เฉพาะกรณีเกี่ยวกับรายวิชาที่เรียนเท่านั้น

Download Report

Transcript เฉพาะกรณีเกี่ยวกับรายวิชาที่เรียนเท่านั้น

อาจารย์ วรพจน์ พรหมจักร
ติดต่อที่ ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ
คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เบอร์โทรศัพท์ 0872354434
(เฉพาะกรณีเกี่ยวกับรายวิชาที่เรียนเท่านั้น)
อีเมล์ [email protected]
หรือ shypoj.wordpress.com
หรือ LERT Information Science RERU
GEL1103
สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า
Information and Education
บทที่ 2
การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
อ.วรพจน์ พรหมจักร
วัตถุประสงค์

ผูเ้ รียนเข้าใจและสามารถกาหนดความต้องการ
สารสนเทศได้
 ผูเ้ รียนสามารถเข้าใจและกาหนดคุณลักษณะของ
ข้อมูลที่ตอ้ งการได้
 ผูเ้ รียนสามารถวางแผนการค้นหาสารสนเทศได้
ความหมายของความต้องการสารสนเทศ

ความต้องการสารสนเทศ (Information needs)
 คือ การที่เราอยากรู ้ อยากเห็น หรือต้องการหาคาตอบ
หรือข้อเท็จจริง เพื่อตอบสนองความต้องการ ด้าน
ต่างๆ เช่น
 ความต้องการพื้นฐานด้านร่างกายจิตใจ หรืออารมณ์
 ความต้องการหน้าที่การงาน
 ต้องการด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม
ความหมายของความต้องการสารสนเทศ
ความต้องการสารสนเทศ (Information needs)
 ความต้องการสารสนเทศเกิดขึ้นเมื่อ ?
 เมื่อบุคคลอยูใ่ นสถานการณ์ที่ตอ
้ งตัดสินใจ
หรือต้องการหา
คาตอบ ข้อเท็จจริง เพื่อแก้ปัญหาหรือทาความเข้าใจเรื่องใด
เรือ่ งหนึ่ง โดยที่ตนเองยังไม่มีความรู ้ ในเรือ่ งนั้นเพียงพอ
 ความต้องการสารสนเทศแบบรีบด่วน (ต้องการสารสนเทศไป
ใช้ทนั ที) และความต้องการแบบไม่รบี ด่วน (เก็บรวบรวม
สารสนเทศไว้ใช้ในอนาคต)
ความสาคัญของสารสนเทศ
1. ใช้ในการวางแผนการบริหาร
2. ใช้ประกอบการตัดสินใจ
3. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้น
4. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ ลดความ
ซ้ าซ้อน
ฯลฯ
การวิเคราะห์ ความต้ องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ เป็ น
กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการ มี 3
ขั้นตอน คือ
1. ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ
2. ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ
3. กาหนดแหล่งสารสนเทศและประเภทของทรัพยากร
สารสนเทศ เพื่อวางแผนในการค้นหาสารสนเทศ
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
เป็ นการกาหนดความต้องการ โดยพิจารณาจากความ
สนใจส่วนตัว ความสงสัยเกี่ยวกับปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
และการพยายามหาทางแก้ไขให้เกิดความกระจ่างในเรื่อง
นั้นๆ โดยกาหนดความต้องการสารสนเทศออกมาเป็ นมี
ขั้นตอน ดังนี้
1. กาหนดหัวข้อ/ชื่อเรือง (Topic)
2. ขยายแนวคิด/ประเด็น
3. กาหนดขอบเขต
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ
1. กาหนดหัวข้อ/ชื่อเรือง (Topic)
คือการกาหนดเรื่องที่จะทา มีวิธีการ คือ ค้นหาความสนใจ/ความ
ต้องการของตนเองที่มีตอ่ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่ง
ความสนใจ/ความต้องการนั้นยังอาจยังไม่ได้รบั คาตอบหรือไม่ได้รบั คาตอบ
เพียงพอ
เช่น นักศึกษาสนใจเรื่อง “ไอติมผัด” ต้องการทาธุรกิจขายไอติม
ผัด จึงต้องศึกษารายละเอียดและวิธีการผลิตไอติมผัด รวมถึงข้อมูลอื่นๆ
มาประกอบการวางแผนธุรกิจ
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
กาหนดหัวข้อ/ชื่อเรือง (Topic) มีข้นั ตอนดังนี้





กาหนดวัตถุประสงค์ เพื่อ.........
กาหนดหัวข้อ/ชื่อเรื่อง โดยหัวข้อ/ชื่อเรื่อง มาจาก ปั ญหา เรื่องราวที่
ต้องการแก้ไขหรือต้องการคาตอบ
ทาความเข้าใจกับปั ญหา หรือ เรื่องราวนั้นๆ ในเรื่อง สาเหตุ/ความ
เป็ นมา ความสาคัญ/ความจาเป็ น มีผลต่อชีวิตประจาวันอย่างไร ทาไมจึง
ต้องการคาตอบ ฯลฯ โดยวิธีการครุน่ คิด หรือ อภิปรายกลุ่ม
ค้นหาคา (Words) ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาษาไทย และ ภาษาสากล หาคานิยาม
หรือคาจากัดความ
ค้นหาประเด็นย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่อง/ชื่อเรื่อง(Topic) โดยการ
ค้นคว้าอย่างคร่าวๆ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
การเลือกหัวข้อ

หัวข้อวิจยั อาจเกิดจากความสนใจ ประสบการณ์
ส่วนตัว ภูมิหลัง และปั ญหาในการทางาน
 การอ่านเอกสาร วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
หลักเกณฑ์การเลือกหัวข้อปั ญหา




เลือกจากความสนใจของตนเองเป็ นที่ตง้ั
เลือกปั ญหาที่ตรงกับความสามารถของตนเอง
คานึงถึงความเหมาะสมในเรื่องของเวลา
คานึงถึงสภาพแวดล้อมที่จะเอื้ออานวยในการทาวิจยั เช่น
- ปั ญหานั้นจะได้รบั ความร่วมมือมากน้อยเพียงใด
- มีอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลหรือไม่ หรือผูว้ ิจยั
ต้องสร้างขึ้นเอง
- ปั ญหานั้นมีแหล่งค้นคว้าหรือไม่
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของปั ญหาที่ดี







เป็ นเรื่องที่มีความสาคัญ มีประโยชน์ ทาให้เกิดความรูใ้ หม่ๆและนาไปใช้ปรับปรุง
แก้ไขปั ญหาต่างๆได้
เป็ นปั ญหาที่สามารถหาคาตอบได้โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการวิจยั ได้
เป็ นปั ญหาที่หาข้อมูลมาตรวจสอบสมมติฐาน เพื่อหาข้อสรุปได้
เป็ นปั ญหาที่ให้คานิยามปั ญหาได้
สามารถวางแผนการดาเนินงานตามขั้นตอนต่างๆไว้ล่วงหน้า และเห็นลู่ทางที่จะทาได้
สาเร็จ
ปั ญหาที่สนใจต้องไม่เกินกาลังความสามารถของตนเองที่จะทาให้สาเร็จ แม้จะมี
อุปสรรคบางอย่างก็จะสามารถแก้ไขได้
สามารถหาเครื่องมือหรือสร้างเครื่องมือที่มีคุณภาพเพื่อใช้รวบรวมข้อมูลได้
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
การตัง้ หัวข้อ/ปั ญหา




ชื่อปั ญหาควรกะทัดรัด และมีความชัดเจน ทาให้ทราบว่า จะศึกษาเรื่อง
อะไรกับใคร
ชื่อหัวข้อปั ญหาที่ดีจะต้องแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร
ของปั ญหานั้นๆ
ภาษาที่ใช้ตอ้ งมีความชัดเจน อ่านเข้าใจได้ง่าย ถ้ามีศพั ท์เทคนิ คต้องเป็ น
ศัพท์ที่เป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ
การตัง้ ชื่อหัวข้อปั ญหาจะต้องระวังไม่ให้ซ้ าซ้อนกับผูอ้ ื่น แม้ว่าจะศึกษา
ในประเด็นที่คล้ายๆ กันก็ตาม
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
2. ขยายแนวคิด/ประเด็นที่จาเป็ นจากวัตถุประสงค์ของเรื่องที่
ต้องการศึกษาค้นคว้า


ใช้แหล่งสารสนเทศ เพื่อช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ตอ้ งการศึกษา
ค้นคว้า
ใช้ความรูพ้ ้ นฐานที
ื
่มีอยูเ่ ดิมขยายไปสูค่ วามรูใ้ หม่
การกาหนดความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนการกาหนดความต้องการสารสนเทศ (ต่อ)
3. กาหนดขอบเขตหรือกรอบความต้องการสารสนเทศ
โดยให้หวั ข้อ หรือประเด็นที่ศึกษามี
ความสัมพันธ์กนั อาจทาในรูปแบบของ
แผนที่ความคิดหรือผังความคิด
(Conceptual Mapping หรือ Mind Map)
แผนผังความคิด หรือแผนทีค่ วามคิด (Mind Map) หัวข้ อ “ธูปหอม”
แผนผังความคิด หรือแผนทีค่ วามคิด (Mind Map) หัวข้ อ “กาแฟร้ านป้ าทอง”
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ
 เมื่อได้หว
ั ข้อ และ ขอบเขต ของสารสนเทศที่ตอ้ งการแล้ว ต้องกาหนด
คุณลักษณะของสารสนเทศ โดยจะต้องพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของ
ความต้องการสารสนเทศว่าจะใช้เพื่อกิจกรรมใด กิจกรรมนั้น มีลกั ษณะ
ที่พิเศษ มีคณ
ุ ค่าอย่างไร
 หากต้องการสารสนเทศ เพื่อใช้เป็ นหัวข้อพูดคุยกับเพื่อน คุณลักษณะ
ของสารสนเทศอาจจะไม่จาเป็ นต้องลงลึกในเชิงวิชาการ สามารถใช้
แหล่งสารสนเทศง่ายๆ ในชีวิตประจาวันได้ เช่น สื่อมวลชน ประเภท
โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
 แต่หากมีวต
ั ถุประสงค์เพื่อการเรียน เพื่อการทางาน หรืออื่นๆ ที่มี
คุณค่าสูง อาจต้องเลือกแหล่งสารสนเทศทีส่ อดคล้องกับเรือ่ งที่ตอ้ งการ
เช่น สถาบัน (ห้องสมุด) อินเทอร์เน็ต ในเว็บไซต์ที่มีความน่าเชื่อถือ เป็ น
ต้น
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
คุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งพิจารณา
1) ความแคบหรือกว้างของเนื้อหา
2) ลักษณะหรือธรรมชาติของข้อมูล
3) ปริมาณข้อมูล
4) ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
5) อายุของข้อมูล
6) คุณภาพของข้อมูล
7) ภาษาของข้อมูล
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
1) ความแคบหรือกว้างของเนื้อหา (Content)
ต้องการสารสนเทศครอบคลุมสาขาใดและ/หรือแขนง
ใดบ้าง หรือต้องการสารสนเทศเฉพาะบางสาขา/แขนง
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
2) ลักษณะหรือธรรมชาติของข้อมูล (Nature)
ในสารสนเทศเรื่องเดียวกันนั้น ต้องการสารสนเทศที่มี
ลักษณะแบบใด หลากหลายหรือไม่ เช่น เป็ นรูปภาพ ตัวเลข
หรือข้อความ เป็ นต้น
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
3) ปริมาณข้อมูล
สารสนเทศที่ใช้ประกอบต้องการมีปริมาณมากหรือ
น้อย จานวนเท่าไหร่ ปริมาณข้อมูลขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของ
การนาไปใช้
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
4) ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
ต้องการสารสนเทศประเภทใด เช่น อินเทอร์เน็ต
บทความวารสาร บทความวิจยั สื่อประสม บทความใน
สารานุกรม ซีดี-รอม สื่อโสตทัศน์ เทปเสียง เป็ นต้น
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
4) ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
5) อายุของข้อมูล
สารสนเทศที่ตอ้ งการมีอายุอยูใ่ นช่วงระยะเวลาใด
(Data Range) เป็ นสารสนเทศที่เป็ นปั จจุบนั หรือ
สารสนเทศเชิงประวัตศิ าสตร์
พิจารณาจาก วันเดือนปี ที่พิมพ์ วันเดือนปี ที่เผยแพร่
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
6) คุณภาพของข้อมูล
แม้ว่าสารสนเทศนั้นจะต้องมีคณ
ุ ภาพอยูแ่ ล้ว แต่
วัตถุประสงค์จะทาให้การคัดสรรคุณภาพเข้มข้นมากขึ้น
คุณภาพสารสนเทศ
หมายถึง ความถูกต้องของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือของเนื้อหา เป็ นต้น
ต้องการสารสนเทศที่มีความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือหรือไม่ซึ่งสามารถ
พิจารณาจากผูเ้ ขียน และสานักพิมพ์ ที่เป็ นผูจ้ ดั ทาสารสนเทศนั้นๆ
กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศทีต่ ้ องการ
ขั้นตอนการกาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ตอ้ งการ (ต่อ)
7) ภาษาของข้อมูล
ข้อมูลที่ตอ้ งการเป็ นภาษาใด ภาษาไทยหรือ
ต่างประเทศ ข้อมูลที่เป็ นศัพท์เทคนิค หรือศัพท์เฉพาะทาง
เช่น ศัพท์ทางการแพทย์ ศัพท์คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
ประเด็นนี้ทักษะและความสามารถในการใช้
ภาษาต่างประเทศ มีสว่ นเกี่ยวข้องและมีความจาเป็ นในการ
พิจารณาเลือกข้อมูลด้วย
การวางแผนการค้นหาสารสนเทศ
การวางแผน หมายถึง กระบวนการของการพิจารณาตัดสินใจ
ล่วงหน้าว่าจะทาอะไร อย่างไร มีการเลือกวัตถุประสงค์ นโยบาย
โครงการ และวิธีปฏิบตั เิ พื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์น้นั อย่างไร
 ในการวางแผนการค้นหาสารสนเทศ ต้องพิจารณาสิ่งที่เกี่ยวข้อง
ในการค้นหา ได้แก่
1. แหล่งสารสนเทศ
2. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
การวางแผนการค้นหาสารสนเทศ
1. แหล่งสารสนเทศ โดยการคิดคานึงและวิเคราะห์ว่า หัวข้อ
ขอบเขต คุณลักษณะ ของสารสนเทศที่กาหนดขึ้นนั้น ควรที่จะใช้แหล่ง
สารสนเทศใด ที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่ตอ้ งการ เช่น สถาบัน(ห้องสมุด)
อินเทอร์เน็ต เป็ นต้น
2. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ โดยคานึงถึงและวิเคราะห์ว่า
แหล่งสารสนเทศที่เลือกนั้น จะใช้ทรัพยากรประเภทใดบ้าง เช่น แหล่ง
ห้องสมุด ใช้สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ ตารา บทความวารสาร พจนานุกรม
เป็ นต้น หรือ หากใช้แหล่งอินเทอร์เน็ต ต้องใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
จาพวก เว็บเพจ เว็บไซต์ ฐานข้อมูล เอกสารในรูปแบบต่างๆ ที่อยูใ่ น
อินเทอร์เน็ต เป็ นต้น
การวางแผนการค้นหาสารสนเทศ
จากลักษณะของข้อมูลที่ตอ้ งการ ทาให้ผเู ้ รียนสามารถ
กาหนดหรือคาดการณ์ได้ว่าจะได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับเรือ่ งที่ตอ้ งการได้
จาก แหล่งสารสนเทศประเภทใด หรือจากทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทใด
แหล่งสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
- ห้องสมุด
- พจนานุกรม
- บุคคล
- สารานุกรม
- อินเทอร์เน็ต
- ตารา
- สื่อมวลชน วิทยุ, ทีวี
- รายงานวิชาการ
- รายงานการวิจยั
การวางแผนการค้นหาสารสนเทศ
ขั้นตอนการวางแผนการค้น
1. กาหนดประเด็นที่ตอ้ งการจะค้นหา เช่น เรื่อง หรือ
ขอบเขตเนื้อหา ที่ตอ้ งการจะสืบค้น
2. กาหนดคา คาสาคัญและหัวเรื่องที่จะใช้สืบค้น
3. กาหนดแหล่งสารสนเทศที่จะไปค้นหาข้อมูล
4. กาหนดเครื่องมือที่จะใช้ในการสืบค้นข้อมูล
การวางแผนการค้นหาสารสนเทศ
ประโยชน์ของการวางแผน
1. ได้รบั สารสนเทศที่ตอ้ งการอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน
2. สามารถกาหนดคาค้นได้ตรงกับความต้องการ
3. ช่วยให้เลือกเครื่องมือช่วยค้นได้อย่างรวดเร็ว