การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรี
Download
Report
Transcript การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรี
ผลการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่ง
ที่มีต่อความสามารถด้ านการพูดภาษาอังกฤษ
ของนักศึกษาในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษ
เพื่อธุรกิจโรงแรม
THE EFFECTS OF E-COOPERATIVE LEARNING ON
STUDENTS’ ENGLISH SPEAKING ABILITY OF THE
ENGLISH HOTEL BUSINESS COURSE
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พูลสุข กรรณาริก
หัวข้ อการนาเสนอ
1)
2)
3)
4)
ความเป็ นมาของการวิจัย
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
วิธีดาเนินการวิจัย
2
หัวข้ อการนาเสนอ
5) ผลการวิจัย
6) การอภิปรายผล
7) ข้ อเสนอแนะ
3
ความเป็ นมาของการวิจัย
อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning)
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning)
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจโรงแรม
4
ความเป็ นมาของการวิจัย
อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) ในระดับอุดมศึกษาได้ รับ
ความนิยมและแพร่ หลายมากขึน้ ทัง้ ในรู ปแบบ
การจัดการศึกษาทางไกล และรู ปแบบการเรี ยน
การสอนแบบผสมผสาน
(ปราวีณยา สุ วรรณณัฐโชติ, 2554)
5
ความเป็ นมาของการวิจัย
อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) ได้ ถูกนามาใช้ กับ
การสอนวิชาภาษาอังกฤษในหลายรู ปแบบ
มากขึน้ และสามารถใช้ ได้ ดีกับการสอน
วิชาภาษาอังกฤษ
(Parson, 1997 อ้ างใน เสาวภา วิชาดี, 2554)
6
ความเป็ นมาของการวิจัย
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning)
เป็ นวิธีท่ เี หมาะสมกับการเรี ยนการสอนเพื่อ
การพัฒนาทักษะการสื่อสารทางการพูด
ภาษาอังกฤษ และเป็ นประโยชน์ อย่ างมาก
สาหรั บผู้เรี ยนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สอง
(English Language Learners)
(Colorado, 2007)
7
ความเป็ นมาของการวิจัย
อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) และ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
(Cooperative Learning) ส่ งเสริมให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถ
เรี ยนรู้ ด้วยตนเอง สอดคล้ องกับกระบวนการ
การเรี ยนรู้ ท่ เี น้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ (Student-based
Learning)
8
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. ศึกษาผลการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
อีเลิร์นนิ่ง ที่มีต่อการพัฒนาความสามารถ
ด้ านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาใน
การเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจโรงแรม
9
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
2. ศึกษาเจตคติของนักศึกษาต่ อการใช้
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่งใน
การเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจ
โรงแรม
10
ขอบเขตการวิจยั
1. ประชากรที่ใช้ ในการวิจัย
2. การแบ่ งกลุ่มประชากรที่ใช้ ในการวิจัย
3. เนือ้ หาของบทเรี ยนที่ใช้ ในการวิจัย
4. กิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
5. รู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
11
ขอบเขตการวิจัย
1. ประชากรที่ใช้ ในการวิจัย
นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจชัน้ ปี ที่ 4
คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจโรงแรม
ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2555
จานวน 47 คน
12
ขอบเขตการวิจัย
2. การแบ่ งกลุ่มประชากรที่ใช้ ในการวิจัย
*นักศึกษามีพนื ้ ฐานความสามารถด้านการพูด
ภาษาอังกฤษแตกต่ างกัน
*ทดสอบความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ
ก่ อนเรี ยน ซึ่งกาหนดคะแนนการประเมินเต็ม
100 คะแนน
13
ขอบเขตการวิจัย
2. การแบ่ งกลุ่มประชากรที่ใช้ ในการวิจัย
* เกณฑ์การประเมินระดับความสามารถ
ในการพูดภาษาอังกฤษแบบรู บริคส์
(Rubric of Speaking Ability)
* แบ่งกลุ่มประชากรตามผลการทดสอบ
ก่ อนเรี ยน เป็ น 5 กลุ่ม
14
กลุ่มประชากรตามผลการทดสอบก่ อนเรี ยน
กลุ่ม คะแนนทดสอบ
ก่ อนเรียน
ระดับความสามารถด้ าน
การพูดภาษาอังกฤษ
A
B
80 - 100
60 - 79
ดีเยี่ยม (1 คน)
ดีมาก (12 คน)
C
40 - 59
ดี
D
E
20 - 39
0 - 19
ปานกลาง (12 คน)
อ่ อน
(3 คน)
(19 คน)
15
ขอบเขตการวิจยั
3. ของบทเรี ยนที่ใช้ ในการวิจัย
3.1 8 บทเรี ยนจากตารา
วิชา English for Hotel Business
(Phunsuk Kannarik, 2009)
3.2 Hotel Businesses in ASEAN Countries
ใช้ ระยะเวลาดาเนินการทดลอง 15 สัปดาห์
16
ขอบเขตการวิจยั
4. กิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
(Cooperative Learning)
(Colorado, 2007 / Schul, 2011)
4.1 Round Table
จัดกลุ่มผู้เรี ยนกลุ่มละ 6 คน แต่ ละกลุ่ม
ประกอบด้ วยสมาชิกที่มีระดับความสามารถ
ในการพูดภาษาอังกฤษแตกต่ างกัน ซึ่งได้
จากผลการทดสอบก่ อนเรี ยน
17
ขอบเขตการวิจัย
4.1 Round Table
ผู้เรี ยนทุกคนในกลุ่มบอกเล่ าเนือ้ หา
ที่ได้ รับมอบหมาย ให้ กับเพื่อนในกลุ่ม
โดยใช้ เวลาเท่ าๆกันหรื อใกล้ เคียงกัน
18
ขอบเขตการวิจยั
4.2 Reciprocal Teaching
ผู้เรี ยนจับคู่เพื่อสนทนาในเรื่ องราวที่ได้ รับ
มอบหมาย และแต่ ละคู่ต้องสลับบทบาท
(Taking Turns)
19
ขอบเขตการวิจยั
4.3 Think-Pair-Share
ผู้เรี ยนจับคู่ในการตอบ อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นสถานการณ์
ที่กาหนด
20
ขอบเขตการวิจัย
4.4 Jigsaw
ผู้เรี ยนทุกกลุ่ม ได้ รับมอบหมายให้ ทา
กิจกรรมเดียวกัน สมาชิกในกลุ่มค้ นคว้ า
หัวข้ อย่ อยที่กาหนด และอธิบายหัวข้ อ
ที่ตนศึกษาให้ เพื่อนในกลุ่มฟั ง
21
ขอบเขตการวิจยั
5. รูปแบบการเรียนการสอนแบบ e-Learning
การใช้ เว็บเพื่อประกอบเนือ้ หาวิชาตาม
แนวคิดของ Parson (1997) ซึ่งอ้ างใน
เสาวภา วิชาดี (2554) ในลักษณะเว็บ
ช่ วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา
(Web-supported Course)
22
ขอบเขตการวิจยั
4. รู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
4.1 การกาหนดงานที่ให้ ทาบนเว็บ
http://www.slideshare.com/phunsuk
http://www.youtube.com
4.2 การสื่อสารผ่ านระบบคอมพิวเตอร์
email address: [email protected]
facebook.com/phunsuk.kannarik
23
24
25
26
27
28
29
30
31
วิธีดาเนินการวิจัย
1. เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย
1.1 แผนการสอนสาหรั บการเรี ยนโดยใช้
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่ง
(e-Cooperative Learning)
1.2 แบบทดสอบความสามารถด้ านการพูด
ภาษาอังกฤษก่ อนเรี ยน (Pre-test)
32
วิธีดาเนินการวิจัย
1. เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย
1.3 แบบทดสอบความสามารถด้ านการพูด
ภาษาอังกฤษประจาบทเรี ยน (Formative Test)
1.4 แบบทดสอบความสามารถด้ านการพูด
ภาษาอังกฤษหลังเรี ยน (Post-test)
33
วิธีดาเนินการวิจัย
1) เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย
1.5 แบบสอบถามเจตคติของนักศึกษา
ต่ อการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่ง
ในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจ
โรงแรม
34
วิธีดาเนินการวิจัย
2) การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้ อมูล
2.1 ทดสอบความสามารถในการพูด
ภาษาอังกฤษก่ อนเรี ยน ในสัปดาห์ ท่ ี 1
2.2 ตรวจสอบและบันทึกการเข้ าชัน้ เรี ยน
ตรวจสอบและติดตามการมีส่วนร่ วม
ในการทากิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
35
วิธีดาเนินการวิจัย
2) การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้ อมูล
2.3 ทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ
ประจาบทเรี ยนจานวน 6 ครั ง้
ในสัปดาห์ ท่ ี 3, 5, 7, 9, 11 และสัปดาห์ ท่ ี 13
2.4 ทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ
หลังเรี ยน ในสัปดาห์ ท่ ี 15
36
วิธีดาเนินการวิจัย
2) การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้ อมูล
2.5 วัดเจตคติของนักศึกษา โดยใช้
แบบสอบถามเจตคติของนักศึกษา
มีต่อการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
อีเลิร์นนิ่ง หลังการทดลอง
37
วิธีดาเนินการวิจัย
3) การวิเคราะห์ ข้อมูล
3.2) การประเมินผลการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
อีเลิร์นนิ่ง ที่มีต่อการพัฒนาความสามารถ
ด้ านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา
เปรี ยบเทียบความแตกต่ างผลการทดสอบก่ อน
เรี ยน (Pre-test) และหลังเรี ยน (Post-test) โดย
คานวณผลต่ างของคะแนนทดสอบก่ อนเรี ยน
และหลังเรี ยนของนักศึกษาแต่ ละรายบุคคล
38
วิธีดาเนินการวิจัย
3) การวิเคราะห์ ข้อมูล
คานวณค่ าเฉลี่ย (Mean) และค่ าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ของผลต่ างของคะแนน
ก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักศึกษาใน
แต่ ละกลุ่มที่มีระดับความสามารถในการ
พูดภาษาอังกฤษแตกต่ างกัน
39
วิธีดาเนินการวิจัย
3) การวิเคราะห์ ข้อมูล
การประเมินเจตคติของนักศึกษาต่ อการใช้ การ
เรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่ง
ใช้ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่ าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.)
40
ผลการวิจัย
1. ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถด้ านการพูด
ภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่ อนเรี ยนกับหลัง
เรี ยนโดยใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่ง
41
ผลการวิจัย
กลุ่ม
ค่ าเฉลี่ย
ก่ อนเรียน
ค่ าเฉลี่ย
หลังเรียน
Mean
S.D.
A
B
C
D
E
รวม
80.00
68.67
45.63
28.92
14.67
46.00
91.00
76.83
58.32
50.33
39.67
60.51
11.00
8.16
12.69
21.41
25.00
14.51
0.00
7.61
8.69
14.33
12.68
11.70
42
ผลการวิจัย
ความสามารถด้ านการพูดภาษาอังกฤษ ของ
นักศึกษาจานวน 47 คน เพิ่มขึน้ ทัง้ หมดทุกคน
ค่ าเฉลี่ย (Mean) ของผลต่ างระหว่ างคะแนน
ทดสอบก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักศึกษา
ทัง้ หมด เท่ ากับ 14.51 คะแนน และส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของผลต่ างระหว่ าง
คะแนนทดสอบก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนเท่ ากับ
11.70 คะแนน
43
ผลการวิจัย
กลุ่ม E มีค่าเฉลี่ยของผลต่ างระหว่ างคะแนน
ทดสอบก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนเพิ่มขึน้ มาก
ที่สุด รองลงมา คือ กลุ่ม D กลุ่ม C กลุ่ม A
และกลุ่ม B ตามลาดับ
44
ผลการวิจัย
2. ผลการวัดเจตคติของนักศึกษาต่ อการใช้
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่ง
45
ผลการวิจัย
S.D
รายการประเมิน
Mean
1) เนือ้ หาวิชา
2) การจัดกิจกรรม
e-Cooperative
3) การเรียนผ่ านระบบ
e-Learning
4) ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับ
4.38
4.33
.54
.52
มากที่สุด
มากที่สุด
4.24
.60
มากที่สุด
4.11
.48
มาก
รวม
4.29
.44
ระดับ
ความพึงพอใจ
มากที่สุด
46
ผลการวิจัย
นักศึกษามีเจตคติต่อการใช้ การเรี ยนรู้ แบบ
ร่ วมมืออีเลิร์นนิ่งในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษ
เพื่อธุรกิจโรงแรม โดยรวมทัง้
4 ด้ านในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ ากับ 4.29
47
อภิปรายผล
การใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่งมีผลดีต่อ
การพัฒนาความสามารถด้ านการพูดภาษาอังกฤษ
ของนักศึกษาในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ
ธุรกิจโรงแรม
เนื่องจาก (1)
กิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ ส่ งเสริมการมี
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างเพื่อนในกลุ่มซึ่งช่ วยในการ
พัฒนาภาษา รวมถึงการเรี ยนรู้ แนวคิดและเนือ้ หา
48
อภิปรายผล
สอดคล้ องแนวคิด
(Colorado, 2007)
การเรียนรู้ แบบร่ วมมือว่ า สามารถใช้ ได้ กับผู้เรี ยนทุก
ประเภท เนื่องจากการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเป็ นวิธีการที่
ส่ งเสริมการเรียนรู้ และสนับสนุนให้ เกิดการยกย่ องนับถือ
และมิตรภาพระหว่ างเพื่อนในกลุ่มซึ่งมีความแตกต่ างกัน
และการที่สมาชิกในกลุ่มมีความแตกต่ างกันมาก ก็ย่ ิงเป็ น
ประโยชน์ ต่อผู้เรียนแต่ ละคนในการเรียนรู้ซ่ งึ กันและกันใน
งานที่แต่ ละคนได้ รับมอบหมาย
49
อภิปรายผล
สอดคล้ องแนวคิด
Slavin (1990)
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ สนับสนุนให้ ผ้ ูเรี ยนมี
ส่ วนร่ วมในการทากิจกรรมกลุ่ม จึงมีความรู้ สึก
ถึงคุณค่ าของตนเองเพิ่มขึน้ สมาชิกในกลุ่มมี
โอกาสพูดคุยกัน เกิดการแก้ ปัญหาร่ วมกัน
นามาซึ่งความเข้ าใจที่ชัดเจนมากขึน้
50
อภิปรายผล
เนื่องจาก (2)
การจัดการเรี ยนการสอนผ่ านเครื อข่ าย
อินเทอร์ เน็ต หรื อ ระบบ e-Learning กระตุ้น
ความสนใจของผู้เรี ยน ช่ วยให้ ผ้ ูเรี ยนพัฒนา
ความสามารถด้ านการพูดภาษาอังกฤษ
51
อภิปรายผล
สอดคล้ องแนวคิด
Parson (1997) อ้ างใน เสาวภา วิชาดี (2554)
จัดการเรี ยนการสอนผ่ านเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต
เป็ นวิธีท่ ีใช้ ได้ ดีกับการสอนวิชาภาษาอังกฤษ
52
อภิปรายผล
สอดคล้ องแนวคิด
Parson (1997) อ้ างใน เสาวภา วิชาดี (2554)
การเรี ยนการสอนบนเว็บมีแหล่ งมากมาย
- การกาหนดงานที่ให้ ทาบนเว็บ
- การสื่อสารผ่ านระบบคอมพิวเตอร์
- การมีเว็บที่สามารถชีต้ าแหน่ งของพืน้ ที่
บนเว็บไซด์
53
อภิปรายผล
การที่ผ้ ูเรี ยนมีการพัฒนาความสามารถด้ านการ
พูดภาษาอังกฤษหลังเรี ยนดีขนึ ้ กว่ าก่ อนเรี ยน
อาจเนื่องมาจาก ผู้สอนดาเนินการสอนโดยใช้
แนวทางการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
ตามแนวคิดของ ฟ้าสว่ าง พัฒนพิเชฐ (2554)
54
อภิปรายผล
การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 3 ขัน้ ตอน
ขัน้ ที่ 1 การสอนกฎเกณฑ์ (Form-focused Instruction)
- การออกเสียง (Pronunciation)
- คาศัพท์ (Vocabulary)
- ไวยากรณ์ (Grammar)
- ภาษาพูดที่เหมาะสม (The Appropriate Use
of Spoken Language)
55
อภิปรายผล
ขัน้ ที่ 2 การสอนความหมาย (Meaning-focused
Instruction)
ให้ ผ้ ูเรี ยนฝึ กฝนและใช้ ภาษา เพื่อสื่อ
ความหมาย โดยฝึ กทัง้ ทักษะการฟั ง
และการพูด
ขัน้ ที่ 3 การเปิ ดโอกาสในการพัฒนาให้ เกิด
ความคล่ องแคล่ วในการใช้ ภาษา
(Opportunity to Improve Fluency)
56
อภิปรายผล
ผู้เรี ยนมีเจตคติต่อการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
อีเลิร์นนิ่งในระดับดีมาก (ค่ าเฉลี่ย = 4.29) สัมพันธ์
กับค่ าเฉลี่ยคะแนนทดสอบความสามารถด้ านการ
พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลังเรี ยน (60.51) สูง
กว่ าก่ อนเรี ยน (46.00)
57
อภิปรายผล
สอดคล้ องแนวคิด
Gardner (1985)
* เจตคติด้านบวก (Positive Attitude) และการ
กระตุ้น (Motivation) มากขึน้ จะช่ วยพัฒนา
ประสิทธิภาพด้ านการใช้ ภาษาของผู้เรี ยน
* เจตคติมีบทบาทสาคัญมากในการเรี ยนรู้ ภาษา
เนื่องจากเจตคติมีอิทธิพลต่ อความสาเร็ จหรื อ
ความล้ มเหลวในการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน
58
ข้ อเสนอแนะ
1) การนาผลการวิจัยไปใช้
ใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือผสมผสานกับ
การเรี ยนรู้ อีเลิร์นนิ่งเป็ นสื่อช่ วยสอน
* เพื่อสนับสนุนให้ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้ แก้ ปัญหา
และสามารถพบคาตอบได้ ด้วยตนเอง
59
ข้ อเสนอแนะ
1) การนาผลการวิจัยไปใช้
*เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ ความสามารถและ
ศักยภาพของตนเองในการร่ วมมือและ
แก้ ปัญหาต่ างๆในการเรี ยนให้ ลุล่วง ซึ่งจะมี
ผลต่ อประสิทธิภาพการเรี ยนการสอนและ
ผลการเรี ยนของผู้เรี ยน
60
ข้ อเสนอแนะ
2) การวิจัยครัง้ ต่ อไป
ศึกษาผลการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
อีเลิร์นนิ่งในการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
กับกลุ่มตัวอย่ างอื่นๆ เพื่อดูว่าผลการศึกษาจะ
สอดคล้ องกับการศึกษาครั ง้ นีห้ รื อไม่
61
ข้ อเสนอแนะ
2) การวิจัยครั ง้ ต่ อไป
ควรศึกษาผลการใช้ การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
อีเลิร์นนิ่งในการสอนทักษะการอ่ านและ
ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
62
ข้ อเสนอแนะ
2) การวิจัยครั ง้ ต่ อไป
ควรศึกษาข้ อดีข้อเสียของการใช้ การเรี ยนรู้
แบบร่ วมมืออีเลิร์นนิ่งเป็ นสื่อช่ วยสอนในการ
เรี ยนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ
63
ขอบคุณค่ ะ
64