจะต้องลากสายเชื่อมต่อระหว่างฮับไปยังโหนดปลายทาง เนื่องจากมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ฮบั หาก
ฮับเกิดชารุ ดใช้งานไม่ได้ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับดังกล่าวก็จะใช้งานไม่ได้ท้งั หมด
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบดาว (Star Topology)
รูปแสดงลักษณะ การเชื่อมต่ อแบบ StarTopology
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบแหวน (Ring Topology)
การเชื่อมต่อแบบวงแหวนนั้น โหนดต่าง ๆ จะมีการเชื่อมต่อกันด้วยสายสัญญาณจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดหนึ่ง
ต่อกันไปเรื่ อย ๆ จนกระทัง่ โหนดแรกและโหนดสุ ดท้ายได้เชื่อมโยงถึงกัน จึงเกิดเป็ นลูปวงกลมหรื อวงแหวนขึ้นมา
ข้ อดี
แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสส่ งข้อมูลได้เท่าเทียมกันประหยัดสายสัญญาณ โดยจะใช้สายสัญญาณเท่ากับ
จานวนโหนดที่เชื่อมต่อง่ายต่อการติดตั้งและการเพิ่ม/ลบจานวนโหนด
ข้ อเสี ย
หากวงแหวนชารุ ดหรื อขาด จะส่ งผลกระทบต่อระบบทั้งหมด ตรวจสอบได้ยาก ในกรณี ที่มีโหนดใดโหนดหนึ่ง
เกิดข้อขัดข้อง เนื่องจากต้องตรวจสอบทีละจุดว่าเกิดข้อขัดข้องอย่างไร
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบแหวน (Ring Topology)
รูปแสดงลักษณะ การเชื่อมต่ อแบบ RingTopology
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบเมช (Mesh Topology)
การเชื่อมต่อเครื อข่ายด้วยโทโพโลยีแบบเมช จัดเป็ นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดอย่างแท้จริ ง ที่แต่ละโหนดจะมีลิงค์สื่อสาร
ระหว่างกันเป็ นของตนเอง
ข้ อดี
เนื่องจากเป็ นการเชื่อมต่อกันโดยตรงระหว่างโหนด ดังนั้นแบนด์วดิ ธ์บนสายสื่ อสารสามารถนามาใช้ได้อย่างเต็มที่ ไม่มี
โหนดใดมาแชร์ใช้งาน มีความปลอดภัย และความเป็ นส่ วนตัวในข้อมูลที่สื่อสารกันระหว่างโหนดระบบมีความทนทาน
ต่อความผิดพลาด (Fault-Tolerant) เนื่องจากหากมีลิงก์ใดชารุ ดเสี ยหาย ก็สามารถเลี่ยงไปใช้งานลิงก์อื่นทดแทนได้
ข้ อเสี ย
เป็ นรู ปแบบการเชื่อมต่อเครื อข่ายที่สิ้นเปลืองสายสื่ อสารมากที่สุด
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
 โทโพโลยี Topologies แบบเมช (Mesh Topology)
รูปแสดงลักษณะ การเชื่อมต่ อแบบ MeshTopology
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ประเภทและรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topologies) ระบบเครือข่ าย
รูปแสดงลักษณะการเชื่อมต่ อในรูปแบบโดยรวมของ Topology
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การตั้งข้ อสั งเกตอาการที่พบในระบบเครือข่ าย
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
อาการปัญหาที่เกิดขึ้นเป็ นแบบปกติ ต่อเนื่องหรื อไม่
สังเกตว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้น เป็ นเฉพาะ Application หรื อเกิดขึ้นในเครื อข่ายโดยรวม
มี Applicationใดบ้างที่เรี ยกมาใช้งานแล้วเกิดปัญหาบนเครื อข่าย
มี User กี่คนที่เกี่ยวข้องในการใช้งานแล้วเกิดปัญหา
อาการที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กบั กิจกรรมอื่น ๆ บนเครื อข่ายใดบ้าง
อาการแปลก ๆ หรื อปัญหาบนเครื อข่ายครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อใด
มีอาการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื อข่าย หรื อมีการติดตั้งซอฟต์แวร์บนเครื อข่ายเกิดขึ้น เช่น ติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม
มีการปรับปรุ งอาคารสถานที่ ๆ มีการติดตั้งเครื อข่ายหรื อไม่
มีการโยกย้ายอุปกรณ์เครื อข่าย หรื อสถานที่ ๆ ติดตั้งเซิ ร์ฟเวอร์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่ายหรื อไม่
มีผใู้ ช้คนใดบ้างที่ Logon เข้ามาที่เครื อข่ายขณะเกิดปั ญหา
ข้อสังเกตเหล่านี้จะต้องให้ความสาคัญ เพราะสามารถใช้เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาของเครื อข่ายได้วา่ เกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับการเชื่อมต่ อ (Connectivity Problem)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ปัญหาเกี่ยวกับการเข้าหัวสายไม่ดี โดยเฉพาะการใช้รหัสสี ไม่ถูกต้อง
ปัญหา Connector ชารุ ด
ปัญหาการเชื่อมต่อไม่แน่นหรื อหลุด
ปัญหาสายขาดใน
ปัญหา Connector ของ Hub สกปรกหรื อชารุ ดบกพร่ อง
ปัญหาสายสัญญาณถูกรบกวนมากจนหลุดบ่อย ๆ
ปัญหาสกปรกที่ Connector ของ Fiber Optic
ปัญหาระยะทางการเชื่อมต่อไกลเกินไป เช่น เดินสาย UTP ไกลเกินกว่า 150 เมตร
ปัญหาอุปกรณ์เชื่อมต่อขัดข้อง เช่น T – Connector
ปัญหาการใช้สายสัญญาณที่มีค่า Impedance ไม่เข้ากัน นามาเชื่อมต่อกัน
ปัญหาการเข้าหัว Transceiver ไม่ดี
ปัญหา LAN Card เสี ย
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับประสิ ทธิภาพของระบบเครือข่ าย
ปัญหาทีเ่ กีย่ วข้ องกับประสิ ทธิภาพการทางานของเครือข่ าย สามารถแยกออกเป็ น 2 รู ปแบบ ดังนี้
การตอบสนองของเครือข่ ายช้ ามาก
การให้ บริการของ Server บนเครือข่ ายช้ ามาก
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับประสิ ทธิภาพของระบบเครือข่ าย
การตอบสนองของเครือข่ ายช้ ามาก
การตอบสนองของเครื อข่ายช้ามีสาเหตุมากมายหลายประการ ดังนี้
• ปัญหาเกี่ยวกับการทางานของ Interrupt ที่ผดิ พลาดบน Server
• ปัญหาเกี่ยวกับ Application ทางานผิดพลาดหรื อไม่สมบูรณ์
• CPU ที่ Server ทางานช้าเกินไป
• ปัญหาข้อบกพร่ องที่จุดเชื่อมต่อ ทาให้เกิด Error หรื อ Frame ข้อมูลผิดพลาด
• ปัญหาข้อบกพร่ องที่ System Software
• เครื่ องคอมพิวเตอร์บนเครื อข่ายติด Trojan Horse Software
• อุปกรณ์เครื อข่ายบางตัว สร้าง Broadcasting มากจนเกินไป
• Hard Disk บน Server มีปัญหา Fragment
• Hard Disk บน Server ทางานไม่ทนั
• การจัด Configuration ของ Driver เกี่ยวกับ LAN Card ไม่ถูกต้อง
• ปัญหาเกี่ยวกับการทา Encapsulation ของ Frame ที่ไม่สมบูรณ์
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับประสิ ทธิภาพของระบบเครือข่ าย
การตอบสนองของเครือข่ ายช้ ามาก
การตอบสนองของเครื อข่ายช้ามีสาเหตุมากมายหลายประการ ดังนี้
• File Server Down
• File Server ติดขัดหรื อเกิดคอขวด
• เกิดความผิดพลาดของหน่วยความจาใน Server รวมทั้งหน่วยความจาไม่เพียงพอ
• Gateway ทางานหนักมากจนเกินไป
• Buffer บน LAN Card มีไม่มากพอ
• LAN Card ทางานช้า Buffer ไม่พอ หรื อบกพร่ อง
• เครื อข่ายมี Broadcast Packet โดยรวมมากเกินไป
• เกิดปัญหา Cross Talk หรื อสัญญาณรบกวนมาก
• มีการเชื่อมต่อ Switching Hub หลายชั้นเกินไป
• มี Traffic เกิดขั้นมากมายบนเครื อข่าย
• อุปกรณ์ Hardware บนเครื อข่ายไม่ Match
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
ปัญหาที่เกีย่ วข้ องกับประสิ ทธิภาพของระบบเครือข่ าย
การให้ บริการของ Server บนเครือข่ ายช้ ามาก
เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ทางานช้า เกิดจากปั ญหามากมายหลายประการเช่นกัน แต่พอสามารถสรุ ปปั ญหาได้ดงั ต่อไปนี้
• ซีพียขู องเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ทางานหนักมากเกินไป
• หน่วยความจาของเครื่ องเซิร์ฟเวอร์มีไม่เพียงพอ
• ฮาร์ดดิสก์ของเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์ทางานไม่ทนั
• มี Bad Sector ที่ตวั ฮาร์ดดิสก์ของเครื่ องเซิร์ฟเวอร์
• การ์ดแลนบนเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์มีปัญหา หรื อทางานไม่ทนั
• สายสัญญาณที่เชื่อมต่อระหว่าง Switching Hub กับเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์ยาวเกินไป ทาให้เกิดดีเลย์
• ปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดวางตาแหน่งของเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ไม่ สามารถติดต่ อกับเครือข่ ายได้
ในบางครั้งการตรวจสอบปัญหาในกรณี น้ ี อาจไม่สามารถตรวจสอบจากสภาพของอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อจากภายนอกได้
การตรวจสอบปัญหาในเบื้องต้นควรจะกระทาผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์โดยตรง
โดยในระบบปฏิบตั ิการวินโดว์สามารถใช้คาสัง่ ดังต่อไปนี้ตรวจสอบการติดต่อกับเครื อข่ายของเครื่ องคอมพิวเตอร์ได้
- ใช้คาสัง่ Ping ตามด้วยหมายเลขไอพีแอดเดรส ในกรณี ที่ติดต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครื อข่ายไม่ได้เช่นกัน
- หากต้องการติดต่อกับเครื่ อง Client ในเครื อข่ายที่มีหมายเลขไอพีแอดเดรส เช่น 10.0.0.2 สามารถทาได้ ดังนี้
• คลิกที่เมนู Start  Run แล้วพิมพ์ cmd
• จะปรากฏหน้าต่าง ดอสพรอมพ์
• ใช้คาสัง่ ping ติดต่อกลับ Ip หรื อ Gateway Dns ที่ตอ้ งอยูใ่ นระบบเครื อข่าย
• แล้วพิมพ์คาสัง่ ต่อไปนี้ Ping (เช่น 10.0.0.2)
• หรื อพิมพ์คาสัง่ ipconfig/all เพื่อจะดู Ip address
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
หากต้ องจะดู Ip address
รูปภาพแสดงผลการจากการใช้ คาสั่ ง ipconfig/all
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
หากสามารถติดต่ อกับ ip 10.0.0.2 ของระบบเครือข่ ายได้
รูปภาพแสดงผลการจากการใช้ คาสั่ ง ping
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
หากไม่ สามารถติดต่ อ ip 10.0.0.3 ของระบบเครือข่ าย
รูปภาพแสดงผลการจากการใช้ คาสั่ ง ping
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
หากต้ องการทราบออปชั่นในการทางานของคาสั่ ง ping ให้ ENTER
รูปภาพแสดงผลออปชั่นของคาสั่ ง ping
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 หากไม่ทราบหมายเลขไอพีแอดเดรสของเครื่ อง สามารถพิมพ์ชื่อของเครื่ องนั้นตามหลังคาสัง่ Ping ได้
 หรื อบางทีหากเป็ นโดเมนเนมชื่อเว็บไซต์ ก็สามารถใช้ได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่น Ping www.google.com จะทาให้เรา
ทราบไอพีแอดเดรสของ Web Server
รูปภาพแสดงผลออปชั่นของคาสั่ ง ping
 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ นในระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 nslookup www.google.com (ตรวจสอบว่ าเว็บไซต์ นีม้ ี IP Address อะไร)
รูปภาพแสดงผลออปชั่นของคาสั่ ง nslookup