Protocal - WordPress.com

Download Report

Transcript Protocal - WordPress.com

Internet Technology
Open system
Protocol concept
TCP/IP
TCP/IP Sub Protocol
Topics of this week
 รูปแบบการถ่ายทอดข้อความ
 แนวคิดของโปรโตคอล (Protocol Concept)
 Protocol TCP/IP
 Protocol ย่อยใน TCP/IP
โปรโตคอล (Protocol)
ระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่ในระบบเครือข่ายอาจจะใช้
Hardware และ Software ที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน
 ดังนัน
้ การที่จะส่งผ่านข้อมูลถึงกันและตีความได้อย่างถูกต้อง
ตรงกันจะต้องทาข้อกาหนดร่วมกันในการสื่อสารเสียก่อน
จะต้องกาหนดระเบียบวิธีในการติดต่อให้ตรงกัน
 เปรียบเสมือนกับการสื่อสารกันของมนุษย์
 ถ้าเราต้องการจะติดต่อกับผูค
้ นต่างเชื้อชาติต่างภาษาให้เข้าใจได้
ถูกต้องตรงกัน ก็จะต้องตกลงกันเสียก่อนว่า จะติดต่อสื่อสารกัน
อย่างไร ด้วยภาษาใดถึงจะเข้าใจกันได้

โปรโตคอล (ต่อ)
ปัจจุบนั ภาษาอังกฤษถูกใช้เป็ นภาษากลางในการติดต่อกันมาทา
ให้เราพูดได้ว่าภาษาอังกฤษเปรียบเสมือนเป็ นภาษามาตรฐานใน
การสื่อสารของมนุษย์
 ในแง่การสื่อสารข้อมูล โปรโตคอล TCP/IP เป็ นโปรโตคอลหลักที่
ใช้ในการสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

โปรโตคอล (ต่อ)
โปรโตคอล คือ ระเบียบวิธีที่กาหนดขึน้ สาหรับการสื่อสารข้อมูล
ให้สามารถส่งผ่านข้อมูลไปยังปลายทางได้ถกู ต้อง
 ในปัจจุบน
ั โปรโตคอลในการสื่อสารข้อมูลมีหลายโปรโตคอล
นอกเหนื อจาก TCP/IP
 คล้ายกับภาษาต่าง ๆ ในโลกนี้ ที่นอกจากภาษาอังกฤษแล้วก็ยงั มี
ภาษาจีน ญี่ปนุ่ ฝรังเศส
่
เยอรมัน และอื่น ๆ อีกมากมาย
 ในด้านโปรโตคอลสื่อสารข้อมูลก็เช่นกันได้มีการออกแบบ
โปรโตคอลอื่น ๆ ขึน้ มาใช้งานอีกมาก เช่น

โปรโตคอล IPX/SPX
 โปรโตคอล NetBEUI เป็ นต้น

โปรโตคอล TCP/IP
TCP/IP = Transmission Control Protocol/Internet Protocol
 ได้รบ
ั การพัฒนาขึน้ มาในปี ค.ศ 1973 เพื่อใช้ในระบบเครือข่าย
ARPANet ซึ่งเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกันจึง
จัดเป็ นโปรโตคอลสาหรับระบบเครือข่ายวงกว้าง (WAN) รุ่นแรกที่
มีใช้งาน
 ต่อมาจึงได้รบ
ั การพัฒนาให้มีความสามารถเพิ่มขึน้ ได้แก่

การเชื่อมต่อทางไกล (remote login)
 การแลกเปลี่ยนแฟ้ มข้อมูล (file transfer)
 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (electronic-mail)
 การค้นหาเส้นทางข้อมูล (routing)
 รวมทัง้ สามารถใช้งานบนเครื่องพีชีได้ด้วย

โปรโตคอล TCP/IP (ต่อ)

ในปี ค.ศ. 1983 โปรโตคอล TCP/IP ได้ถกู กาหนดเป็ นมาตรฐาน
บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง Host ทุก Host จะต้องใช้
โปรโตคอลนี้
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model
โปรโตคอล TCP/IP มีการจัดกลไกการทางานเป็ นชัน้ หรือ Layer
จานวน 4 ชัน้ โดยแต่ละ Layer จะมีการทางานเทียบได้กบั OSI
Model มาตรฐาน
 แต่ละ Layer จะประกอบด้วย
1. Application layer
2. Host-to-Host layer
3. Internet layer
4. Network Interface layer

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)

แต่ละ Layer ของโปรโตคอล TCP/IP จะมีการทางานเทียบได้กบั
OSI Model มาตรฐานได้ดงั นี้
OSI Reference Model
7
TCP/IP
Application
6
Presentation
5
Session
Application
4
Transport
Host-toHost
3
Network
Internet
2
Data Link
1
Physical
Network
Access
FTP, Telnet, Http, SMTP,
SNMP, DSN, Etc.
TCP
ICMP, IGMP
IP
UDP
ARP, RARP
Not specified
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Network Interface Layer
 เป็ น Layer ที่ทาหน้ าที่ในการควบคุม Hardware การรับส่ง
ข้อมูลผ่านเครือข่าย
 เทียบได้กบ
ั Layer ที่ 1 และ 2 ของ OSI Model
 จะทาหน้ าที่ เชื่อมต่อกับ Hardware และควบคุมการรับส่ง
ข้อมูลในระดับ Hardware ของเครือข่าย
 ซึ่งที่ ใช้กน
ั อยู่จะเป็ นมาตรฐานของ IEEE ได้แก่ IEEE 802.3
จะเป็ นการเชื่อมต่อผ่าน LAN แบบ Ethernet LAN หรือ
IEEE 802.5 จะเป็ นการเชื่อมต่อผ่าน LAN แบบ Token
Ring เป็ นต้น
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer
เป็ นชัน้ ที่ทาหน้ าที่เลือกเส้นทางการรับส่งผ่านอุปกรณ์เครือข่าย
ต่างๆจนไปถึงผูร้ บั ข้อมูล ซึ่งทาหน้ าที่คล้ายกับ Layer ที่ 3 ของ
OSI Model คือ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายที่อยู่
ชัน้ ล่างลงไป ได้แก่ โปรโตคอล IP
 ในชัน
้ นี้ มีการทางานสองส่วนที่สาคัญ คือ การหาเส้นทาง
(Routing) และ การกาหนดตาแหน่ งที่อยู่ (Addressing)

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
การเชื่อมโยงอุปกรณ์ของเครือข่ายเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถ
แชร์การใช้อปุ กรณ์ร่วมกันได้ หรือสามารถส่งผ่านข้อมูลไปมา
ระหว่างกันได้ถกู ต้อง
 ต้องการระบุหมายเลขของอุปกรณ์ ทุกชิ้นทุกชนิดในเครือข่าย
เพื่อให้อ้างอิงได้โดยไม่ซา้ กัน
 เพราะถ้าซา้ กันแล้วการรับส่งข้อมูลอาจจะไม่ถึงผูร้ บ
ั ปลายทางได้
อย่างถูกต้อง

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
เลขหมายดังกล่าวเรียกว่า Address หรือเลขหมายประจาตัวที่มี
ข้อกาหนดเป็ นมาตรฐาน
 ซึ่งในการใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เลขหมายที่ระบุ เรียกว่า IP
Address (Internet Protocol Address)

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
IP Address เป็ นค่าตัวเลขขนาด 32 บิต ถูกแบ่งออกเป็ นส่วนละ 8
บิต รวมเป็ น 4 ส่วนและคันแต่
่ ละส่วนด้วยเครื่องหมายจุด (.)
 ดังนัน
้ ค่าตัวเลขในแต่ละส่วนจะมีค่าได้ตงั ้ แต่ 0 ถึง 255 (28)
ตัวอย่างของ IP Address เช่น 202.28.71.159 หรือ 10.0.0.1 เป็ น
ต้น

11001010.00011100. 01000111. 10011111
202 . 28 . 71 . 159
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 โครงสร้างของ IP address แบ่งออกเป็ นสองส่วนใหญ่ ๆ
คือ
 ค่าของหมายเลขเครือข่าย (Network Address) ซึ่งใช้ในการ
บ่งบอกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนัน้ ๆอยู่ในระบบ
เครือข่ายใด
 เครื่องในระบบเครือข่ายเดียว
จะมี Network Address เหมือนกัน
เสมอ เช่น ในเครือข่ายของ มวล จะมี Network Address อยู่ในช่วง
202.28.68.xxx – 202.28.71.xxx
 ค่าของหมายเลขอุปกรณ์ (Host Address) เพื่อใช้เป็ นการบ่งชี้
ว่าเป็ นเครื่องใดในระบบเครือข่ายนัน้ ๆ
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 ตัวอย่างเช่น มีเครือ
่ ง Web Server เชื่อมต่อในเครือข่าย 2
เครือ่ ง โดยแต่ละเครือ่ งมี IP Address ประจาตัวคือ
205.144.78.2 และ 205.144.78.3 ตามลาดับ
 เครือ
่ งทัง้ สองมีค่าของเลขหมายเครือข่ายเหมือนกัน คือ
205.144.78 แสดงว่าเครือ่ งทัง้ สองต่อเชื่อมอยู่ในเครือข่าย
เดียวกัน บนสายสัญญาณที่เชื่อมโยงเส้นเดียวกัน แต่มี
หมายเลขประจาตัวเครือ่ งที่แตกต่างกันคือ 2 และ 3
ตามลาดับ
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 การแบ่งส่วนจะเป็ นไปตามการแบ่งระดับชัน
้ ของเครือข่าย
เรียกว่า Network Class
 เพื่อให้สามารถแจกจ่าย IP Address ให้กบ
ั เครือข่ายต่าง
ๆ ได้อย่างเหมาะสม
 เพราะในแต่ละเครือข่ายมักจะแตกต่างกัน
 บางเครือข่ายก็จะมีจานวนเครื่องลูกข่ายมาก
 บางเครือข่ายมีน้อยแต่มีเครือข่ายย่อย ๆ ในเครือข่ายหลัก
จานวนมาก
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
ถ้าไม่มีการจัดลาดับของเครือข่ายให้ดี IP Address ก็จะถูกใช้งาน
อย่างสิ้นเปลืองและใช้งานไม่เต็มจานวนที่มี
 ลาดับชัน
้ ของเครือข่ายแบ่งออกเป็ น 5 ลาดับ คือ Class A, B, C, D
และ E

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 Class A
net.host.host.host
0-127.0-255.0-255.0-255
เช่น ค่า IP Address ของ Class A เป็ น 121.7.23.3 หมายถึง
เครือข่ายเลขที่ 121 หมายเลขเครือ่ งคือ 7.23.3
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 Class B
net.net.host.host
128-191.0-255.0-255.0-255
เช่น ค่า IP Address ของ Class B เป็ น 137.103.210.2
หมายถึง เครือข่ายเลขที่ 137.103 หมายเลขเครือ่ งคือ
210.2
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 Class C
net.net.net.host
192-223.0-255.0-255.0-255
เช่น ค่า IP Address ของ Class C เป็ น 202.182.255.3
หมายถึง เครือข่ายเลขที่ 202.182.255 หมายเลขเครือ่ งคือ
3
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 Class D เป็ นการกาหนด IP Address สารองไว้สาหรับส่ง
ข้อมูลแบบ Multicast ซึ่งจะไม่มีการแจกจ่ายให้ใช้งาน
ทัวไป
่
 Class E เป็ นการกาหนด IP Address พิเศษที่ ใช้สาหรับ
งานทดสอบและพัฒนา ไม่มีการกาหนดให้ใช้งานทัวไป
่
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
(IPV4) เริ่มไม่สามารถ
รองรับจานวนเครือข่ายและ Host ที่มีเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว
ได้
 โดยเฉพาะเครือข่ายในชัน
้ Class C นัน้ ได้ขาดแคลนแล้ว
 ดังนัน
้ จึงได้มีการออกแบบระบบ IP Address แบบใหม่ที่
คือ IPV6 ซึ่งจะความสามารถในการรองรับการขยาย
ตัวอย่างรวดเร็วได้
 โดยเพิ่มจานวนค่าตัวเลขในแต่ละส่วนจาก 32 บิตไปเป็ น
128 บิต
 ปัจจุบน
ั ระบบ IP address แบบนี้
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Internet Layer (ต่อ)
 การแบ่งส่วนจะเป็ นไปตามการแบ่งระดับชัน
้ ของเครือข่าย
เรียกว่า Network Class
 เพื่อให้สามารถแจกจ่าย IP Address ให้กบ
ั เครือข่ายต่าง
ๆ ได้อย่างเหมาะสม
 เพราะในแต่ละเครือข่ายมักจะแตกต่างกัน
 บางเครือข่ายก็จะมีจานวนเครื่องลูกข่ายมาก
 บางเครือข่ายมีน้อยแต่มีเครือข่ายย่อย ๆ ในเครือข่ายหลัก
จานวนมาก
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Host-to-Host Layer
เป็ น Layer ที่ทาการควบคุมการไหลของข้อมูล
 ควบคุมข้อผิดพลาดในการรับส่งข้อมูล
 ควบคุมการรับส่งจากปลายด้านส่งถึงปลายด้านรับข้อมูล
 และตัดข้อมูลออกเป็ นส่วนย่อยให้เหมาะสมกับเครือข่ายที่ ใช้
รับส่งข้อมูล
 รวมทัง้ ประกอบข้อมูลส่วนย่อย ๆ นี้ เข้าด้วยกันเมื่อถึงปลายทาง
 ทาหน้ าที่คล้ายกับ Layer ที่ 4 ของ OSI Model

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Host-to-Host Layer (ต่อ)

ใน Layer นี้ มี Protocol ที่ใช้งานอยู่สองตัวคือ
TCP (Transport Control Protocol)
 UDP (User Datagram Protocol)


โปรโตคอลทัง้ สองทาหน้ าที่ในลักษณะเดียวกัน แต่จะแตกต่างที่
กระบวนการที่ใช้
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Host-to-Host Layer (ต่อ)

Protocol TCP (Transport Control Protocol)
เป็ นโปรโตคอลที่มีการรับส่งข้อมูลแบบ Stream Oriented Protocol
 หมายความว่า การรับส่งข้อมูลจะไม่คานึ งถึงข้อมูลที่จะส่งไป แต่จะ
แบ่งข้อมูลเป็ นส่วยย่อย ๆ ก่อน และจึงส่งไปยังปลายทางอย่างต่อเนื่ อง
เป็ นลาดับข้อมูล
 ในกรณี ที่ข้อมูลส่วนใดส่วนหนึ่ งหายไป ก็จะส่งข้อมูลส่วนนัน
้ ใหม่อีก
ครัง้
 ปลายทางก็จะทาหน้ าที่จด
ั เรียงส่วนของข้อมูล Datagram ใหม่ให้
ต่อเนื่ องกันและประกอบกันเป็ นข้อมูลทัง้ หมดได้
 เหมาะกับการสื่อสารที่ความถูกต้องของข้อมูลสาคัญกว่าความเร็วใน
การสื่อสาร

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Host-to-Host Layer (ต่อ)

Protocol UDP (User Datagram Protocol)
ไม่ต้องอาศัยการสร้างช่องทางการเชื่อมต่อกัน (Connectionless)
ระหว่างเครื่องเซิรฟ์ เวอร์ที่ให้บริการและเครื่องที่ขอใช้บริการ
 โดยที่ไม่ต้องแจ้งให้ฝ่ายรับข้อมูลเตรียมรับข้อมูลเหมือนโปรโตคอล
TCP
 ไม่มีการตรวจสอบความถูกต้องในการรับส่งข้อมูลนัน
้ ด้วย
 ไม่มีการส่งข้อมูลใหม่อีกในกรณี ที่เกิดความผิดพลาดของการส่งข้อมูล
 Application หรือ Process ใดที่ต้องอาศัยโปรโตคอล UDP ในการ
ส่งผ่านข้อมูลก็อาจจะต้องสร้างขบวนการตรวจสอบข้อมูลขึน้ มาเอง
 เหมาะกับการสื่อสารที่ความเร็วในการสื่อสารสาคัญกว่าความถูกต้อง
ของข้อมูล

IPv6
 IETF (The Internet Engineering Task Force) ได้พฒ
ั นา
อินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุน่ ใหม่ขึน้ คือ รุน่ ที่หก (IPv6) โดย
มีวตั ถุประสงค์ IPv6 เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของตัว
โพรโตคอล ให้รองรับหมายเลขแอดเดรสจานวนมาก และ
ปรับปรุงคุณลักษณะอื่นๆ อีกหลายประการ ทัง้ ในแง่ของ
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชัน่
(application) ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต และเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการประมวลผลแพ็กเก็ต (packet) ให้ดีขึน้
ทาให้สามารถตอบสนองต่อการขยายตัวและความ
ต้องการใช้งานเทคโนโลยีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใน
อนาคตได้เป็ นอย่างดี
IPv6
 ประโยชน์ หลักของ IPv6 คือ จานวน IP address ที่ เพิ่มขึน
้
อย่างมากมายมหาศาล IPv4 address มี 32 บิต ในขณะที่
IPv6 address มี 128 บิต
 ความสาคัญของการมี IP address ที่ ไม่ซา้ กันและสามารถ
เห็นกันได้ทวโลก
ั่
จะช่วยผลักดันการพัฒนา แอพพลิเคชัน่
แบบ peer-to-peer ที่ต้องการ IP address จริงเป็ นจานวน
มาก เช่นการทา file sharing, instant messaging, และ
online gaming แอพพลิเคชันเหล่
่
านี้ มีข้อจากัดภายใต้
IPv4 address เนื่ องจากผูใ้ ช้บางส่วนที่ได้รบั จัดสรร IP
address ผ่าน NAT (Network Address Translation) ไม่มี
IP address จริง จึงไม่สามารถใช้แอพพลิเคชันเหล่
่
านี้ ได้
IPv6
 ส่วนประกอบหลักๆ ของโพรโตคอล IPv6 ได้ถก
ู กาหนดขึน้
เรียบร้อยและออกเป็ น RFC (Request For Comments)
ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1998 ยังคงเหลือในส่วนความสามารถและ
คุณลักษณะปลีกย่อย เช่น การจัดสรรชุดหมายเลข IPv6 การ
ทา multi-homing หรือการทา network management ที่ยงั
ต้องรอการกาหนดมาตรฐาน แต่ในส่วนนี้ ไม่น่าจะทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในฮาร์ดแวร์ หรือ ซอฟท์แวร์มากนัก
ในประเทศไทยยังไม่มีการใช้ IPv6 ในเชิงพาณิชย์ มีแต่ใน
เครือข่ายทดสอบของหน่ วยงานวิจยั และมหาวิทยาลัยต่างๆ
IPv6

หมายเลข IPv6 มี 128 บิต ประกอบไปด้วย กลุ่มตัวเลข 8 กลุ่ม
เขียนขัน้ ด้วยเครื่องหมาย “:” โดยแต่ละกลุ่มคือเลขฐาน 16
จานวน 4 ตัว (16 บิต) เช่น
3fee:085b:1f1f:0000:0000:0000:00a9:1234
0000:0000:0000:0000:0000:0000:0000:0001
fec0:0000:0000:0000:0200:3cff:fec6:172e
2001:0000:0000:34fe:0000:0000:00ff:0321
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Application Layer
เป็ น Layer ที่ทาหน้ าที่เชื่อมต่อกับผูใ้ ช้และผูใ้ ห้บริการต่าง ๆ
 เปรียบเทียบได้กบ
ั Application Layer และ Presentation
Layer ใน OSI Model
 มี Protocol ที่ใช้งานใน Layer นี้ คือ FTP, HTTP, SMTP, DNS,
Telnet, SNMP และ TFTP
 เมื่อผูใ้ ช้ต้องการติดต่อกับ Server ด้วยเรื่องใด โปรแกรมก็จะทา
การเรียกโปรโตคอลที่เหมาะสมมาใช้งาน
 เช่น เมื่อผูใ้ ช้ต้องการทาการ Download File ก็จะมีการเรียกเอา
โปรโตคอล FTP มาใช้

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Application Layer (ต่อ)

Protocol HTTP (Hypertext Transport Protocol)
ถูกกาหนดมาเพื่อใช้สาหรับการส่งข้อมูลจาก Server ไปยัง Client
 โดยที่ข้อมูลที่ทาการส่งไปนัน
้ จะมีหลากหลายรูปแบบ
 ไม่ว่าจะเป็ น Text, Image, Binary หรือ Bit Stream (ข้อมูลประเภท
เสียง และ VDO)

โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Application Layer (ต่อ)

Protocol FTP (File Transfer Protocol)
ถูกกาหนดขึน
้ มาเพื่อใช้ในการรับส่งข้อมูลประเภทแฟ้ มข้อมูล
ระหว่าง Client และ Server
 โดยปกติจะใช้ port ที่ 20 และ 21 เป็ นช่องทางในการสื่อสารที่
ตัว Server
 โดยที่ port ที่ 21 ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ใช้ในการ
ควบคุมการติดต่อ และ port ที่ 20 จะใช้ในการรับส่งข้อมูล
โปรโตคอล TCP/IP และ OSI Model (ต่อ)
Application Layer (ต่อ)

Protocol SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ถูกกาหนดมา
เพื่อใช้ในการควบคุมการรับส่ง Electronic Mail
 Protocol DNS (Domain Name System) ถูกกาหนดมาเพื่อใช้
ในการค้นหาที่อยู่ (IP address) ของ Server ที่ Client
ต้องการติดต่อด้วย
IP Address
เป็ นหมายเลขเครื่ องคอมพิวเตอร์บนระบบเครื อข่าย หน่วยงานกลางที่ทา
หน้าที่จดั สรร คือ InterNIC (Internet Network Information Center)
ปัจจุบนั เป็ นเวอร์ชนั 4 (IPV4) มีท้ งั หมด 32 บิต
 แบ่ งออกเป็ น 4 ชุ ด ชุ ดละ 8 บิต คัน
่ ด้ วยเครื่องหมายจุด นิยมเขียนเป็ น
เลขฐานสิ บ แต่ ละชุ ดจะมีค่าระหว่ าง 0-255
 ตัวอย่าง เช่น

 10.4.1.39 เป็ นหมายเลข IP ของเครื่ อง seashore.buu.ac.th
 10.16.64.24 เป็ นหมายเลข IP ของเครื่ อง www.cs.buu.ac.th
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
IP Address (ต่ อ)

แยก IP Address ออกเป็ น Class เพื่อกาหนดขนาดของเครื อข่าย
<---------------------------------32 bits--------------------------------------->
Class
A 0
Host ID
Network ID
B 1 0
C 1 1 0
D 1 1 1 0
E 1 1 1 1 0
Network ID
1.0.0.0 to
127.255.255.255
Host ID
Network ID
Multicast Address
Reserved for future use
128.0.0.0 to
191.255.255.255
Host ID
192.0.0.0 to
223.255.255.255
224.0.0.0 to
239.255.255.255
240.0.0.0 to
247.255.255.255
39
Class ของ IP Address

แบ่ งได้ 5 Class ด้ วยกัน ทีใ่ ช้ จริงในปัจจุบันมีอยู่ 3 Class คือ Class A, B และ C
Class
First bits
Range of IP
จานวน Network สู งสุ ด
จานวนบิตของ NetworkID
จานวน Host
สู งสุ ด
จานวนบิตของ
HostID
A
0
0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255
128
7
16,777,216
24
B
10
128.0.0.0 ถึง
191.255.255.255
16,384
14
65,536
16
C
110
192.0.0.0 ถึง
223.255.255.255
2,097,152
21
256
8
D
1110
224.0.0.0 ถึง
239.255.255.255
-
-
E
1111
240.0.0.0 ถึง
255.255.255.255
-
-
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
Class ของ IP Address (ต่อ)



Class A เหมาะสาหรับใช้งานในระบบเครื อข่ายขนาดใหญ่มาก มีเครื่ องลูกข่ายได้
ถึง 16.7 ล้านเครื่ อง มีค่าได้ต้ งั แต่ 0 ถึง 127 บิตแรก จะมีค่าเป็ น 0 โดยในการใช้งาน
จริ งหมายเลขเริ่ มต้น และหมายเลขสุ ดท้ายจะไม่ถูกนามาใช้งาน สาหรับหมายเลข
127.0.0.1 เป็ นที่สารองไว้ในการทดสอบการทางานของอุปกรณ์เครื อข่าย ที่เรี ยกว่า
Loopback testing
Class B เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง มีเครื่ องลูกข่ายได้ถึง 65,535 เครื่ อง มีค่า
ได้ต้ งั แต่ 128 ถึง 191 สองบิตแรกมีค่าเป็ น 10
Class C เหมาะสาหรับองค์กรขนาดเล็ก มีเครื่ องลูกข่ายได้ถึง 254 เครื่ อง มีค่าได้
ตั้งแต่ 192 ถึง 223 สามบิตแรกจะมีค่าเป็ น 110
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
Default Subnet Mask

เป็ นค่าที่ใช้สาหรับแบ่งเน็ตเวิร์กออกเป็ นเน็ตเวิร์กย่อย กรณี ที่ตอ้ งการ
จัดสรรหมายเลขไอพี ให้หน่วยงานตามจุด หรื อสาขาต่าง ๆ
Class Net Mask
เลขฐานสิ บ
Net Mask
เลขฐานสอง
A
255.0.0.0
11111111.00000000.00000000.00000000
B
255.255.0.0
11111111. 11111111.00000000.00000000
C
255.255.255.0
11111111. 11111111. 11111111.00000000
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
การแบ่ง Subnet ของ Class C

เนื่องด้วยปั จจุบนั IP Address ที่มีใช้งานส่ วนมากเป็ นคลาส C
เกือบทั้งหมด กล่าวคือเราใช้ 8 บิต ด้านขวาสุ ดของ IP Address
ในการกาหนด Host Address (Host ID) ให้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ดังนั้นการทาการ Subnet ในคลาส C ก็คือการแบ่ง
ข้อมูล 8 บิต ของ Host Address ออกเป็ น Subnet
Address และ Host Address ใหม่นนั่ เอง สรุ ปการแบ่ง
Subnet ของคลาส C ที่นามาใช้งานจริ งได้ 5 แบบ ดังตาราง
ต่อไปนี้
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
การแบ่ ง Subnet ของ Class C
จานวนบิตทีใ่ ช้ Subnet Mask (เลขฐานสิ บ)
เป็ น Subnet
2
255.255.255.192
3
255.255.255.224
4
255.255.255.240
5
6
255.255.255.248
255.255.255.252
Prefix
/26
/27
/28
จานวนเครือข่ าย
ย่ อย (Subnet)
4
8
16
จานวนเครื่องลูก
ข่ าย (Host)
62
30
14
/29
/30
32
64
6
2
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
การแบ่ ง Subnet ของ Class C

ตัวอย่าง สมมติบริ ษทั A ได้ IP Address คลาส C มี Network Address เป็ น
203.146.86 และ Subnet mask 255.255.255.0 แสดงว่า Host ID เป็ น 8 บิต ทั้งนี้
บริ ษทั A สามารถใช้งาน IP Address สาหรับจ่ายให้เครื่ องพีซีต่าง ๆ ได้ต้ งั แต่
203.146.86.1 ถึง 203.146.86.254 สาหรับแจกจ่ายให้พีซี
 203.146.86.0 สงวนไว้ใช้เป็ น NetID
 203.146.86.255 สงวนไว้ใช้เป็ น Broadcast Address




การคานวณจานวนโฮสต์ใช้สูตร 2n – 2
n คือ จานวนบิตของหมายเลขโฮสต์
ดังนั้น จานวนเครื่ องลูกข่าย ของ 203.146.86.0 ในคลาส C หาได้จาก
 28 – 2 = 256 – 2 = 254 เครื่ อง
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
การหาหมายเลขเครือข่ ายเครื่อง A






IP ADDRESS = 203.146.86.1
SUBNET MASK = 255.255.255.0
11001011 . 10010010 . 01010110 . 00000001
11111111 . 11111111 . 11111111 . 00000000
11000000 . 10101000 . 00000001 . 00000000
NETWORK NUMBER = 203.146.86
AND
IP ADDRESS
SUBNET MASK
NETWORK NO.
Classless IP Address



ในการใช้งานไอพีแบบธรรมดา จะเห็นว่าสิ้ นเปลืองไอพีจานวนมาก วิธีแก้คือแบ่ง
ไอพีเป็ นแบบ Classless คือเอาจานวนบิตของ Net ID โดยไม่จาเป็ นต้องใช้เป็ นค่าดี
ฟอลต์ คือ 8, 16, 24 (Class A,B,C) อีกต่อไป โดยเราสามารถแบ่งได้แบบอิสระ เช่น
203.146.86.0/24 เป็ น IP Class C มี Net ID 24 บิต และ Host ID 8 บิต สามารถ
นาไปจ่ ายให้เครื่ องลูกข่ายได้ 254 เครื่ อง ถ้าหากหน่ วยงานที่ ใช้มีสาขาย่อยอยู่
ต่ า งจัง หวัด เราสามารถแบ่ ง ไอพี อ อกเป็ นส่ ว นย่อ ย ๆ เพื่ อ ให้ส าขาต่ า งจัง หวัด
นาไปใช้งานก็สามารถทาได้เช่นกัน เช่น
Network address 203.146.86.0
Subnet mask 255.255.255.192(/26)
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
Classless IP Address

ทาการแปลง Subnet mask เป็ นเลขฐานสองจะได้เป็ น
11111111.11111111.11111111.11000000
 บิตสุ ดท้ายเท่ากับ 2 บิต ที่ใช้ทาเป็ น Subnet เหลืออีก 6 บิตใช้ทา
Host ID (26 – 2 = 62 เครื่ อง)

Subnet
ช่ วงของไอพีที่ใช้ งาน
Boardcast
203.146.86.0
203.146.86.1 to 203.146.86.62
203.146.86.63
203.146.86.64
203.146.86.65 to 203.146.86.126
203.146.86.127
203.146.86.128
203.146.86.129 to 203.146.86.190
203.146.86.191
203.146.86.192
203.146.86.193 to 203.146.86.254
203.146.86.255
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
Private IP Address

เรี ยกกันว่าไอพีปลอม หรื อไอพีภายใน ถูกนามาใช้สาหรับองค์กรที่ไม่ได้
เชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ต ไอพีปลอมนั้นปั จจุบนั ถูกนามาใช้งานในการจ่าย
ให้เครื่ องลูกข่ายในองค์กร เช่น
 ร้านอินเทอร์ เน็ตคาเฟ่
 ทาเป็ นระบบ NAT
ในการจ่ายไอพีให้เครื่ องลูกข่ายในองค์กร
 ใช้ทาระบบ Intranet ใช้งานในองค์กร
Class
A
B
C
Range of IP
10.0.0.0 to 10.255.255.255
172.16.0.0 to 172.31.255.255
192.168.0.0 to 192.168.255.255
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
DNS (Domain Name System)





เป็ นระบบการแปลงชื่อ Host เป็ น IP และแปลง IP เป็ น Host เช่น
www.google.co.th <> 209.85.175.104
การแปลงชื่อ Host เป็ น IP เรี ยกว่า Forward Mapping
การแปลง IP เป็ น Host เรี ยกว่า Reverse Mapping
หน่วยงานที่ดูแลโดเมนเนมสากลคือ InterNIC (www.internic.net)
หน่วยงานที่ดูแลโดเมนสัญชาติไทยคือ THNIC (www.thnic.net)
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
โดเมนเนม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
 2โดเมนเนม
23 ระดั
ระดับ
ระดับบ เช่น se-ed.comคาอธิบาย
 .com
โดเมนเนม 3.co.th
ระดับ เช่น feu.ac.th องค์กรธุรกิจ

.net
.org
.edu
.net.th
.or.th
.ac.th
.gov
.mil
-
.go.th
.mi.th
.in.th
ผูใ้ ห้บริ การด้านเครื อข่าย
หน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกาไร
สถาบันการศึกษา
หน่วยงานราชการ
หน่วยงานทางทหาร
บุคคลทัว่ ไป
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล