ศาตร์ในการพัฒนามนุษย์องค์รวม

Download Report

Transcript ศาตร์ในการพัฒนามนุษย์องค์รวม

หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป : ศาสตร์ในการพัฒนาความ
เป็นมน ุษย์แบบองค์รวม
ใ
โดย รองศาสตราจารย์ส ุภาพ ณ นคร
การศึกษาเพือ่ พัฒนาความเป็ นมนุษย์
โดย
ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรีสอ้ าน
I
การศึกษาเพือ่ พัฒนา
ความเป็ นมนุษย์
(Education for
Human
Development)
Education is the only form
of action that can
transform potentials into
competencies for life.
Within this perspective, to
act for new generations is
to create educational
concepts and practices
that can generate
competencies for people to
transform themselves and
their realities through the
full development of their
potentials.
UNESCO 2005
In order to develop
these potentials all
spheres of human
existence must be
considered:
Personal, Social,
Cognitive and
Productive
1
II
st
Four Pillars of Education for the 21 Century: UNESCO
to be
to do
individua
l
to know
to live
together
When we look at the four types of learning from the perspective of the development of people’s
potential – Learning to Be (how to be yourself and create a life project), to Live Together (living
with differences, creating new forms of social participation), to Know (Claiming knowledge tools
and using them for the common good) and to Do (acting productively, making it easier to enter and
stay in the new labor world) – they become tools for the transformation of oneself and of the world.
2
III
การศึกษาเพือ่ พัฒนา
คนให้ เป็ นบัณฑิต
เป็ นกระบวนการต่ อเนื่องจากครอบครัว
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การอาชีวศึกษาและการ
อุดมศึกษา
มุ่งพัฒนาศักยภาพของแต่ ละคน เพือ่ ให้ เป็ น
คนทีส่ มบูรณ์ เต็มตามศักยภาพ มีสมรรถนะ
(Competencies) ด้ าน Personal, Cognitive,
Social และ Productive
3
III
การศึกษาเพือ่ พัฒนา
คนให้ เป็ นบัณฑิต
การศึกษาระดับปริญญา หรือ “บัณฑิต” ต้ อง
สร้ างให้ เป็ นทั้ง “Manhood และ
Manpower” การสร้ าง “ความเป็ นคน” และ”
กาลังคน” ระดับบัณฑิตปรับเปลีย่ นไปตาม
ความเปลีย่ นแปลงของโลก เป็ นเรื่องของศิลป
ศาสตร์ กบั วิชาชีพ เพือ่ ทาให้ ผู้ได้ รับการศึกษา
เป็ นผู้มีความรับผิดชอบและเป็ นพลเมืองดี
และเพือ่ สร้ างความสามารถของผู้ศึกษา
ในทางวิชาชีพ
ปรัชญาเมธีทางการศึกษากล่ าวว่ า “คนเป็ น
คนก่ อนจะเป็ นครู แพทย์ หรือวิศวกร และ
ฯลฯ”
4
IV
การอุดมศึกษา
ระดับปริญญาใน
ประเทศไทย
เพือ่ พัฒนา
ความเป็ นมนุษย์
จัดการศึกษาต่ อเนื่องจากระดับมัธยมศึกษา เน้ น
การจัดหลักสู ตรและการสอนวิชาเฉพาะเพือ่ สร้ าง
ความรู้ความสามารถในทางวิชาการและวิชาชีพ
พ.ศ. 2517-2532 ทบวงมหาวิทยาลัย ประกาศ
หลักเกณฑ์ มาตรฐานว่ าด้ วยหลักสู ตรการศึกษา
ระดับปริญญาตรี กาหนดเนือ้ หาของหลักสู ตร ให้
มีสัดส่ วนของวิชาพืน้ ฐานทั่วไป วิชาเฉพาะด้ าน
และวิชาเลือก และ/หรือวิชาโท ซึ่งต่ อมา
เปลีย่ นเป็ นวิชาเลือกเสรี
5
IV
การอุดมศึกษา
ระดับปริญญาใน
ประเทศไทย
เพือ่ พัฒนา
ความเป็ นมนุษย์
วิชาพืน้ ฐานทั่วไป จานวนอย่ างน้ อย 30 หน่ วยกิต
ประกอบด้ วยหมวดละไม่ น้อยกว่ า 6 หน่ วยกิต
สั งคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์
ภาษา
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
พ.ศ. 2532 - ปัจจุบัน เปลีย่ นเนือ้ หาของ
หลักสู ตรจากวิชาพืน้ ฐานทัว่ ไป เป็ น “วิชา
ศึกษาทั่วไป” (General Education) กาหนด
วัตถุประสงค์ และวิธีการจัดให้ ชัดเจนและ
ยืดหยุ่นมากขึน้
6
V
หมวดวิชา
ศึกษาทัว่ ไปกับ
การพัฒนา
ความเป็ นมนุษย์
ในปัจจุบัน
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง วิชาทีม่ ่ ุงพัฒนา
ผู้เรียนให้ มีความรอบรู้ อย่ างกว้ างขวาง มีโลกทัศน์
ทีก่ ว้ างไกล มีความเข้ าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อนื่
และสั งคม เป็ นผู้ใฝ่ รู้ สามารถคิดอย่ างมีเหตุผล
สามารถใช้ ภาษาในการติดต่ อสื่ อสารความหมายได้
ดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่ าของศิลปะและ
วัฒนธรรมทั้งของไทย และของประชาคม
นานาชาติ สามารถนาความรู้ ไปใช้ ในการดาเนิน
ชีวติ และดารงตนอยู่ในสั งคมได้ เป็ นอย่ างดี
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปพัฒนาความเป็ นคน
(Manhood) หมวดวิชาเฉพาะด้ านพัฒนาความเป็ น
กาลังคนในการประกอบอาชีพ (Manpower)
7
V
หมวดวิชา
ศึกษาทัว่ ไปกับ
การพัฒนา
ความเป็ นมนุษย์
ในปัจจุบัน
สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทัว่ ไปใน
ลักษณะจาแนกเป็ นรายวิชาหรือลักษณะบูรณา
การใดๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเนือ้ หาวิชาที่
ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์
กับคณิตศาสตร์ ในสั ดส่ วนที่เหมาะสม เพื่อให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ ของวิชาศึกษาทัว่ ไป โดยให้ มี
จานวนหน่ วยกิตรวมไม่ น้อยกว่ า 30 หน่ วยกิต
8
V
หมวดวิชา
ศึกษาทัว่ ไปกับ
การพัฒนา
ความเป็ นมนุษย์
ในปัจจุบัน
ในทศวรรษทีผ่ ่ านมา สกอ. ได้ กาหนดกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (Thai
Qualifications Framework for Higher
Education: TQF) ครอบคลุมอย่ างน้ อย 5 ด้ าน
คุณธรรมจริยธรรม
ความรู้
ทักษะทางปัญญา
ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
การพัฒนาหลักสู ตรวิชาศึกษาทัว่ ไปจึงต้ องจัดตาม TQF ด้ วย
9
1) ต้ องปรับเปลีย่ นให้ ทันกับความเปลีย่ นแปลงของโลก
VI
หลักสู ตรและ
การเรียนการสอน
วิชาศึกษาทัว่ ไปใน
อนาคต
2) สร้ างวิชาในลักษณะบูรณาการเนือ้ หาวิชาและกิจกรรมทีส่ อดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ ของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป และ TQF
3) วิชาศึกษาทั่วไปเป็ นวิชา “ชีวติ ” ที่ผสมผสานระหว่ างการเรียนกับ
ผู้สอนหรือวิทยากร การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง การทากิจกรรม
ในลักษณะ Engagement ทีก่ ่อให้ เกิดการเรียนรู้จากการทาร่ วมกับ
องค์ กรชุ มชน เป็ นการจัดแบบ “Blended Teaching and
Learning” ให้ เป็ นผู้รู้ชัดและปฏิบัติได้
1
VI
หลักสู ตรและ
การเรียนการสอน
วิชาศึกษาทัว่ ไปใน
อนาคต
4) ควรเน้ นเรื่อง Entrepreneurship, Management Skills และ
Employability เชื่อมประสานกับการศึกษาวิชาเฉพาะด้ าน
5) ควรพัฒนาคณาจารย์ ทจี่ ะสอนวิชาศึกษาทั่วไปให้ เข้ าใจ เข้ าถึงและ
ปฏิบัติการเรียนการสอนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพอย่ างต่ อเนื่อง โดย
ให้ ความสาคัญกับภาระงาน แรงจูงใจ และการให้ การยอมรับ
ผลงานเช่ นเดียวกับการสอนวิชาเฉพาะด้ านและวิชาชีพ
6) ควรจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปเป็ นภาษาอังกฤษ ยกเว้ นวิชา
ภาษาไทยหรือภาษาต่ างประเทศอืน่ เพือ่ เพิม่ การพัฒนาความสามารถใน
การใช้ ภาษาอังกฤษซึ่งเป็ นภาษาสากล
1
วิชาศึกษาทัว่ ไปเป็นวิชาชาชีวิต
ที่มา : ศ.ดร.วิจิตร ศรี สอ้ าน (2556)
๑.เปลี่ยนสถานภาพของวิชาศึกษาทัว่ ไป
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๒.เปลี่ยนเป้าหมายของวิชาศึกษาทัว่ ไป
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๓.เปลี่ยนวิธีการเรียนรจ้ ู ากแนวคิด
ตะวันตก
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๔.ความหมายของ “การเรียนร”้ ู
ตามนัยพุทธรรม
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๕.วิถีการเรียนรต้ ู ามนัยพุทธรรม
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๖. “Two World” of educating young people
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๗.นวัตกรรมการเรียนร ้ ู : ทักษะการ
เรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๘.คร ูผูน้ าการเปลี่ยนแปลง : เปลีย่ นที่
ตนเองก่อน
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๙.วิธีการเรียนรูอ้ ย่างเป็นองค์รวมที่สถาบัน
อาศรมศิลป์ (Holistic Learning Approach)
• การเรี ยนรู้จากการทาโครงงาน (Constructionist)
• การเรี ยนรู้จากชุมชน (Community-based Learning)
• การเรี ยนรู้ในบ้าน-ครอบครัว (Learning Within
Family)
• การเรี ยนรู้จากการแก้ปัญหา (Problem-based
Learning)
• การเรี ยนรู้จากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวัน
(Activity-based Learning)
• กิจกรรมสร้างสรรค์การเรี ยนรู้ (Creative Activity
Learning)
• การเรี ยนรู้แบบเปิ ดและการศึกษาบทเรี ยนร่ วมกัน
(Open Approach & Lesson Study Learning)
• การเรี ยนรู้ใน studio (Studio-based Learning)
• การเรี ยนรู้ในชั้นเรี ยน (Classroom-based Learning)
• การทางานเป็ นทีม (Team Work Skills)
• การเรี ยนรู้อย่างมีส่วนร่ วม (Participatory Learning)
• การเรี ยนรู้ที่สอดคล้องกับการทางานของสมอง
• จิตตปัญญาศึกษา (Contemplation)
• ฝึ กเจริ ญสติสมั ปชัญญะ เพื่อรู้จกั ตนเอง (Mindfulness cultivation)
• ศิลปะภาวนา จริ ยศิลป์ (Moral Arts)
• ธรรมชาติวิจกั ขณ์
• การคิดอย่างเป็ นระบบ (System Thinking)
• กระบวนการจิตอาสา (Voluntary-based learning)
• ระบบการศึกษาแนวมานุษยวิทยา : Waldorf, Montessori, Reggio Emillia
• การฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening)
• การสื่ อสารอย่างเท่าเทียมเคารพความเป็ นมนุษย์ (Equally Shared)
• การเรี ยนรู้ผา่ นการบันทึก (Journal Practice)
• การสื่ อสารอย่างสร้างสรรค์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ (Creative
Presentation)
• การจัดการความรู้ (Knowledge Management) และการทบทวนความรู้ใน
การปฏิบตั ิ (AAR)
• องค์กรแห่งการเรี ยนรู้ (Learning Organization)
• การเรี ยนรู้จากกลุ่ม (Discussion Group)
• สุนทรี ยสนทนา (Dialogue)
• การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ (Shared & Learn)
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๐.ระบบโครงสร้างการจัดการเรียนการ
สอน
ของสถาบันอาศรศิลป์ (Operating System)
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๑.ช ุมชนแห่งการเรียนรู้ บริบทและสภาพ
แวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรูใ้ นสถาบัน
อาศรมศิลป์ (Learning Community)
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
๑๒.ผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ์ของการเรียนร ้ ู
เพื่อพัฒนาชีวิต
ที่มา : รศ.ประภาภัทร นิยม (2555)
Thank you!
รองศาสตราจารย์สภุ าพ ณ นคร
Email: [email protected]