ไฟล์สัมมนาการเตรียมความพร้อมฯ

Download Report

Transcript ไฟล์สัมมนาการเตรียมความพร้อมฯ

การเข้าสู่เขตเศรษฐกิจเสรีอาเซียน
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นภเรณู สัจจรักษ์ ธีระฐิติ
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
เนื้อหาการบรรยาย


1. ที่มาของประชาคมอาเซียนและเขตเศรษฐกิจอาเซียน
2. การมุง่ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)

2.1 การบูรณาการด้านเศรษฐกิจ
 2.2 หลักของการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 2.3 ความสาคัญของการพัฒนาที่เท่าเทียมกัน
 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 2.5 ความก้าวหน้าของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
 3.2 ผลกระทบด้านลบ
1. ที่มาของสมาคมอาเซียน
และเขตเศรษฐกิจอาเซียน
1967
• สมาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
• ก่อตั้งขึ้ น ภายใต้ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) โดยมีประเทศสมาชิก
ประกอบด้วย อินโดนี เซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และประเทศไทย
• การขยายประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ บรูไน ดารุซาลาม (1984) เวียดนาม (1995) ลาว
และพม่า (1997) และกัมพูชา (1999)
1984-1997
2015
• ที่ประชุมผูน้ าอาเซียนกาหนดให้ การก่อตั้ง “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community)
ขึ้ นในปี 2015 ซึ่งจะประกอบไปด้วย ประชาคมการเมืองและเศรษฐกิจอาเซ๊ยน (ASEAN
Political-Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN
Socio-Cultural Community)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
2003 ปฏิญญาบาหลี
(Bali Concord II)
ก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ในปี 2020
1997 ASEAN Vision
2020 มุง่ การปรับเปลี่ยน
สมาคมอาเซียนให้เป็ น
ภูมิภาคที่มีการพัฒนาที่เท่า
เทียมกันโดยเร่งการพัฒนา
เศรษฐกิจและลดความ
ยากจน
2006 การประชุมสุด
ยอดรัฐมนตรีเศรษฐกิจ
อาเซียน ตกลงที่จะ
พัฒนา AEC
Blueprint เพื่อ
กาหนดเป้าหมายและ
กรอบเวลาในการ
ดาเนิ นมาตรการต่างๆ
เพื่อสร้างความพร้อมใน
การเป็ นประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
2007 ปฏิญญาเซบู
(Cebu
Declaration)
กาหนดให้เลื่อนการ
ก่อตั้งประชาคม
อาเซียนให้เร็วขึ้ นเป็ นปี
2015 และดาเนิ นการ
ร่างกฎบัตรอาเซียน
(ASEAN
Charter)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1.เป้าประสงค์หลักของ
การบูรณาการด้านเศรษฐกิจ
3. ให้ความสาคัญกับการ
พัฒนาเศรษฐกิจที่เท่าเทียม
กัน ใน CLMV
ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน
4. มาตรการที่เป็ นรูปธรรมในการ
สร้างกระบวนการบูรณาการทาง
เศรษฐกิจ (AEC Blueprint)
2. ให้ความสาคัญกับหลักการเปิ ดกว้าง
(open) มองสู่ภายนอก (outward
looking) ครอบคลุม (inclusive) และ
มุง่ ใช้กลไกตลาด (market-driven
mechanism)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ
EU
NAFTA
GCC
AFTA
MERCOSUR
SACU
CER
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ
 ก่ อนสงครามโลก: แนวคิดในการก่อตัง้
“สหรัฐยุโรป” (United States of
Europe) โดย Victor Hugo
 หลังสงครามโลกครั ง้ ที่ 2: แนวคิดใน
การยุติปัญหาความขัดแย้ งอย่างถาวร
โดยผู้นา 4 ประเทศ และนาไปสูก่ าร
ก่อตัง้ “ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ า
แห่งยุโรป” (European Coal and Steel
Community – 1950)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1950
1957
1973
1979
1981
1993
1995
1997
1999
2000
2002
2004
การก่อตังประชาคมถ่
้
านหินและเหล็กกล้ า (ECSC) (6
ประเทศ)
การขยายตลาดร่วมและการก่อตังประชาคมยุ
้
โรป
(European Community)
การขยายตัวครัง้ แรกของประชาคมยุโรป (9 ประเทศ) และ
การก่อตัง้ European Regional Development Fund
การเลือกตังสภายุ
้
โรป (European Parliament) ครัง้ แรก
การขยายตัวไปสู่ยโุ รปใต้ (12 ประเทศ)
การบูรณาการเป็ นตลาดเดียว (single market) และการ
ก่อตังสหภาพยุ
้
โรป (European Union)
การขยายตัวสู่ยโุ รปเหนือ (15 ประเทศ)
การเปิ ดรับยุโรปตะวันออกและประเทศที่เป็ นอดีตสหภาพ
โซเวียต
การนาเงินยูโรมาใช้ ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็ นครัง้ แรก
การสร้ างฐานเศรษฐกิจสมัยใหม่ภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ ลิสบอน
สกุลเงินยูโรถูกนามาใช้ อย่างเต็มรูปแบบ ในเขต Euro
Zone 12 ประเทศ
การขยายตัวสู่ยโุ รปตะวันออก (25 ประเทศ)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ
ด้านความ
มั ่นคง
• การสร้างสันติภาพอันยั ่งยืน
• NATO, EUROPOL,
EUROJUST
ด้าน
เศรษฐกิจ
ด้านสังคม
• การสร้างฐานทางเศรษฐกิจ
ร่วมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ
แข่งขันและการต่อรอง
• เขตการค้าร่วม เขตการวิจยั
ร่วม เขตการศึกษาร่วม ฯลฯ
• การสร้างสังคมที่มีความเป็ น
อันหนึ่งอันเดียวกัน
(cohesion) แต่รกั ษาไว้ซึ่ง
ความหลากหลายในสังคม
(diversity)
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ
ด้านความ
มั ่นคง
• มาตรการการสร้างความ
เชื่อใจ การทูนเชิงป้องกัน
และแนวทางแก้ไขปั ญหา
ความขัดแย้ง
• ZOPFAN, ASEAN
Regional Forum
ด้าน
เศรษฐกิจ
ด้าน
สังคม
• ผลักดันให้เกิดความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจ
• เขตการค้าเสรี (AFTA) กรอบ
ความตกลงด้านการค้าบริการ
(AFAS) เขตการลงทุนอาเซียน
(AIA) ความร่วมมือเฉพาะ
เช่น เกษตร ป่ าไม้ ทรัพย์สินทาง
ปั ญญา
• ความร่วมมือเฉพาะ
ด้าน
• สังคม การศึกษา
วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.2 หลักการของการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เปิ ดกว้าง
(open)
ใช้กลไกตลาด
มองออกสู่โลกข้างนอก
(marketdriven
mechanism)
(outwardlooking)
ครอบคลุม
(inclusive)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.3 ความสาคัญของการพัฒนาที่เท่าเทียมกัน
ตระหนักถึงความสาคัญของความไม่เท่าเทียมกันระหว่างประเทศกลุม่ CLMV
และประเทศที่เหลือ
• การเร่งบูรณาการความร่วมมือและการพัฒนาเพื่อยกระดับประเทศ CLMV
การใช้มาตรการที่เป็ นรูปธรรมด้านการพัฒนา
•
•
•
•
•
•
•
การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์และการสร้างศักยภาพ
การยอมรับในมาตรฐานวิชาชีพ
การช่วยให้คาปรึกษาทั้งด้านนโยบายการเงิน การคลังและเศรษฐศาสตร์มหภาค
การใช้มาตรการช่วยเหลือด้านการค้า
การช่วยพัฒนาสาธารณูปโภคและการสื่อสาร
การบูรณาการอุตสาหกรรมในภูมิภาคเพื่อสร้างระบบ regional sourcing
การกระตุน้ ให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

•
•
•
•
•
2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี
เคลื่อนย้ายบริการเสรี
เคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี
เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี
เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรี
A. การสร้าง
ตลาดและฐาน
การผลิตร่วม
B. การเพิ่มขีด
ความสามารถใน
การแข่งขันให้
ภูมิภาค
•
•
•
•
•
•
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
นโยบายทรัพย์สินทางปั ญญา
การพัฒนาโครงสร้างพื้ นฐาน
e-ASEAN
2015
• ลดช่องว่างในการพัฒนา
ระหว่างประเทศ CLMV
และประเทศสมาชิกดั้งเดิม
• สนับสนุ นการพัฒนา SMEs
C. การสร้าง
ความเสมอภาค
ในการพัฒนา
เศรษฐกิจ
D. การบูรณา
การให้เข้ากับ
ระบบเศรษฐกิจ
โลก
• การปรับปรุงนโยบานยเศรษฐฏิจ
• การสร้างเครือข่ายการผลิตและ
จาหน่ าย
• การจัดทา FTA กับประเทศนอก
ภูมิภาค
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี (free flow of goods)
การกาหนดมาตรฐานทางเทคนิ ค การ
ประกันคุณภาพและการยอมรับคุณสมบัติ
ซึ่งกันและกันในสาขาต่างๆ (MRAs)
การดาเนิ นมาตรการเอื้ อต่อการค้า
(trade facilitation) เช่น
การบูรณาการกระบวนการด้าน
ศุลกากร และการใช้ ASEAN
Single Window
การสร้างตลาด
เดียวสาหรับสินค้า
และบริการ
การใช้หลักการ Rules of
Origin (ROO)
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
การใช้ AFTA เป็ นเครื่องมือในการยกเลิกกาแพงภาษี
(elimination of tariffs) การพัฒนากรอบการ
ดาเนิ นการลดภาษีในเขตการค้าเสรี (CEPT) และ
มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (non-tariff barriers)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี (free flow of goods)
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
ที่มา:
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี (free flow of goods)
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
ที่มา:
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายบริการเสรี (free flow of services)
การส่งเสริมการเคลื่อนย้ายทุนมนุ ษย์เสรี
โดยผ่านการยอมรับคุณลักษณะวิชาชีพที่
กาหนดไว้ใน MRAs
การสร้างตลาด
เดียวสาหรับสินค้า
และบริการ
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
การเปิ ดเสรีในภาคการเงินเพื่อสร้างเสถียรภาพทาง
การเงินในภูมิภาค (financial service
liberalisation)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายบริการเสรี (free flow of services)

ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS)









ธุรกิจ
บริการวิชาชีพ
การก่อสร้าง
การขนส่งจัดจาหน่าย
การศึกษา
บริการสิ่งแลดล้อม
การคมนาคมขนส่งทางน้ า
การสื่อสาร
การท่องเที่ยว
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การลงทุนเสรี (free flow of investment)
ความร่วมมือภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุน
ร่วม (AIA – 1998)
การพัฒนา ASEAN
Comprehensive Investment
Agreement (ACIA) เข้ามาแทนที่
IGA : มุ่งเน้น
1. การปกป้องการลงทุน
2. การส่งเสริมความร่วมมือ
3. การสร้างจิตสานึ กร่วม
4. การเปิ ดเสรีในการลงทุน
การสร้างความ
ได้เปรียบด้านการ
แข่งขันของ
ภูมิภาค
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
กรอบการส่งเสริมและคุม้ ครองการลงทุน (ASEAN
Investment Guarantee Agreement –
IGA)
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การลงทุนเสรี (free flow of investment)
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
ที่มา:
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี (free flow of skilled labour)
การสนับสนุ นการเคลื่อนย้ายทุนมนษุ ยต์ ้งั แต่
ระดับอุดมศึกษาผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
(ASEAN University Network)
การสร้างความ
ได้เปรียบด้านการ
แข่งขันของ
ภูมิภาค
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
การบูรณาการเรื่องนโยบายคนเข้าเมืองและการ
เคลื่อนย้ายถิ่น
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี (free flow of skilled labour)
ข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) ในคุณสมบัตินักวิชาชีพของอาเซียน
• วิศวกรรม
• การพยาบาล
• สถาปั ตยกรรม
• การสารวจ
• แพทย์
• ทันตแพทย์
• การบัญชี
• การท่องเที่ยว
A. การสร้าง
ตลาดและ
ฐานการผลิต
ร่วม
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

นโยบายการแข่งขัน (competition policy)
การกาหนดนโยบายด้านการแข่งขันทางการค้า
อย่างยุติธรรม และสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ดา้ นการแข่งขันทางการค้า
การสร้าง
วัฒนธรรมการ
แข่งขันอย่าง
ยุตธิ รรม
B. การเพิ่ม
ขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ในภูมิภาค
การส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพใน
ประเทศสมาชิกเพื่อจุดมุง่ หมายในการพัฒนา
นโยบายด้านการแข่งขันที่เป็ นรูปธรรม
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค (consumer protection)
การจัดฝึ กอบรมตัวแทนกลุ่มผูบ้ ริโภคเพื่อให้เกิด
การเตรียมพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
การสร้างเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
การให้ความสาคัญ
กับ มนุษย์เป็ น
ศูนย์กลาง
B. การเพิ่ม
ขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ในภูมิภาค
การตั้งคณะกรรมการในระดับภูมิภาคเพื่อ
ประสานงานในเรื่องการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

สิทธิทรัพย์สินทางปั ญญา (intellectual property rights)
การใช้แผน ASEAN IPR Action Plan
(2004-2010)
การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่ วยงานที่
ดูแลและปราบปรามการละเมิดสิทธิทรัพย์สิน
ทางปั ญญา
เพื่อสร้างและคงไว้
ซึ่งวัฒนธรรมแห่ง
การคิดเชิง
สร้างสรรค์
B. การเพิ่ม
ขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ในภูมิภาค
พัฒนาระบบการเก็บข้อมูลสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ
(filing system for design) และ
ส่งเสริมการแบ่งปั นข้อมูลระหว่างสานัก
ทรัพย์สินทางปั ญญาในประเทศสมาชิก
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การพัฒนาโครงสร้างพื้ นฐาน (infrastructure development)
ความร่วมมือด้านการคมนาคม ผ่านการสร้าง
เครือข่ายการคมนาคมที่สะดวก ปลอดภัยและมี
ประสิทธิภาพ
การพัฒนาความร่วมมือด้านพลังงาน ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดสรรงบประมาณ
สนับสนุ นโครงการสาธารณูปโภคต่างๆ
เพื่อส่งเสริมความ
เป็ นตลาดและ
แหล่งการผลิต
เดียว
การพัฒนาฐานข้อมูลร่วมกันผ่านระบบ
สารสนเทศและเครื่อข่ายที่มีอยูเ่ ดิม
B. การเพิ่ม
ขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ในภูมิภาค
ความร่วมมือด้านการคมนาคมทางน้ าและ
ทางอากาศ
2.การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

นโยบายภาษี (taxation)
การลดกาแพงภาษี และที่ไม่ใช่ภาษี
การเพิ่มความ
คล่องตัวในการ
ผลิตและการค้า
B. การเพิ่ม
ขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ในภูมิภาค
การดาเนิ นการเร่งรัดอนุ สญ
ั ญาภาษี ซอ้ น
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การส่งเสริมพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ (e-ASEAN)
การพัฒนากรอบข้อตกลงเรื่องพาณิชย์
อิเลคทรอนิ กส์ในอาเซียน
การเพิ่มความ
คล่องตัวในการ
ผลิตและการค้า
B. การเพิ่ม
ขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ในภูมิภาค
การดาเนิ นนโยบายเพื่อและสาธารณูปโภคเพื่อ
การพาณิชย์อเลคทรอนิ กส์
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การลดช่องว่างในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การลดช่องว่างของการพัฒนาภายใต้กรอบ
Initiative for ASEAN Integration
(IAI – 2000) ซึ่งมุง่ เน้นด้าน:
1. สาธารณูปโภค
2. การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
4. การสร้างศักยภาพเพื่อการบูรณาการทาง
เศรษฐกิจ
5. การลงทุนด้านการท่องเที่ยว พลังงานและ
การลดปั ญหาความยากจน
การบูรณาการด้าน
การพัฒนาที่เน้น
ความร่วมมือและ
ความเท่าเทียม
C. การสร้าง
ความเสมอ
ภาคในการ
พัฒนา
เศรษฐกิจ
การส่งเสริมให้ประเทศ CLMV ดาเนิ น
นโยบายที่เอื้ อต่อการส่งเสริมความเติบโตทาง
เศรษฐกิจ เพิ่มการลงทุนจากทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศและการสนับสนุ นการลงทุน
จากภาคเอกชน
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME development)
การพัฒนา ส่งเสริมและสร้างความหลากหลาย
ในธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก
การบูรณาการด้าน
การพัฒนาที่เน้น
ความร่วมมือและ
ความเท่าเทียม
วางเป้าหมายให้ SMEs เป็ นตัวจักรสาคัญใน
การพัฒนาเศรษฐกิจผ่านการดาเนิ นนโยบายที่
เหมาะสม
C. การสร้าง
ความเสมอ
ภาคในการ
พัฒนา
เศรษฐกิจ
ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันโดยการเน้นการ
เข้าถึงข้อมูล ตลาด ทรัพยากรมนุ ษย์ เงินทุน
และเทคโนโลยีที่มีอยูใ่ นอาเซียน
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ (coherent economic approach)
การให้ความสาคัญกับข้อตกลงเรื่องเขตการค้า
เสรี (FTAs) และข้อตกลงการเป็ นพันธมิตร
ทางการค้า (CEPs)
การให้อาเซียนเป็ น
ศูนย์กลางในการ
ติดต่อสัมพันธ์กบั
ต่างประเทศ
D. การบูรณา
การเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
การพัฒนาระบบความร่วมมือในเชิงนโยบาย
ด้านต่างๆทางเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดความเป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันในการต่อรองกับประเทศ
ภายนอกอาเซียน
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ (coherent economic approach)
การให้ความสาคัญกับข้อตกลงเรื่องเขตการค้า
เสรี (FTAs) และข้อตกลงการเป็ นพันธมิตร
ทางการค้า (CEPs)
การให้อาเซียนเป็ น
ศูนย์กลางในการ
ติดต่อสัมพันธ์กบั
ต่างประเทศ
D. การบูรณา
การเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
การพัฒนาระบบความร่วมมือในเชิงนโยบาย
ด้านต่างๆทางเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดความเป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันในการต่อรองกับประเทศ
ภายนอกอาเซียน
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

สร้างเครือข่ายการผลิตและจาหน่าย (participation in global supply
network)
การนาเอาวิธีปฏิบตั ิที่ดี (best practices)
และมาตรฐานการผลิตและจาหน่ ายที่ใช้กนั เป็ น
สากลมาปรับใช้กบั อาเซียน
การให้อาเซียนเป็ น
ศูนย์กลางในการ
ติดต่อสัมพันธ์กบั
ต่างประเทศ
D. การบูรณา
การเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
การช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและเทคนิ คต่างๆ
กับประเทศ CLMV เพื่อให้การผลิตและการ
จาหน่ ายสินค้าของประเทศในกลุ่มอาเซียนมี
มาตรฐานที่เชื่อถือได้
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การจัดทา FTA กับประเทศคู่คา้ นอกอาเซียน
D. การบูรณา
การเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
ที่มา:
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. การมุ่งสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2.5 ความก้าวหน้าของการก้าวเข้าสู่ AEC

จนกว่าจะถึง 2558
ที่มา:
ASEAN Economic
Community Scorecard,
ASEAN Secretariat
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
วัตถุดิบราคา
ถูก
วัตถุดิบมี
คุณภาพมากขึ้ น
การ
เคลื่อนย้าย
สินค้าและ
บริการทาได้
สะดวก
1. ภาษีนาเข้าเป็ นศูนย์และอุปสรรคที่ไม่ใช่
ภาษีหมดไป
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
วัตถุดิบราคา
ถูก
ย้ายฐานการ
ผลิตได้ตาม
ความเหมาะสม
แก้ไขปั ญหา
แรงงานไร้
ฝี มือ
2. ฐานการผลิตร่วม
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
มีอานาจการ
ต่อรอง
ตลาดใหญ่ขึ้น
(economy
of scale)
ความร่วมมือ
ในการขนส่ง
และอื่นๆ
3. การเป็ นตลาดเดียว
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
ต้นทุนการ
ผลิตต ่ากว่า
ประเทศนอก
กลุ่ม
ใช้ CLMV เป็ น
ฐานการส่งออก
และใช้สิทธิ
LDCs
อานาจการ
ต่อรอง
4. กิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศคู่คา้
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
ASEAN-Japan
ฐานการผลิตร่วม
และการใช้
ประโยชน์จากการ
สะสมถิ่นกาเนิ ด
สินค้า
ส่งไปแปร
รูปที่
กัมพูชา
ผ้าลวดลาย
ต่างๆจาก
มาเลเซียและ
ฟิ ลิปปิ นส์
ASEAN-Korea
ยางพารา
จาก
ประเทศ
ไทย
ASEAN-China
AEC
ASEANAustralia/New
Zealand
ตัดเย็บที่
เวียดนาม
ASEAN-India
ASEAN-EU
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3.2 ผลกระทบด้านลบ
เกิดคู่แข่งใหม่ใน
อาเซียน
การ
เคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมือ
เพิ่มคู่แข่งนอก
อาเซียน (จาก
+3 และ + 6)