ขั้นตอนที่ 3 การค้นหาและการเข้าถึงสารสนเทศ

Download Report

Transcript ขั้นตอนที่ 3 การค้นหาและการเข้าถึงสารสนเทศ

การรู้สารสนเทศ: ขัน้ ตอนที่ 3
การค้นหาสารสนเทศ & การเข้าถึงสารสนเทศ
อ.ศศิพิมล ประพินพงศกร
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ มศว
Tel : 02-2600122 อาคาร 6 ห้อง 631
Contact : [email protected]
Homepage: http://facstaff.swu.ac.th/sasipimol/
ขัน้ ตอนที่ 3 การค้นหาและการเข้าถึงสารสนเทศ
(Location and Access)
 การค้นหาสารสนเทศ / การระบุแหล่ง
สารสนเทศ (Locate sources)
 ค้นหาสารสนเทศภายในแหล่งสารสนเทศนัน้ ๆ
(Find information within sources)
Key point: จะค้นหาสารสนเทศและเข้าถึงสารสนเทศที่
ต้องการจากแหล่งฯ นัน้ ได้อย่างไร เพราะแต่ละแหล่งฯ จะ
มีวธิ กี ารค้นและการเข้าถึงทีแ่ ตกต่างกัน
2
การค้นหาและการเข้าถึงสารสนเทศ
เนื่องจากสารสนเทศทีต่ อ้ งการอาจมีอยูใ่ นทรัพยากร
สารสนเทศ หรือแหล่งฯ ทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น หนังสือ
วารสาร ฐานข้อมูล อินเทอร์เน็ต ฯลฯ และทรัพยากรฯ
เหล่านัน้ ก็มวี ธิ กี ารค้นหาและเข้าถึงทีแ่ ตกต่างกันไป
ดังนัน้ นอกจากทีจ่ ะต้องรูว้ ธิ กี ารค้นหาและเข้าถึงแล้ว
ยังจะต้องรูด้ ว้ ยว่า จะได้สารสนเทศใดจากการใช้เครื่องมือ
อะไรอีกด้วย
3
ดังนัน้ ขัน้ ตอนนี้จงึ ต้องเรียนรู้ (มีทกั ษะ) ในเรือ่ งที่
เกีย่ วข้อง ดังนี้
การกาหนดคาสาคัญ / การใช้คาค้น
(Keyword)
วิธคี น้ / วิธกี ารสืบค้น (มีวธิ ที แ่ี ตกต่างกัน
ขึน้ อยูก่ บั แหล่งทีจ่ ะไปค้น)
- การฝึกใช้โปรแกรมและเครือ่ งมือในการ
สืบค้นทรัพยากรสารสนเทศทีแ่ ตกต่างกัน
 เทคนิคทีใ่ ช้ในการสืบค้น
 การประเมินสารสนเทศทีค่ น้ ได้
 การเข้าถึงตัวเนื้อหา / สารสนเทศ
4
การค้นหาสารสนเทศ
ใช้ Library catalog (OPAC)
- จะต้องใช้คาสาคัญ หรือ หัวเรือ่ งในการค้น
- รูเ้ ทคนิคในการค้น เช่น Advanced search,
Boolean
การสืบค้นผ่านทางอินเทอร์เน็ต
- รูจ้ กั การค้นผ่าน Search engine
- รูจ้ กั ประเมินสารสนเทศจากเว็บไซต์
5
การสืบค้นผ่านฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ
- มีวธิ กี ารใช้และการสืบค้นทีแ่ ตกต่างกัน
การสัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญ / ผูร้ ู้
- รูว้ า่ จะติดต่อกับบุคคลทีต่ อ้ งการได้อย่างไร
- จะนัดสัมภาษณ์เพือ่ พูดคุย ได้ทไ่ี หน และเมือ่ ไหร่
6
การสืบค้นสารสนเทศ
 การสืบค้นสารสนเทศ เป็ นกระบวนการในการแสวงหา
ทรัพยากรสารสนเทศทีไ่ ด้มกี ารบันทึกและเผยแพร่ไว้ในสือ่
ต่างๆ ได้แก่ สือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ โสตทัศน์ และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์
โดยใช้วธิ คี น้ หาในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ให้ได้สารสนเทศที่
เกีย่ วข้องกับเรือ่ งทีต่ อ้ งการ
 เทคนิคในการสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง วิธก
ี ารค้นเพือ่ ให้
ได้สารสนเทศตามวัตถุประสงค์อย่างรวดเร็ว ครบถ้วน และ
ตรงต่อความต้องการ
7
การสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ แบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. Known item search ผูค้ น้ ทราบรายละเอียดบางส่วน
ของทรัพยากรสารสนเทศทีต่ อ้ งการค้น หรือการค้นแบบ
พืน้ ฐาน (Basic search) เช่น รูช้ อ่ื ผูแ้ ต่ง ชือ่ หนังสือ
2. Unknown item search ผูค้ น้ ไม่ทราบรายละเอียดของ
ทรัพยากรสารสนเทศทีต่ อ้ งการค้น จึงต้องคิดคาค้นขึน้ มา
การค้นแบบนี้เป็ นการค้นแบบขัน้ สูง (Advanced search)
8
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
เทคนิคสาคัญทีใ่ ช้ในการสืบค้นสารสนเทศ
มี 2 ประการ
1. การกาหนดคาค้น
2. เทคนิคการค้น
9
การกาหนดคาค้น
คาค้น
หมายถึง คาทีผ่ ใู้ ช้กาหนดขึน้ แทนเนื้อหาหรือสาระที่
ต้องการเพือ่ ใช้ในการค้นหาสารสนเทศ
คาค้นทีใ่ ช้ในการค้นสารสนเทศ โดยทัวไปแบ่
่
งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. คาศัพท์แบบควบคุม (Controlled vocabularies)
2. คาศัพท์แบบไม่ควบคุม (Uncontrolled vocabularies)
10
1. คาศัพท์แบบควบคุม
 คา กลุ่มคา หรือวลีทถ
่ี กู กาหนดขึน้ อย่างมีระเบียบ
กฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัด เพือ่ ใช้เป็ นคาทีเ่ กีย่ วข้องกับ
เนื้อหาสาระของทรัพยากรสารสนเทศ
• คาศัพท์แบบควบคุมในลักษณะนี้ ได้แก่
– หัวเรื่อง (Subject heading)
– อรรถาภิธาน (Thesaurus)
11
หัวเรื่อง
(Subject heading)
คา กลุ่มคา หรือวลี ทีก่ าหนดขึน้
ใช้ตามความหมายทีแ่ น่นอนเพื่อ
บอกเนื้อหาสาระสาคัญของ
สารสนเทศทีม่ เี นื้อหาอย่าง
เดียวกัน
 คาหรือวลีทใ่ี ช้เป็ นหัวเรื่องมัก
เป็ นคาทีส่ นั ้ ชัดเจน และ
เฉพาะเจาะจง สามารถ
ครอบคลุมเนื้อหาสารสนเทศนัน้
ได้

12
ลักษณะโดยทัวไปของหั
่
วเรื่อง
มักเป็ นคานามคาเดียว
ข้าว Law
2. ถ้ามีคานามสองคาขึน
้ ไป
กฎหมายกับสังคม
จะเชื่อมด้วยสันธาน
Body and mind
“กับ” “และ” “and”
3. ถ้าเป็ นกลุ่มคาหรือวลีจะเชื่อมด้วยบุพบท หรือ มีการใช้
วงเล็บสาหรับกลุ่มคาที่ขึน้ ต้นด้วยคาซา้ กัน
การสื่อสารทางธุรกิจ การปรุงอาหาร (ข้าว)
การปรุงอาหาร (ผัก)
1.
13
หัวเรื่องย่อย
เพือ่ กาหนดขอบเขตหรือ
ความหมายให้
เฉพาะเจาะจงของหัวเรือ่ ง
ใหญ่ให้มากยิง่ ขึน้ โดยใช้
เครือ่ งหมาย (- -)
คันกลาง
่
ตัวอย่าง หัวเรื่อง
โทรทัศน์
โทรทัศน์ กบั เด็ก
โทรทัศน์ กบั วัยรุ่น
โทรทัศน์ เพื่อการศึกษา
ไทย
- - กวีนิพนธ์
- - การค้า
- - กัมพูชา
- - จีน
- - การเมืองการปกครอง
14
2. คาศัพท์แบบไม่ควบคุม


เป็ นภาษาธรรมชาติ (Natural language) ได้แก่
คา (Words) กลุ่มคา (Terms) และวลี (Phases)
ทีพ่ บหรือรูจ้ กั กันทัวไปและปรากฏอยู
่
ใ่ นเนื้อหาของ
ทรัพยากรสารสนเทศ เช่นจาก ชือ่ เรือ่ ง สาระสังเขป
คาศัพท์แบบไม่ควบคุมในลักษณะนี้ ได้แก่
คาสาคัญ (Keyword)
15
คาสาคัญ (Keyword)
 คาหรือวลีทเ่ี ป็ นศัพท์อสิ ระ อาจเป็ นคาทีป
่ รากฏในส่วน
ของชือ่ ผูแ้ ต่ง ชือ่ เรือ่ ง ชือ่ บทความ สาระสังเขป เนื้อหา
หมายเหตุ ชือ่ ชุด เป็ นต้น
16
การกาหนดคาค้น
การวิเคราะห์ปญั หา คาถาม หรือเรือ่ งทีต่ อ้ งการค้นหาว่ามี
ประเด็นหลัก (Concepts) และประเด็นทีเ่ กีย่ วข้อง
(Aspects) อะไรบ้าง
 ประเด็นหลัก จะได้คาค้นทีเ่ ป็ นคาสาคัญ
 ประเด็นที่เกี่ยวข้อง จะได้คาช่วยให้จากัด
ขอบเขตของข้อมูลให้แคบลงหรือตรงประเด็น
มากทีส่ ดุ เช่น สถานที่ เวลา
17
วิธีกาหนดคาค้น ทาอย่างไร?
1. ลองเขียนประโยค 1-2 ประโยคทีอ่ ธิบายเกีย่ วกับ
เรือ่ ง หรือสิง่ ทีเ่ ราต้องการหา
2. ขีดเส้นใต้ หรือดึงคาทีค่ ดิ ว่าเป็ นคาเฉพาะ หรือคา
สาคัญทีอ่ ธิบายถึงเรือ่ งทีเ่ ราต้องการออกมา
3. List คาเหล่านัน้ ออกมา แล้วหาความหมายของคาที่
ใกล้เคียงหรือเกีย่ วข้องกับคาเหล่านัน้ ในแง่มมุ ต่อไปนี้
18
วิธีกาหนดคาค้น ทาอย่างไร?
- คาทีม่ คี วามหมายเหมือนกัน / เกีย่ วข้องกัน
- คาทีม่ คี วามหมายกว้างกว่า
- คาทีม่ คี วามหมายแคบกว่า
- ลองสะกดคาแบบอื่น (ถ้ามี)
- หากสิง่ ทีต่ อ้ งการค้นหาเกีย่ วกับเหตุการณ์ ให้
นึกถึงว่า เหตุการณ์นนั ้ เกิดขึน้ เมือ่ ใด ทีไ่ หน
19
ปัญหาการติดเอดส์ของผูส้ งู อายุในประเทศ
ไทย
ไทย
เอดส์
ผูส้ งู อายุ
20
เอดส์
เหมือน / เกี่ยวข้อง
โรคเอดส์
กลุ่มอาการภูมิค้มุ กันเสื่อม
เอชไอวี
HIV
AIDS
กว้างกว่า
พฤกษศาสตร์
พืช
21
ผูส้ งู อายุ
เหมือน / เกี่ยวข้อง
คนชรา
คนแก่
วัยชรา
HIV
AIDS
กว้างกว่า
วัยผูใ้ หญ่
22
สมุนไพรรักษาโรคได้อย่างไร
สมุนไพร
การรักษา
23
สมุนไพร
เหมือน / เกี่ยวข้อง
เครื่ องยาจากพืช
พฤกษศาสตร์การแพทย์
อุตสาหกรรมยาจากพืช
กว้างกว่า
แคบกว่า
ขมิน้ ชัน
ฟ้าทลายโจร
สะเดา
ผักแว่น
ฯลฯ
โรคเกิดจากไวรัส
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
24
ตัวอย่าง การกาหนดคาสาคัญจากชื่อเรื่องของหนังสือ
ชื่อเรื่อง:
บทบาทในการสอนการรู้สารสนเทศของครู
บรรณารักษ์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร
คาสาคัญ: การรู้สารสนเทศ
ครูบรรณารักษ์
25
ตัวอย่างการกาหนดคาค้น
ต้องการข้อมูลสาเหตุการติดยาเสพติดของนักเรียน นักศึกษา
ในจังหวัดเชียงใหม่
ประเด็นหลัก
ยาเสพติด นักเรียน นักศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
เชียงใหม่
คาค้น ยาเสพติด สารเสพติด ยาบ้า
นักเรียน นักศึกษา เยาวชน วัยรุ่น
เชียงใหม่
26
ตัวอย่าง Keyword และ Subject
คาค้นทัว่ ไป
e-commerce, online commerce,
online business, การค้าทาง
อิเล็กทรอนิกส์, อีคอมเมิร์ส
AIDS, เอดส์, เอชไอวี
หมู หมา
หัวเรื่ องที่หอ้ งสมุดกาหนด
electronic commerce
พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
กลุ่มอาการภูมิคุม้ กันเสื่ อม
Acquired Immunodeficiency
Syndrome
สุ กร สุ นขั
27
จะหาหนังสือชื่อว่า คู่มอื คนรักหมา

สุนัข -- การเลี้ยง.
สุนัข -- โรค.

ข้อมูลพืน้ ฐานในการจัดการ E-Commerce สาหรับ
พ่อค้าแม่ขายยุคดอทคอม
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

28
เทคนิคการค้นที่ใช้กนั โดยทัวไป
่
1.
2.
3.
4.
5.
การค้นจากเขตข้อมูลที่ฐานข้อมูลกาหนด
การใช้ตรรกแบบบูล (Boolean logic)
การตัดปลายคาและการแทนคา (Truncation /
Wildcard)
การใช้เครือ่ งหมายวงเล็บ (Nesting)
การใช้เครือ่ งหมาย “…………….”
29
2. การค้นจากเขตข้อมูลต่างๆ (Fields)

ใช้เพือ่ จากัดผลการค้น เช่น ค้นจากเขตข้อมูลชือ่
ผูแ้ ต่ง ชือ่ หนังสือ หัวเรือ่ ง คาสาคัญ ฯลฯ
30
2. การใช้ตรรกแบบบูล (Boolean logic)
AND
OR
+
มีคาทัง้ หมดอยูด่ ว้ ยกัน
(เว้นวรรค)
มีคาใดคาหนึ่ง หรือมีทงั ้ สองคาก็ได้
NOT
-
คาทีไ่ ม่ตอ้ งการ
31
คอมพิวเตอร์
AND OR NOT XOR
การศึกษา
32
AND
คอมพิวเตอร์
การศึกษา
OR
NOT
33
คาเชื่อม
ที่ใช้
ผลการสืบค้น
จานวน
รายการที่ได้
AND ทัง้ คอมพิวเตอร์และการศึกษา
43 titles
NOT เฉพาะเรื่องคอมพิวเตอร์ ไม่มีเรื่อง
574 titles
OR
3910 titles
การศึกษา
คอมพิวเตอร์หรือการศึกษา หรือทัง้
2 เรื่อง
34
3. การตัดปลายคาและการแทนคา
(Truncation/Wildcard)
 เป็ นการใช้คาค้นคาเดียวแทนคาอื่นทุกคาทีม
่ รี ากศัพท์
เดียวกัน เป็ นการรวบรวมคาทีม่ กี ารสะกดคาทีใ่ กล้เคียงกัน
หรือเหมือนกัน หรือกรณีทเ่ี ป็ นคาเอกพจน์และพหูพจน์
 ใช้อก
ั ขระตัวแทน (Wildcard) ซึง่ เป็ นสัญลักษณ์ เช่น * #
? ! $ เป็ นต้น เช่น
child* จะค้น child, children, childhood, childish
ban* จะค้น ban, banana, band, bandage, bandit, bank, banner
educat* จะค้น education, educational, educator
35
*
econom* จะค้น "economy", "economics", economical“
librar* จะค้น “library”, “libraries”, “librarian”, “librarians”
?
(การใช้อกั ขระแทนคา)
"wom?n" will find "woman" and "women"
36
4. การใช้เครื่องหมายวงเล็บ (Nesting / Parentheses)
ใช้เพือ่ จับกลุม่ คาในแต่ละส่วน เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีต่ อ้ งการ
 ใช้รว่ มกับตรรกแบบบูล เพือ
่ แบ่งคาสังออกเป็
่
นส่วนๆ
สาหรับการค้นแบบ Advanced search)

(television or mass media) and children
ต้องการเรือ่ งเกีย่ วกับสือ่ โทรทัศน์กบั เด็ก
และสือ่ มวลชนกับเด็ก
37
5. การใช้เครื่องหมาย “…………………”

ใช้คน้ ในกรณีทต่ี อ้ งการให้คาสองคาอยูต่ ดิ กัน เช่น
“Adult education”
“เว็บไซต์ห้องสมุด”
“ห้องสมุดดิจิทลั ”
38
ตัวอย่างการค้น
 (ผูห
้ ญิง OR สตรี) AND สุขภาพ
= ผูห้ ญิง AND สุขภาพ
และ สตรี AND สุขภาพ
 (Kidney disease AND children) NOT infant
39
ตัวอย่างการค้นแบบขัน้ สูง :
E-publications AND libraries NOT e-books
(E-pub* OR Digital pub* OR E-Journals) AND
(Libraries or “Information Centers” or “Reading
Centers”) NOT E-books
40
สิ่งที่พบบ่อยจากการสืบค้น
1.
2.
3.
ได้ผลการสืบค้นมากไป
ได้ผลการสืบค้นน้ อยไป
ได้ผลลัพธ์ไม่ถกู ต้อง
41
ข้อควรพิจารณา / ปรับการค้นใหม่
1. กรณี ผลการสืบค้นมากไป
2. กรณี ผลการสืบค้นน้ อยไป
3. ได้ผลลัพธ์ไม่ถกู ต้อง
• ให้ดวู า่ ได้ใช้คาค้นเป็ นคา
ทีก่ ว้างไปหรือไม่
• ใช้คาค้นเพิม่ ให้
เฉพาะเจาะจงยิง่ ขึน้
• ไม่ควรใช้วลีในการค้น
42
การแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้น
1. กรณี ผลการสืบค้นมากไป
2. กรณี ผลการสืบค้นน้ อยไป
3. ได้ผลลัพธ์ไม่ถกู ต้อง
• ปรับเปลีย่ นคาค้นให้ม ี
ความหมายกว้างขึน้
เหมือน ใกล้เคียงกัน หรือ
อาจใช้การตัดคา
43
การแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้น
1. กรณี ผลการสืบค้นมากไป
2. กรณี ผลการสืบค้นน้ อยไป
3. ได้ผลลัพธ์ไม่ถกู ต้อง
• สะกดคาค้นถูกต้อง
หรือไม่
• ตรวจสอบดูวา่
ฐานข้อมูลทีค่ น้ นัน้
ครอบคลุมเรือ่ งทีเ่ รา
ต้องการหรือไม่
• ฝึกฝนการใช้หวั เรือ่ ง
และคาสาคัญ
44
การค้นหาสารสนเทศ
สืบค้นผ่าน Library catalog (OPAC)
 SWU OPAC
 CU OPAC
 รวม OPAC มหาวิทยาลัยอื่นๆ
45
เทคนิคการสืบค้น OPAC โดยทัวไป
่
การสืบค้นแบบเรียงตามลาดับอักษร (Alphabetical
search)
• สามารถพิมพ์ได้ทงั ้ ตัวใหญ่ ตัวเล็ก B b
• ไม่ตอ้ งพิมพ์ article นาหน้า เช่น A An The
• ไม่จาเป็ นต้องพิมพ์ทงั ้ หมด เช่น
คูม่ อื การใช้เครือ่ งมือใน . . .
46
การสืบค้นด้วยผูแ้ ต่ง (Author)
คนไทยที่เป็ นสามัญ
ชน
พิมพ์ดว้ ยชือ่ ต้น
นามสกุล ตามลาดับ
ไม่ใส่คานาหน้าชือ่ เช่น นาย นางสาว ดร. ศาสตราจารย์ ผูช้ ว่ ย
ศาสตราจารย์ พ.ต.ต. นพ. พญ. ฯลฯ
ผูแ้ ต่งทีใ่ ช้นามแฝง
ทมยันตี
สาทิส อินทรกาแหง
ศาสตราจารย์ ดร. สุดใจ เหล่าสุนทร
สุดใจ เหล่าสุนทร
47
ชาวต่างประเทศ
• ชาวตะวันตก พิมพ์ ชือ่ สกุล, ชือ่ ต้นและชือ่ กลาง
แดน, ปี เตอร์ เอส
คุโรยานางิ, เท็ตสึโกะ
Rowling, J.K.
48
พระมหากษัตริย์ เชื้อพระ
วงศ์
ผูม้ ีบรรดาศักด์ ิ ต่างๆ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั , พระบาทสมเด็จพระ
คึกฤทธ์ ิ ปราโมช, ม.ร.ว.
ธรรมศักด์ ิ มนตรี, เจ้าพระยา
วิจิตรวาทการ, หลวง
49
ผูแ้ ต่งที่เป็ นนิติบคุ คล เช่น หน่ วยงานที่
เป็ นองค์กร กระทรวง กรม ต่างๆ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กรมการค้าภายใน
กระทรวงคมนาคม
การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย
50
เทคนิคการสืบค้น OPAC โดยทัวไป
่
การสืบค้นโดยใช้คาสาคัญ (Keyword
search)
การสืบค้นขัน้ สูง (Boolean search)
51
Author keyword
Dan
 Peterson, Dan
 Guy, Dan M
 Dan, Jean
52
Author keyword
มาลัย
 สุเทพ ชูมาลัยวงศ์
 มาลัย ชูพิจนิจ
 ครรชิต มาลัยวงศ์
53
Title keyword
อินเทอร์เน็ต
 เปิดโลกอินเทอร์เน็ต
 อินเทอร์เน็ตสาหรับผูเ้ ริ่มต้น
 เรียนอินเทอร์เน็ตผ่าน WWW
54
Subject keyword
โรงเรียน
 โรงเรียนประถมศึกษา
 ผูบ
้ ริหารโรงเรียน
 โรงเรียน - - การบริหาร
55
ค้นหาสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต
รูจ้ กั การค้นผ่าน Search engine เช่น
Google, yahoo, Metacrawler เป็ นต้น
 รูจ้ กั ประเมินสารสนเทศจากเว็บไซต์
56
การประเมินสารสนเทศ คือ อะไร
ขัน้ ตอนการประเมินเพือ่ คัดเลือกสารสนเทศทีเ่ ราได้จาก
การสืบ ค้ น จากแหล่ ง ต่ า งๆ เพื่อ ตรวจสอบความส าคัญ
และคุณค่าของสารสนเทศว่าตรงตามความต้องการของเรา
หรือไม่ เช่น เนื้อหาล้าสมัยหรือไม่ มีความน่าเชื่อถือในทาง
วิชาการมากน้ อยเพียงใด เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ม ี คุณค่า
และนาไปใช้งานได้อย่างแท้จริง
57
ทาไมจึงต้ องประเมินสารสนเทศ?
เพราะในการสืบค้นสารสนเทศอาจได้ผลลัพธ์ทไ่ี ม่ ตรง
กับความต้องการ และไม่มคี วามน่าเชื่อถือ ซึง่ สารสนเทศนี้
จะนาไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ จึงควรประเมินสารสนเทศเพื่อ
คัด เลือ กสารสนเทศที่ส อดคล้อ งกับ ความต้ อ งการและ
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
58
เกณฑ์ การประเมินสารสนเทศ (Criteria)
สิ่งที่ควรพิจารณา :
1.
2.
3.
4.
5.
ความเกี่ยวข้อง (Relevance)
ความถูกต้อง (Accuracy)
ความน่ าเชื่อถือ (Authority)
ความทันสมัย (Currency)
ความครอบคลุม (Coverage)
59
1. ความเกี่ยวข้อง (Relevance)

ตรงกับหัวข้อ หรื อประเด็นที่ตอ้ งการหรื อไม่
ซึ่งอาจพิจารณาได้จาก
- ชือ่ เรือ่ ง
- หัวเรือ่ ง
- คาสาคัญ
60
2. ความถูกต้อง (Accuracy)

เนื้อหาของสารสนเทศมีความถูกต้องหรือไม่
 การนาเสนอในลักษณะเป็ นข้อเท็จจริงหรือความ
คิดเห็น มีความเป็ นกลาง หรือไม่
 มีโฆษณาทีเ่ กีย่ วข้องกับเนื้อหาบนเว็บไซต์หรือไม่
หากมีอาจทาให้สารสนเทศมีความลาเอียงได้
 มีหลักฐานอ้างอิงหรือไม่ ดูได้จากการเขียนอ้างอิง
หรือบรรณานุกรม
61
3. ความน่ าเชื่อถือ (Authority)

เป็ นการพิจารณาว่าผูจ้ ดั ทาหรือผูเ้ ขียน มีความน่าเชือ่ ถือ
และ เป็ นทีย่ อมรับในหัวข้อเรือ่ งนัน้ ๆ หรือไม่ เช่น
 ดูจากรายละเอียดเกีย่ วกับผูร้ บ
ั ผิดชอบเว็บไซต์
จากหัวข้อ About us
 ดูจาก URL ทีล่ งท้ายด้วย .edu, .ac, .org, .gov, .go.th
ทีเ่ ป็ นหน่วยงานของรัฐ หรือสถาบันการศึกษา ซึง่ จะมีความ
น่าเชือ่ ถือมากกว่าเว็บไซต์ทเ่ี กีย่ วข้องกับธุรกิจ เช่น .com,
.biz ตลอดจนมีทอ่ี ยูห่ รือเบอร์โทรศัพท์ทส่ี ามารถติดต่อกลับ
ได้ ฯลฯ
62
4. ความทันสมัย (Currency)
 เป็ นการพิจารณาถึงความทันสมัย หรือการปรับปรุงครัง้ ล่าสุด
เช่น ดูวา่ สารสนเทศนัน้ มีการปรับปรุงล่าสุดเมือ่ ใด สามารถดู
ได้จากวันทีท่ ส่ี ร้าง / แก้ไขปรับปรุงเว็บไซต์ หรือดูจากวัน
เดือนปีของแหล่งทีม่ าทีน่ ามาอ้างอิง
63
5. ความครอบคลุม (Coverage)


ครอบคลุมหัวข้อที่ตอ้ งการมากน้อยเพียงใด
ตรงตามวัตถุประสงค์หรื อไม่ ดูได้จาก
 สารบัญ
ตัวอย่ าง
 คานา
 บทนา
 บทคัดย่อ เป็ นต้น
64
การสืบค้นผ่านฐานข้อมูลออนไลน์ ต่างๆ
(Online databases)
 มีวธิ กี ารใช้และการสืบค้นทีแ่ ตกต่างกัน
65
ฐานข้อมูลออนไลน์ ของต่างประเทศ (ThaiLis)
 ACM Digital Library
 H.W.Wilson
 Proquest
 Web of Science
 Lexis/Nexis
 ScienceDirect
66
 การสัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญ / ผูร้ ู้
 รูว้ ธิ หี าข้อมูลในการติดต่อ และนัดพูดคุยกับ
บุคคลทีต่ อ้ งการ
 รูว้ ธิ ใี ช้เครือ่ งมือทีเ่ หมาะสม เช่น เทป
บันทึกเสียง mp3, Take note
67
การค้นหาสารสนเทศภายในแหล่งฯ นัน้ ๆ
พิจารณาว่าสารสนเทศนัน้ ถูกจัดการอย่างไร
- ดูทด่ี รรชนี
- หน้าสารบัญ
มองหาคาสาคัญ (Keyword) ทีเ่ กีย่ วกับเรื่องที่
ต้องการค้น โดยใช้การ skim & scan
- ใช้ Ctrl F
68
69
70
71
72
บรรณานุกรม
ทักษะการรู้สารสนเทศ. (2548). พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ:
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
The Big 6: Information Literacy. (2008). Retrieved September 24,
2008, from http://www.librarianonfire.com/projects/
informationliteracy/big6_presentation2.htm
73
บรรณานุกรม (ต่อ)
The Big 6 Research Outline. (2008). Retrieved September 24,
2008, from http://hunt.bsdvt.org
/~dpawlusiak/HMSbig6/default.htm
Eisenberg, Mike. (1998, January-February). Big 6 Tips:
Teaching Information Problem Solving: #3 location and access
= think index, keywords and Boolean. Emergency
Librarian. 25. Retrieved October 2, 2008,
from http://vnweb.hwwilsonweb.com/
hww/results/getResults.jhtml?_DARGS=/hww/results/
results_common.jhtml.20#record_7
74
บรรณานุกรม (ต่อ)
- - - - - - - . (2007). What is the Big6? Retrieved September
24, 2008, from http://www.big6.com/what-is-the-big6/
Samuels, Holly. (2004). The Big 6 Skills. Retrieved September 24,
2008, from http://www.crlsresearchguide.org
/Big_Six_Steps.asp
75
76
แบบฝึ กหัดขัน้ ตอนที่ 3
- ฝึ กเลือกคาค้น
- ฝึ กการสืบค้น
77