การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็น

Download Report

Transcript การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็น

เอกสารประกอบการนาเสนอ
การบรรยายหลักสูตรการกาหนดและการนาสมรรถนะไปใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล
โครงการศึกษาข้อมูลและพัฒนาองค์ความรูเ้ พื่อรองรับการกาหนดตาแหน่งในส่วนราชการ
5
วัตถุประสงค์ของการอบรม

เพื่อให้เข้าใจคาจากัดความเรื่องความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรับตาแหน่งตามแนวทางที่สานักงาน ก.พ. กาหนด

เพื่อให้เข้าใจแนวทางการกาหนดความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรับตาแหน่ง

ภาคผนวกที่ 1 ตัวอย่างคาอธิบายรายละเอียด ความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และ
สมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง ในส่วนราชการอื่นๆ
6
ผลงานประกอบด้วยปั จจัยหลัก 3 ประการ
 เกณฑ์วด
ั ด้านการเงินและ
กลยุทธ์
ประสิทธิผล
 เกณฑ์วด
ั ด้านลูกค้า
 เกณฑ์วด
ั ด้านกระบวนการและ
ประสิทธิภาพ
 เกณฑ์วด
ั ด้านพัฒนาองค์กร
เป้าหมายตาม
 เป้าหมายของงานที่เชื่อมโยง
เป้าหมายเชิง
วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
กลยุทธ์ ค่านิยม และ
วัฒนธรรมองค์กร
ลักษณะงาน
กับความรับผิดชอบหลักของ
งาน (Main Accountabilities)
ตอบโจทย์หรือผลสัมฤทธิ์
ที่องค์กรคาดหวัง
 เป้าหมายของการพัฒนา
เป้าหมายเชิง
สมรรถนะ
ความรู ้ ทักษะ พฤติกรรมที่
สอดคล้องกับค่านิยมและ
ยุทธศาสตร์ขององค์กร
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็ นผลมาจากความรูค้ วามสามารถ ทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทาให้บุคคลสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร
7
กรอบแนวคิดเรื่องสมรรถนะ (Competencies)
ก.พ. ให้ความหมายว่า คือ คุณลักษณะเชิง
พฤติกรรมที่เป็ นผลมาจากความรู ้ ความสามารถ
ทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทาให้บุคคลสร้าง
ผลงานได้โดดเด่นในองค์การ
คาจากัดความของ
Competencies คุณลักษณะเชิง
พฤติกรรมที่ทาให้บุคลากร
บางกลุ่ม/บางคนในองค์กร
ปฏิบัตงิ านได้ผลงานโดด
เด่นกว่าคนอืน
่ ๆ โดย
บุคลากรเหล่านีแ
้ สดง
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม
ดังกล่าว
• มากกว่าเพื่อนร่วมงานอืน
่ ๆ
• ในสถานการณ์
หลากหลายกว่า และ
• ได้ผลงานดีกว่าผู้อน
ื่
หมายเหตุ: อ้างอิงจากแนวคิดเรื่องสมรรถนะ (Competencies) อ้างอิงจาก Dr. McClelland ซึ่งตีพิมพ์บทความสาคัญชื่อ “Testing for Competence rather than
Intelligence” (American Psychologist 28. 1-14) อันถือเป็ นจุดกาเนิดของแนวคิด Competency
8
ส่วนเหนือน้า
กรอบแนวคิดเรื่องสมรรถนะ (Competencies)
องค์ความรู ้ (Knowledge): ข้อมูลความรูท้ ี่บุคคลมีในสาขาต่างๆ
ทักษะ (Skills): ความเชี่ยวชาญ ชานาญพิเศษในด้านต่างๆ
ระดับน้า
ส่วนใต้นา้
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role): บทบาทที่บุคคล
แสดงออกต่อผูอ้ ื่น
ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image): ความรูส้ ึกนึกคิดเกี่ยวกับ
เอกลักษณ์และคุณค่าของตน
อุปนิสยั (Traits): ความเคยชิน พฤติกรรมซ้ าๆ ในรูปแบบใด
รูปแบบหนึ่ง
แรงผลักดันเบื้ องลึก (Motives): จินตนาการ แนวโน้ม วิธีคิด
วิธีปฏิบตั ิตนอันเป็ นไปโดยธรรมชาติของบุคคล
9
ต้นแบบสมรรถนะของส่วนราชการ
ประเภท
ต้นแบบ
สมรรถนะ
หลัก
ต้นแบบ
สมรรถนะ
ทางการ
บริหาร
ต้นแบบ
สมรรถนะ
เฉพาะตาม
ลักษณะงานที่
ปฏิบัติ
ข้อกาหนดจากสานักงาน ก.พ.

ให้มี ก ารก าหนดพฤติ ก รรมบ่ ง ชี้ หรื อ ตัว อย่า งพฤติ ก รรมของสมรรถนะหลั ก
สมรรถนะทางการบริหาร และสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ เพื่ อ
แสดงสมรรถนะของแต่ละระดับ ตามบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของทุ ก
ตาแหน่ งและทุกระดับตาแหน่ งในส่วนราชการ

การก าหนดพฤติ ก รรมบ่ ง ชี้ หรื อ ตั ว อย่ า งพฤติ ก รรมของสมรรถนะหลัก ให้
ดาเนิ นการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2552

การกาหนดรายละเอียดของความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะเฉพาะ
ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ให้ดาเนิ นการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 กันยายน
2553

เมื่อส่วนราชการดาเนิ นการกาหนดความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่
จาเป็ นสาหรับตาแหน่ งเสร็ จแล้ว ให้เสนอ อ.ก.พ. กรมเพื่อพิจารณาเห็ นชอบ
แล้วรายงานให้ อ.ก.พ. กระทรวง และ ก.พ. ทราบด้วย
10
สมรรถนะหลัก, สมรรถนะทางการบริหาร, และ
(ตัวอย่าง) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงาน
มีร่วมกันใน
กลุ่มงานเดียวกัน
การมองภาพรวม (Conceptual Thinking)
การดาเนินการเชิงรุก (Proactiveness)
การสืบเสาะหาข้อมูล (Information Seeking)
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)
สภาวะผูน้ า (Leadership)
วิสยั ทัศน์ (Visioning)
การวางกลยุทธ์ภาครัฐ
(Strategic Orientation)
บริการที่ดี (Service Mind)
ศักยภาพเพื่อนาการปรับเปลี่ยน
(Change Leadership)
การสั ่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise)
การควบคุมตนเอง (Self Control)
การยึดมั ่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity)
การทางานเป็ นทีม (Teamwork)
มีร่วมกัน
ของข้าราชการพลเรือนไทย
การสอนงานและการมอบหมายงาน
(Coaching and Empowering Others)
กาหนดสาหรับตาแหน่งประเภท
อานวยการและบริหาร
11
มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรับตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ
ความรูค้ วามสามารถ
ความรู ้
ความสามารถที่ใช้
ในการปฏิบตั งิ าน
ความรูเ้ รือ่ ง
กฎหมายและ
กฎระเบียบ
ราชการ
ให้ส่วนราชการระบุความต้องการของ
ข้อมูลความรูค้ วามสามารถที่จาเป็ นในแต่
ละตาแหน่ง/ลักษณะงาน
โดยหมายถึงการรับรูข้ อ้ มูลและจัดเก็บไว้
ในระบบความจา เมื่อมีการเรียนรูแ้ ละการ
จัดการข้อมูลดังกล่าวเข้ากับระบบที่มี
ข้อมูลอื่นจัดเก็บไว้ก่อนแล้ว และมีความ
เข้าใจในการนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้ ว่า
ควรมาใช้อย่างไร ในเวลาใด
ทักษะ
มาตรฐานด้านทักษะที่จาเป็ น
สาหรับตาแหน่ง
ให้ส่วนราชการระบุทกั ษะความเชี่ยวชาญ
ที่ตอ้ งการในแต่ละตาแหน่ง/ลักษณะงาน
โดยหมายความถึงขีดความสามารถที่
จาเป็ นในการปฏิบตั งิ านต่างๆ ที่พฒ
ั นามา
จากการสั ่งสมประสบการณ์และการฝึ กฝน
โดยทักษะจะสะท้อนออกมาจากการ
กระทาของบุคคล ว่าปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ
ได้ดีเพียงใด
สมรรถนะ
สมรรถนะ
หลัก
สมรรถนะ
สมรรถนะ เฉพาะตาม
ทางการ
ลักษณะ
บริหาร
งานที่
ปฏิบตั ิ
ให้ส่วนราชการระบุสมรรถนะที่จาเป็ นใน
แต่ละตาแหน่ง/ลักษณะงาน
โดยหมายความถึงคุณลักษณะเชิง
พฤติกรรมซึ่งทาให้บุคลากรบางกลุ่ม/บาง
คนในองค์กรปฏิบตั งิ านได้ผลงานโดดเด่น
กว่าคนอื่นๆ
12
การประยุกต์กรอบแนวคิดเรื่องสมรรถนะ (Competencies)
กับระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
• ผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลือกสามารถเรียนรูไ้ ด้รวดเร็ว
• มีเหตุผลประกอบการตัดสินใจในการคัดเลือกคนที่ชดั เจน น่าเชื่อถือ
การคัดสรร
• ช่วยลดปั ญหาการว่าจ้างคนที่ไม่
เหมาะสม
• สร้างความชัดเจนในตาแหน่งงาน
การฝึ กฝน
และการ
พัฒนา
การว่าจ้าง
• ช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยในการ
ฝึ กอบรมอย่างไร้ทิศทาง
• เน้นการพัฒนาสมรรถนะที่ช่วยใน
การพัฒนาผลงานมากที่สุด
สมรรถนะ
• หลีกเลี่ยงค่าใช้จา่ ยที่เกิดจากการ
เลื่อนตาแหน่งบุคลากรเกินความ
จาเป็ น
• ระบุและรักษาศักยภาพได้ดีขึ้น
และสร้างแรงจูงใจที่ดีขึ้น อัน
นาไปสู่การพัฒนาผลงาน
การวางแผน
ทางก้าวหน้า
ในสายอาชีพ
การบริหาร
ผลงาน
การให้
ผลตอบแทน
• หลีกเลี่ยงเน้นความสาคัญของบุคคลใน
การสร้างความแตกต่าง
• สร้างความชัดเจนว่าพฤติกรรมแบบใดจะช่วยสร้างความดีความชอบ
ให้เกิดขึ้ นได้ และสร้างแรงจูงใจที่ดีขึ้น อันนาไปสู่การพัฒนาผลงาน
13
การมุ่งผลสัมฤทธิ์
(Achievement Motivation- ACH)
คาจากัดความ: ความมุ่ งมั ่นจะปฏิบตั ิราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้ อาจเป็ นผลการปฏิบตั ิงานที่ผ่านมาของตนเอง
หรื อเกณฑ์วัดผลสัม ฤทธิ์ ที่ ส่ วนราชการกาหนดขึ้ น อี กทั้ง ยัง หมายรวมถึ ง การสร้างสรรค์พัฒ นาผลงานหรื อกระบวนการปฏิ บัติงานตาม
เป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผใู ้ ดสามารถกระทาได้มาก่อน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชดั เจน
ระดับที่ 1: แสดงความพยายามในการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการให้ดี
• พยายามทางานในหน้าที่ให้ถูกต้อง
• พยายามปฏิบต
ั ิงานให้แล้วเสร็จตามกาหนดเวลา
• มานะอดทน ขยันหมัน
่ เพียรในการทางาน
• แสดงออกว่าต้องการทางานให้ได้ดีขน
ึ้ เช่น ถามถึงวิธีการ หรือขอคาแนะนาอย่างกระตือรือร้น
• แสดงความเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนาเมื่อเห็นความสูญเปล่า หรือหย่อนประสิทธิภาพในงาน
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และสามารถทางานได้ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้
• กาหนดมาตรฐาน หรือเป้าหมายในการทางานเพื่อให้ได้ผลงานที่ดี
• ติดตาม และประเมินผลงานของตน โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน
• ทางานได้ตามเป้าหมายที่ผูบ
้ งั คับบัญชากาหนด หรือเป้าหมายของหน่ วยงานที่รบั ผิดชอบ
• มีความละเอียดรอบคอบ เอาใจใส่ ตรวจตราความถูกต้อง เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถปรับปรุงวิธีการทางานเพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้ น
• ปรับปรุงวิธีการที่ทาให้ทางานได้ดีขน
ึ้ เร็วขึ้ น มีคุณภาพดีขนึ้ มีประสิทธิภาพมากขึ้ น หรือทาให้ผรู ้ บั บริการพึงพอใจมากขึ้ น
• เสนอหรือทดลองวิธีการทางานแบบใหม่ที่คาดว่าจะทาให้งานมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสามารถกาหนดเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนาวิธีการทางาน เพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่น หรือแตกต่างอย่างไม่เคยมีใครทาได้มาก่อน
• กาหนดเป้าหมายที่ทา้ ทาย และเป็ นไปได้ยาก เพื่อให้ได้ผลงานที่ดีกว่าเดิมอย่างเห็นได้ชด
ั
• พัฒนาระบบ ขั้นตอน วิธีการทางาน เพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่น หรือแตกต่างไม่เคยมีใครทาได้มาก่อน
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และกล้าตัดสินใจได้ แม้ว่าการตัดสินใจนั้นจะมีความเสี่ยง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
• ตัดสินใจได้ โดยมีการคานวณผลได้ผลเสียอย่างชัดเจน และดาเนิ นการ เพื่อให้ภาครัฐและประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด
• บริหารจัดการและทุ่มเทเวลา ตลอดจนทรัพยากร เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดต่อภารกิจของหน่ วยงานตามที่วางแผนไว้
ข้อมูลจากสานักงาน
14
ตารางแสดงระดับสมรรถนะ
ที่ตอ้ งการในแต่ละตาแหน่งงาน/สายงาน
หมายเหตุ: * 1) ยึดตามต้นแบบสมรรถนะหลักที่ทางสานักงาน ก.พ. กาหนด 2) ยึดตามต้นแบบสมรรถนะทางการบริหารที่ทางสานักงาน ก.พ. กาหนด 3) ความรู้ และทักษะที่ทาง
สานั กงาน ก.พ. บังคับใช้ ให้ยึดระดับตามที่ทางสานั กงาน ก.พ. กาหนด ส่วนความรู้ และทักษะอื่นๆ ที่นอกเหนื อจากที่สานั กงาน ก.พ. บังคับให้ยึดระดับ ตามสมรรถนะเฉพาะตาม
ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ
** ระดับ 3 ที่กาหนดให้ระดับทรงคุณวุฒิจะกาหนดเฉพาะสมรรถนะทางการบริหาร 3 รายการคือวิสยั ทัศน์ การวางกลยุทธ์ภาครัฐและ ศักยภาพเพื่อนาการปรับเปลี่ยน 15
วัตถุประสงค์ของการประชุม

เพื่อให้เข้าใจคาจากัดความเรื่องความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรับตาแหน่งตามแนวทางของสานักงาน ก.พ.

เพื่อให้เข้าใจแนวทางการกาหนดความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรับตาแหน่ง

ภาคผนวกที่ 1ตัวอย่างคาอธิบายรายละเอียด ความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ
ที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง ในส่วนราชการอื่นๆ
16
1
วางแผนงาน
• จัดตั้งคณะทางานและวางแผนการทางานเพื่อนัดหมายเก็บข้อมูล
• ศึกษาข้อมูลและดาเนินการวิเคราะห์งาน (Job Analysis)
Top-Down Approaches
Bottom-Up Approaches
2
เก็บข้อมูล
เก็บข้อมูล
ด้วยวิธี
สัมภาษณ์
ผูบ้ ริหาร
เก็บข้อมูล
จาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ในสาย
วิชาชีพ
เก็บข้อมูล
พันธกิจและ
ยุทธศาสตร์
ของแต่ละ
สานัก/กอง
เก็บข้อมูล
เปรียบเทียบกับ
ตาแหน่ง
ลักษณะ
เดียวกันในส่วน
ราชการอื่น
เก็บข้อมูลผล
การเรียงลาดับ
สมรรถนะ
ความรู ้ และ
ทักษะที่จาเป็ น
เก็บข้อมูลจาก
เรื่องเล่า
ประสบการณ์
จริง
3
วิเคราะห์ขอ้ มูล
• ถอดรหัส (Coding) ข้อมูลประสบการณ์จริง
• วิเคราะห์และสรุปข้อมูลทั้งหมดในแบบฟอร์มที่กาหนดขึ้ น
เลือกตัวที่พบว่าเกิดขึ้ นจากในกระบวนการต่างๆ ถี่มากที่สุด 5 อันดับแรก (Consistency)
4
สังเคราะห์ขอ้ มูล
5
ต้นแบบความรู ้ ทักษะ และสมรรถนะ (พร้อมคาอธิบายรายละเอียดความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ)
17
หลักการของการสร้างต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะและ
สมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง
•
กติกาข้อที่ 1: การกาหนดความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับ
ตาแหน่งจะต้องไม่ซ้ากับสมรรถนะหลักและสมรรถนะทางการบริหาร
•
กติกาที่ 2: จานวนความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง
จะต้องมีจานวนไม่มากเกินไป
•
กติกาข้อที่ 3: ระดับสมรรถนะที่กาหนดต้องไม่ต ่ากว่าระดับสมรรถนะขั้นต ่าตามหนังสือ
สานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 27 ลงวันที่ 29 กันยายน 2552 และ ตามหนังสือ
สานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 7 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553
18
การกาหนดความรู ้ ทักษะ และสมรรถนะเฉพาะลักษณะงาน
Top-Down Approaches
เก็บข้อมูลด้วยวิธี
สัมภาษณ์ผบู ้ ริหาร
เก็บข้อมูลจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาย
วิชาชีพ
(Expert Panel)
เก็บข้อมูลพันธกิจ
และยุทธศาสตร์
ของแต่ละสานัก/
กอง
Bottom-Up Approaches
เก็บข้อมูล
เปรียบเทียบกับ
ตาแหน่งลักษณะ
เดียวกันในส่วน
ราชการอื่น
(Benchmarking)
เก็บข้อมูลผลการ
เรียงลาดับ
- สมรรถนะ
- ความรูท้ ี่จาเป็ น
- ทักษะที่จาเป็ น
เก็บข้อมูลผลการ
ถอดรหัส (Coding)
จากเรื่องเล่า
ประสบการณ์จริง
เลือกตัวที่พบว่าเกิดขึ้ นจากในกระบวนการต่างๆ ถี่มากที่สุด 5 อันดับแรก (Consistency)
19
เอกสารประกอบช่วยจัดเก็บข้อมูล
เอกสาร ส่วนที่ 1:ข้อมูลทัว่ ไป, ส่วนที่ 2:สาหรับสมรรถนะ
ตารางสรุปผลการเก็บข้อมูล
ชื่อตาแหน่ งงาน:
ชื่อสายงาน:
ชื่อหน่ วยงาน (สานัก/กลุ่มงาน/งาน):
รายการสมรรถนะ
การคิดวิเคราะห์
การมองภาพองค์รวม
การใส่ใจและพัฒนาผูอ้ ื่น
การสัง่ การตามอานาจหน้าที่
การสืบเสาะหาข้อมูล
ความเข้าใจผูอ้ ื่น
ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ
การดาเนิ นการเชิงรุก
การตรวจสอบความถูกต้องตาม
กระบวนงาน
ความมัน่ ใจในตนเอง
ความยืดหยุน่ ผ่อนปรน
ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน รวม
ลาดับ
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คะแนน
2
3
4
5
4
18
Rank1
5
2
7
Rank5
4
4
1
2
3
5
3
5
2
5
6
16
1
11
0
15
2
3
1
5
3
1
1
4
1
Rank2
Rank4
Rank3
• กรอกรายละเอียดตัวแทนผูใ้ ห้
ข้อมูลลงในส่วนที่ 1
• ตัวแทนแต่ละรายให้คะแนนใน
แต่ละรายการสมรรถนะ โดย
สมรรถนะที่ให้ความสาคัญที่สุด
จะให้คะแนน 5
• รวมคะแนนในแต่ละรายการ
สมรรถนะ
• เรียงลาดับ (Ranking) ตาม
คะแนนรวมจาก มากที่สุดไป
น้อยที่สุด ตั้งแต่ Rank1, 2, 3,
4, และ 5
o Rank1: มากที่สุด
o Rank5: น้อยที่สุด
• นาผลที่ได้ไปสรุปรวมใน
ตารางสรุปผลการเก็บข้อมูล
แบบ Bottom Up
20
เอกสารประกอบช่วยจัดเก็บข้อมูล (ต่อ)
เอกสาร ส่วนที่ 3:สาหรับความรูฯ้ , ส่วนที่ 4:สาหรับทักษะฯ
รายการความรู้
ความรู้เรื่ องการบริ หาร
ความเสี่ ยง
ความรู้เรื่ องการจัดทา
แผน ยุทธศาสตร์
ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน รวม
ลาดับ
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 ความถี่
X
X
X
3
Rank
3
Rank
2
Rank
ความรูเ้ รื่องการบริหาร
X
1
ทรัพยากรบุคคล
5
ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน ตัวแทน รวม
รายการทักษะ
ลาดับ
Rank
คนที
่
1
คนที
่
2
คนที
่
3
คนที
่
4
คนที
่
5
ความถี
่
X
X
X
X
X
5
ความรู้เรื่ อง PMQA
1
ทักษะการใช้
Rank
X
X
X
3
ความรู้เรื่ องการติดตาม
Rank
4
X
X
2
ภาษาอังกฤษ
4
ประเมินผล
ทักษะในคานวณ
X
X
X
X
4
X
X
X
X
4
ทักษะการเจรจาต่อรอง
ทักษะในการนาเสนอ
X
X
X
X
• ตัวแทนแต่ละรายเลือก
รายการความรูฯ้ /ทักษะฯ ที่
จาเป็ นในการปฏิบตั งิ าน
• รวมความถี่ในแต่ละรายการ
ความรูฯ้ /ทักษะฯ
• เรียงลาดับ (Ranking) ตาม
ความถี่จาก มากที่สุดไปน้อย
ที่สุด ตั้งแต่ Rank1, 2, 3, 4,
และ 5
o Rank1: มากที่สุด
o Rank5: น้อยที่สุด
• นาผลที่ได้ไปสรุปรวมใน
ตารางสรุปผลการเก็บข้อมูล
แบบ Bottom Up
Rank
3
1
X
X
5
Rank
1
21
เอกสารประกอบช่วยจัดเก็บข้อมูล (ต่อ)
เอกสาร ส่วนที่ 5:สาหรับเก็บประสบการณ์จริงในการปฏิบตั ิงาน
เหตุการณ์ที่ ......
ผลลัพธ์ของเหตุการณ์:
ข้าพเจ้าสามารถเก็บรักษาเอกสารลับขององค์กรได้เป็ นอย่างดี
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ น:
เนื่ องจากมีลกู ค้ารายหนึ่ งมาติดต่อขอพบข้าพเจ้าเพื่อขอข้อมูล XXX ซึ่งเป็ นข้อมูล
ลับขององค์กรที่มีความสาคัญมากเป็ นพิเศษ โดยทางลูกค้ามีความต้องการข้อมูลนี้ เพื่อไปดาเนิ น
กิจกรรม YYY เพื่อให้บริษัทของลูกค้ารายนั้นมีความน่ าเชื่อถือมากขึ้ น ซึ่งลูกค้าคนนั้นทั้งพยายาม
อ้อนวอน และขอร้องข้าพเจ้าอยูเ่ ป็ นเวลานานมาก รวมทั้งยังยื่นข้อเสนอให้เป็ นเงินจานวนหลาย
แสนบาท เพื่อแลกกับข้อมูลที่เป็ นเอกสารสาเนาชุดนั้น แต่ขา้ พเจ้าก็ยืนกราน และปฏิเสธอย่าง
ตรงไปตรงมาว่า “ไม่สามารถดาเนิ นการจัดเอกสารสาเนาชุดนั้นให้ได้ เพราะเอกสารนั้ นเป็ น
เอกสารลับที่สาคัญขององค์กร ข้าพเจ้าจึงไม่สามารถให้คุณได้ค่ะ เพราะถ้าข้าพเจ้าให้กบั คุณ ก็ถือ
ว่าข้าพเจ้าไม่มีจรรยาบรรณในวิชาชีพการทางานของตนเอง ข้าพเจ้าต้องขอโทษคุณนะคะที่
ข้าพเจ้าไม่สามารถดาเนิ นการดังกล่าวตามความต้องการของคุณได้ค่ะ” (ING3)
เหตุการณ์นี้จบลงอย่างไร และท่านมีความรูส้ ึกอย่างไร:
ข้าพเจ้าไม่ได้รบั เงินใดๆ ทั้งสิ้ น และไม่รสู ้ ึกเสียดายอะไร แต่กลับมีความรูส้ ึก
ภูมิใจในตนเองที่สามารถรักษาเอกสารลับขององค์กรไว้ได้
• อ่านเรื่องราวประสบการณ์ท้งั หมดที่
ตัวแทนตาแหน่งเขียนขึ้ นเพื่อนาไป
ถอดรหัสความรู ้ ทักษะและสมรรถนะ
• พยายามเก็บเหตุการณ์ สถานการณ์
กระบวนการปฏิบตั งิ าน ความคิด
ความรูส้ ึก คาพูดซึ่งแสดงออกและ
สะท้อนให้เห็นความรู ้ ทักษะและ
สมรรถนะที่ถูกนามาใช้จริง
• พิจารณาความสอดคล้องกับภารกิจหรือ
กิจกรรมในงานของตาแหน่งงาน
• พิจารณาความครบถ้วนของความรูแ้ ละ
ทักษะที่จาเป็ นต้องใช้ในงาน
• พิจารณาความเหมาะสมกับผลสัมฤทธิ์
หลักของสายงานหรือหน่วยงาน
• วิเคราะห์เปรียบเทียบกับพฤติกรรมบ่งชี้
มาตรฐานในหนังสือ ว27/2552
22
กระบวนการสร้างความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะ
เฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ (Unique Competency)
กระบวนการในการคัดเลือกความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั โิ ดยใช้หลักความคงเส้น
คงวา (Consistency) กล่าวคือหากความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ิตวั ใดที่ไม่ว่าจะเก็บหรือวิเคราะห์
ด้วยกระบวนการใดๆ ก็จะปรากฏขึ้ นหรือปรากฎขึ้ นเป็ นส่วนใหญ่ (มากกว่า 2 ชุดข้อมูล) ก็ให้เลือกความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะ
เฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ทิ ้งั หมดดังกล่าวมาเป็ นต้นแบบยกเว้นในกรณีเดียวคือกรณีของสมรรถนะที่สร้างขึ้ นใหม่ (Unique Competency)
Unique Competency สามารถวิเคราะห์หาได้จากแนวทางหลัก ดังนี้
จากการผสมผสาน
นาการคิดวิเคราะห์กบั การมองภาพองค์
รวมมาผสมผสานกันจนเป็ นการวิเคราะห์
และสังเคราะห์ เป็ นต้น กรณีนี้จะเกิดขึ้ น
เมื่อการถอดรหัสเหตุการณ์จริงในการ
ทางานของผูค้ รองตาแหน่งมีการแสดง
พฤติกรรมนี้ ไปพร้อมกัน ไม่สามารถแยก
สมรรถนะทั้งสองออกจากกันได้
จากการปรับลักษณะพฤติกรรมให้
เฉพาะเจาะจงมากขึ้ น
ปรับลักษณะพฤติกรรมหรือทาให้
พฤติกรรมที่ความเฉพาะเจาะจงมากขึ้ น
หรือมีการเปลี่ยนชื่อพฤติกรรมใหม่ให้เป็ น
คาศัพท์ที่คนุ ้ เคยของส่วนราชการ เช่นการ
ปรับความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ
เป็ นความเข้าใจในพื้ นที่ เป็ นต้น กรณีนี้จะ
เกิดขึ้ นเมื่อการถอดรหัสของเหตุการณ์จริง
ของผูท้ ี่แสดงพฤติกรรมนี้ เหมือนจะเป็ น
ความเข้าใจองค์กรแต่เฉพาะเจาะจงใน
การเข้าใจเศรษฐกิจ สังคมหรือ
อุตสาหกรรมในพื้ นที่
จากพฤติกรรมรูปแบบใหม่
เป็ นพฤติกรรมรูปแบบใหม่ เช่น
พฤติกรรมการสืบสวน พฤติกรรมการ
กากับดูแลสมา่ เสมอ เป็ นต้น ในกรณีนี้จะ
เกิดขึ้ นเมื่อการถอดรหัสในเหตุการณ์จริง
ไม่ตรงกับสมรรถนะเฉพาะลักษณะงานที่
ปฏิบตั ใิ น ว27/2552 เลย
23
กระบวนการยืนยันต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะและ
สมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง
กระบวนการโดยสังเขป
เอกสารที่ใช้
• เชิญผูบ้ ริหาร/ผูแ้ ทนหน่วยงานเข้าสัมมนาตรวจสอบร่างต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะ
และสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง
• แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น เพื่อปรับปรุงต้นแบบดังกล่าว
• สือ่ สารสร้างความเข้าใจในบริบทและความหมายที่ถูกต้องเป็ นแนวทางเดียวกัน
• ปรับปรุงต้นแบบให้แล้วเสร็จทันเสนอ อ.ก.พ. กรม/อ.ก.พ. กระทรวงภายในเวลาที่กาหนด
• แบบสอบถามความคิดเห็น
เรื่องต้นแบบ ความรู ้
ความสามารถ ทักษะและ
สมรรถนะเฉพาะตาม
ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ
แบบสอบถามความคิดเห็นเรือ่ งต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ
ชื่อสายงาน__________________________ส่วนราชการ __________________________________
ลาดับที่
ชื่อสายงาน/ตาแหน่ง
งาน
ข้อเสนอตัดลดความรู ้ ทักษะและ
สมรรถนะที่ไม่เห็นด้วยหรือ
ต้องการปรับปรุงเพิ่มเติม
(กรอกลาดับ)
(บอกชื่อตาแหน่ งงานที่จะ
(ระบุความรูค้ วามสามารถ ทักษะหรือ
เปลี่ยนความรูค้ วามสามารถ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่
ทักษะหรือสมรรถนะเฉพาะ ปฏิบตั ิที่ตอ้ งการเปลี่ยน)
ตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ)
เหตุผล
ความรู ้ ทักษะและ
สมรรถนะที่นาเสนอ
แทน หรือเพิ่มเติม
(เหตุผลประกอบ) (ให้เสนอความรู้
ความสามารถ ทักษะหรือ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ
งานที่ปฏิบตั ิอื่นๆ ที่เห็นว่า
เหมาะสม
เหตุผล
(เหตุผลประกอบการ
นาเสนอความรู้
ความสามารถ ทักษะ
หรือสมรรถนะเฉพาะ
ตามลักษณะงานที่
ปฏิบตั ิใหม่)
24
ข้อพึงระวังในการกาหนดต้นแบบความรูค้ วามสามารถ
ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
o
สามารถผนวกกันได้หรือไม่
o
ได้อ่านคาจากัดความแล้วหรือไม่
o
เน้นสมรรถนะเพียงด้านเดียว
หรือไม่
o
ใช่
ไม่ใช่
ใช่
ไม่ใช่
มีความเชื่อมโยงกับลักษณะงาน
หรือเหตุการณ์จริงในการ
ปฏิบตั ิงานหรือไม่
o
ชื่ออ่านเข้าใจยากหรือไม่
o
นาไปใช้สาหรับการประเมินและ
พัฒนาแล้วสะท้อนลักษณะงาน
จริงหรือไม่
ใช่
ไม่ใช่
ใช่
ไม่ใช่
25
กิจกรรมที่ 1 การกาหนดต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะและ
สมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง
• อ่านกรณีศึกษาในเอกสารแนบที่ 1
• เริ่มกรอกแบบสอบถามเพื่อกาหนดต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ งในกลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
(เอกสารแนบที่ 2) ทั้งในส่วนที่ 1-4 ดังนี้
• ส่วนที่ 1 รายละเอียดทัว่ ไปของตาแหน่ ง
• ส่วนที่ 2 การจัดลาดับความสาคัญของสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ ง
• ส่วนที่ 3 การกาหนดความรูค้ วามสามารถและทักษะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ ง
• ส่วนที่ 4 การเล่าประสบการณ์จริง
• เริ่มอภิปรายร่วมกันในกลุ่มพร้อมกับนาข้อมูลที่ได้ดาเนิ นการแล้วมาสรุปต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับ
ตาแหน่ ง (ในเอกสารแนบที่ 3) โดยอาจใช้กระบวนการดังนี้
• การผสมผสาน เช่น นาการคิดวิเคราะห์กบั การมองภาพองค์รวมมาผสมผสานกันจนเป็ นการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เป็ นต้น กรณีนี้
จะเกิดขึ้ นเมื่อในเหตุการณ์จริงในการทางานของผูค้ รองตาแหน่ งมีการแสดงพฤติกรรมนี้ ไปพร้อมกัน ไม่สามารถแยกสมรรถนะทั้งสอง
ออกจากกันได้
• การปรับลักษณะพฤติกรรมหรือทาให้พฤติกรรมที่มีความเฉพาะเจาะจงมากขึ้ นหรือมีการเปลี่ยนชื่อพฤติกรรมใหม่ให้เป็ น
คาศัพท์ที่คนุ ้ เคยของส่วนราชการ เช่น การปรับความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ เป็ นความเข้าใจในพื้ นที่ เป็ นต้น กรณีนี้จะ
เกิดขึ้ นเมื่อการถอดรหัสของเหตุการณ์จริงของผูท้ ี่แสดงพฤติกรรมนี้ เหมือนจะเป็ นความเข้าใจองค์กรแต่เฉพาะเจาะจงในการเข้าใจ
เศรษฐกิจ สังคมหรืออุตสาหกรรมในพื้ นที่
• การสร้างพฤติกรรมรูปแบบใหม่ เช่น พฤติกรรมการสืบสวน พฤติกรรมการกากับดูแลสมา่ เสมอ เป็ นต้น ในกรณีนี้จะเกิดขึ้ นเมื่อ
เหตุการณ์จริงไม่ตรงกับสมรรถนะเฉพาะลักษณะงานใน ว 27/2552 เลย
• กาหนดชื่อต้นแบบความรูค้ วามสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ งให้เข้ากับบริบทของลักษณะงานในส่วนราชการ
26
กิจกรรมที่ 2: การกาหนดคาอธิบายรายละเอียดความรู ้
ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง

กาหนดให้สอดคล้องกับระดับใน ว27/2552 เพื่อให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันทุกส่วนราชการ

ผสมผสาน ปรับแต่ง หรือใช้รายละเอียดที่กาหนดไว้ใน ว27/2552 หรือจากภาคผนวกที่ 1
หรือจากเอกสารที่แนบที่ 4

สาหรับการกาหนดสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ใิ ห้ดาเนินการดังนี้
จัดทาคาจากัดความและระดับ
กาหนดตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยให้เล่าตัวอย่างการปฏิบตั ิงานจริงในส่วนราชการ ซึ่งตรงกับ
ความหมายในระดับที่กาหนดไว้ แล้วนาไปสรุปเพื่อกาหนดเป็ นตัวบ่งชี้ พฤติกรรม
ข้อพึงระวัง การกาหนดระดับจะถูกนาไปใช้ในการประเมิน เพราะฉะนั้นหากไม่ชดั เจน
ไม่เฉพาะเจาะจง หรือต้องตีความ หรือต้องเพิ่มคาอธิบาย อาจถือเป็ นการกาหนดระดับที่ไม่
เหมาะสม
27
กิจกรรมที่ 2: การกาหนดคาอธิบายรายละเอียดความรู ้
ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ง (ต่อ)
อธิบายเพิ่มสาหรับกระบวนการเล่าตัวอย่างในการปฏิบตั งิ านจริง

ให้ทา่ นนึกถึงในการทางานของท่านเองหรือของบุคคลอื่นๆ ที่เป็ นแบบอย่าง (Role
Model) ที่ดีของท่าน ในการแสดงพฤติกรรมตามสมรรถนะหลักต่างๆ จนประสบ
ความสาเร็จในงานภาคราชการพลเรือน โดยโปรดเลือกเหตุการณ์ที่

เกิดขึ้ นจริงในงานภายในภาคราชการพลเรือนหรือหน่ วยงานที่มีบริบทงานใกล้เคียงกัน โดยที่เหตุการณ์น้ันๆ จบสิ้ นลง
แล้ว และผลลัพธ์ของเหตุการณ์ปรากฏแล้ว
มีความเฉพาะเจาะจง สามารถมองเห็นเป็ นพฤติกรรมที่จบั ต้องได้
ท่านจดจารายละเอียดบางส่วนเช่น คาพูด ความคิด ความรูส้ ึก และการกระทา ของตัวท่านเอง หรือของบุคคลนั้นๆ ได้
อย่างชัดเจน (เนื่ องจากต้องใช้อธิบายกรณีที่เห็นระดับไม่ตรงกัน)
ท่านสามารถเขียนเล่าบรรยายพฤติกรรมที่ดีน้ันๆ ได้อย่างชัดเจน ละเอียด และครบถ้วน
ให้ไปกรอกลงในแบบฟอร์มที่ 5
28