ppt - FETP Thailand

Download Report

Transcript ppt - FETP Thailand

สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
นพ.โสภณ เอีย่ มศิริถำวร
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
วันที่ 17 กุมภำพันธ์ 2555
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
วัตถุประสงค์ ของกำรเขียนรำยงำน
1. เพื่อรายงานผลการสอบสวนทางระบาดวิทยา
2. เพื่อเสนอข้อคิดเห็นแก่ผรู ้ บั ผิดชอบและผูเ้ กี่ยวข้องระดับต่างๆ
3. เพื่อเป็ นองค์ความรูแ้ ละแนวทางในการสอบสวนโรคครั้งต่อไป
4. เพื่อบันทึกเหตุการณ์ระบาดของโรคหรือปั ญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้น
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ขั้นตอนกำรสอบสวนโรค
1. เตรียมกำรปฏิบัติงำนภำคสนำม
2. ตรวจสอบยืนยันกำรวินิจฉัยโรค
3. ตรวจสอบยืนยันกำรระบำด
4. กำหนดนิยำมผู้ป่วยเพือ่ ค้ นหำผู้ป่วยเพิม่ เติม
5. ศึกษำระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ -ตำม เวลำ สถำนที่ บุคคล
6. สร้ ำงสมมุติฐำนกำรเกิดโรค
7. ศึกษำระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์ -เพือ่ ทดสอบสมมุติฐำน
8. กำรศึกษำเพิม่ เติม เช่ น สำรวจสิ่ งแวดล้อม ตรวจทำงห้ องปฏิบัติกำร
9. แนะนำและดำเนินกำรควบคุมและป้องกันโรค
10. นำเสนอผลกำรสอบสวน และติดตำมผลมำตรกำรที่ดำเนินกำร
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
GOLDEN RULE IN REPORT WRITING
สั้ น กระชับ
น่ ำสนใจ
1. CONCISE
6. INTERESTING
ชัดเจน กระจ่ ำง
2. CLEAR
GOLDEN Rule
5. PRESENTABLE
นำเสนอเหมำะสม
3. ACCEPTABLE
4. READABLE
น่ ำอ่ำน
เป็ นที่ยอมรับ
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเภทของรำยงำนกำรสอบสวน
1. รายงานการสอบสวนเสนอผูบ้ ริหาร
1.1 รายงานการสอบสวนเบือ้ งต้น (Preliminary Report)
1.2 รายงานการสอบสวนสรุปเสนอผูบ้ ริหาร (Final Report)
2. รายงานการสอบสวนฉบับสมบูรณ์ (Full Report)
3. รายงานบทความวิชาการ (Scientific Article)
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ประกอบของรายงานการสอบสวน
1. ชื่อเรื่อง (Title)
2. ผูร้ ายงานและทีมสอบสวนโรค (Investigator and SRRT)
3. บทคัดย่อ (Abstract)
4. บทนาหรือความเป็ นมา (Introduction or Background)
5. วัตถุประสงค์ (Objectives)
6. วิธีการศึกษา (Methods)
7. ผลการสอบสวน (Results)
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ประกอบของรายงานการสอบสวน
8. มาตรการควบคุมและป้ องกันโรค
9. วิจารณ์ผล (Discussion)
10. สรุปผล (Conclusion)
11. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)
12. ปัญหาและข้อจากัดในการสอบสวน (Limitations)
13. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgment)
14. เอกสารอ้างอิง (Reference)
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ชืชื่อ่อเรืเรื่อ่องง
- กระชับ ไม่ ยำวหรือสั้ นไป
- ตรงประเด็น
- ควำมหมำยครบ
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผูผูร้ ร้ ายงานและ
ายงานและ
ทีทีมมสอบสวน
สอบสวน
- ชื่อ
- หน่ วยงำน
- ตำแหน่ ง
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
บทคั
บทคัดดย่ย่ออ
- ไม่ เกิน 1 หน้ ำ A4 (250คำ)
- หัวข้ อหลัก
- สรุปย่ อรำยงำน
บทนา (และวัตถุประสงค์)
วิธีการศึกษา (สอบสวนโรค)
ผลการศึกษาสาคัญ
สรุปและข้อเสนอแนะ
คาสาคัญ
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
บทนาหรือ
ความเป็ นมา
เกิดอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
แหล่งข่าวใด ผูใ้ ห้ข่าวเป็ นใคร
ข้อมูลเบือ้ งต้นของ Index case
บอกให้ ทราบถึงเหตุการณ์
ผิดปกติท่ นี าไปสู่การ
สอบสวนโรค/ภัย
ขนาดของปัญหา
คณะสอบสวนประกอบด้วยหน่ วยใด
เริ่มสอบสวนและ เสร็จสิ้นเมื่อไหร่
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
วัตถุประสงค์ ในกำรสอบสวนโรค
ให้ ระบุวัตถุประสงค์ เฉพาะของการสอบสวนโรค เช่ น
• เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค
• เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรค
• เพื่อค้ นหาแหล่ งโรค วิธีการถ่ ายทอดโรค และผู้สัมผัสโรค
• เพื่อเสนอ(ดาเนิน)มาตรการในการป้องกันควบคุมโรค
• อื่นๆ ตามแต่ กรณี เช่ น ศึกษาประสิทธิผลของวัคซีน
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
วิธีกำรศึกษำที่ใช้ ในกำรสอบสวนโรค
- รู ปแบบทีใ่ ช้ ในกำรศึกษำ
- นิยำมผู้ป่วย
ระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ
ระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์
- ศึกษำทำงห้ องปฏิบัติกำร สิ่ งแวดล้ อม
- เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรสอบสวน
- สถิตทิ ใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
• Case-control study
• Retrospective cohort study
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
1
ข้ อมูลทัว่ ไป
2
ยืนยันกำรเกิดโรค
ข้ อมูลประชำกร
ข้ อมูลทำงภูมศิ ำสตร์ ของพืน้ ทีเ่ กิดโรค
เส้ นทำงคมนำคมและพืน้ ทีต่ ิดต่ อ
ข้ อมูลทำงเศรษฐกิจ ควำมเป็ นอยู่ วัฒนธรรม
ข้ อมูลสุ ขำภิบำล สำธำรณูปโภค
ข้ อมูลสิ่ งแวดล้ อม เช่ น ปริมำณนำ้ ฝน
3
ยืนยันกำรระบำด
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
1
ข้ อมูลทัว่ ไป
2
ยืนยันกำรเกิดโรค
• ตรวจสอบกำรวินิจฉัยเบือ้ งต้ น
• อำกำร และอำกำรแสดงของผู้ป่วย
• ผลกำรตรวจทำงห้ องปฏิบัติกำร
3
ยืนยันกำรระบำด
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
2
1
ข้ อมูลทัว่ ไป
ยืนยันกำรเกิดโรค
• แสดงจำนวนผู้ป่วยของโรคหรือเหตุกำรณ์ ทเี่ พิม่ ขึน้
ผิดปกติ โดยเปรียบเทียบกับค่ ำมัธยฐำน 5 ปี
• ผู้ป่วยตั้งแต่ 2 รำยขึน้ ไปที่มีควำมเกีย่ วข้ องกัน
• ผู้ป่วย 1 รำย ทีไ่ ม่ เคยเกิดขึน้ ในพืน้ ที่
3
ยืนยันกำรระบำด
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
5
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
4.1 ระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ
-บุคคล เช่ น ตำรำง กรำฟ
-เวลำ เช่ น epidemic curve
-สถำนที่ เช่ น mapping
6
ผลกำรสำรวจ
สิ่ งแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ ำ
ระวังโรค
4.2 ระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์
- ตำรำงผลกำรวิเครำะห์ เช่ น RR, OR
- Univariate, multivariate analysis
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
5
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ ำ
ระวังโรค
• ประเภทวัตถุตวั อย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบตั ิ การที่เก็บจากผูป้ ่ วย
และปัจจัยเสี่ยงที่น่าจะเป็ นสาเหตุของการระบาด
• สถานที่ส่งตรวจ
• ผลการตรวจที่ได้
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
5
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
อธิบำยเหตุกำรณ์ แวดล้ อมทีม่ ีควำมสำคัญ
ต่ อกำรระบำดของโรค
สภำพโรงครัว
ส้ วม
แหล่ งนำ้
กรรมวิธีกำรปรุงอำหำร
7
ผลกำรเฝ้ ำ
ระวังโรค
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
5
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ ำ
ระวังโรค
เฝ้ ำระวังโรคต่ ออีกเป็ นระยะเวลำ 2 เท่ ำของระยะฟักตัวของโรค
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
มาตรการควบคุมและป้ องกันโรค
 มาตรการเบือ้ งต้นเพื่อควบคุมการระบาด
 มาตรการระยะยาวเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดผูป้ ่ วยรายใหม่
Agent
Host
Environment
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
วิจำรณ์ ผล
อธิบำยเหตุกำรณ์ ทเี่ กิดขึน้
วิเครำะห์ หำเหตุผลและสมมติฐำน
ในเหตุกำรณ์ ทเี่ กิดขึน้
วิจำรณ์ ควำมสำเร็จ
หรือล้มเหลวในกำร
ควบคุมโรค
ชี้ให้ เห็นถึงควำมแตกต่ ำงหรือคล้ ำยคลึง
กับกำรระบำดในอดีตหรือไม่ อย่ำงไร
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ทบทวนวรรณกรรม กำรสอบสวนที่ผ่ำนมำ
• จำกรำยงำนกำรสอบสวนโรคในอดีต
• จำกรำยงำนกำรเฝ้ ำระวังทำงระบำดวิทยำประจำสั ปดำห์
สำนักระบำดวิทยำ http://www.boe.moph.go.th/
• วำรสำรต่ ำงประเทศ
•
www.cdc.gov
•
www.pubmed.gov
•
http://www.eurosurveillance.org
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ปัญหำและข้ อจำกัดในกำรสอบสวนโรค
• ระบุปัญหำอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้
• ข้ อจำกัดที่พบในขณะสอบสวนโรค
• บอกแนวทำงกำรแก้ ไขปัญหำ สำหรับกำรสอบสวน
ครั้งต่ อไป
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
สรุปผลการสอบสวน
สรุปตำมวัตถุประสงค์
ยืนยันกำรเกิดโรคและกำรระบำด
กลุ่มเสี่ ยง
แหล่ งโรค และวิธีถ่ำยทอดโรค
ปัจจัยเสี่ ยง
สถำนกำรณ์ ล่ำสุ ด
ข้ อเสนอแนะ
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
ข้อเสนอแนะ
 ข้อเสนอเกี่ยวกับมาตรการควบคุมป้ องกันโรค
 ข้อเสนอเพื่อปรับปรุงการสอบสวนในครังหน้
้ า
ให้ สอดคล้ องและจำเพำะ กับผลกำรศึกษำ
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
องค์ ประกอบและวิธีการเขียนรายงาน ฉบับสมบูรณ์
กิตติกรรมประกำศ
• ผู้ให้ ควำมร่ วมมือในกำรสอบสวนโรค
• ผู้ให้ กำรสนับสนุนด้ ำนกำรตรวจทำงห้ องปฏิบัตกิ ำร
• ผู้ทใี่ ห้ ข้อมูลอืน่ ๆ ประกอบกำรสอบสวนโรค
เอกสำรอ้ ำงอิง
• รู ปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver Style)
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจำกกำรเขียนรำยงำน
• ผูเ้ ขียนได้รบั ความรู้เพิ่มจากกระบวนการเขียน เรียบเรียงข้อมูล
• ผูบ้ ริหารและผูเ้ กี่ยวข้องได้รบั ทราบเหตุการณ์ ที่เกิดขึน้
และนาไปใช้ประโยชน์ วางแผนควบคุมและป้ องกันโรคต่อไป
• ผูอ้ ่านได้รบั ความรู้ในเรื่องการสอบสวนทางระบาดวิทยา
• เป็ นการพัฒนาคุณภาพของการสอบสวนทางระบาดวิทยา
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
The art of epidemiological
reasoning is to draw conclusions
from imperfect data
George W. Comstock, M.D.
คุณภำพกำรสอบสวนกับรำยงำน
กำรสอบสวนที่ดี
รำยงำนที่ดี
กำรสอบสวนที่แย่
รำยงำนที่แย่
ที่มา: นพ.วิทยา สวัสดิวฒ
ุ ิพศ์
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเด็นที่พบบ่อย
• ชื่อเรือ่ ง
– ชื่อเรื่องไม่สื่อเนื้อหา
– ไม่ควรใส่ชื่อสถานที่จริง เช่น โรงเรียนอนุบาลแก้วฟ้า
• ชื่อผูน้ ิพนธ์
– ระบุชื่อ หน่วยงาน (ไม่ระบุจงั หวัด)
• บทคัดย่อ
– ไม่ตรงกับเนื้อหาหรือยาวไป
– ไม่สอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ วิธี ผลการศึกษา
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเด็นที่พบบ่อย
• ความเป็ นมา
– ไม่ครบ เช่น ไม่ระบุวนั เวลา หรือความหมายกากวม
– ไม่ระบุวตั ถุประสงค์ (อาจจะแยกข้อได้)
• วิธีการศึกษา
– ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
– เรียงลาดับไม่เหมาะสม
– นิยามผูป้ ่ วย ไม่ถูกต้อง
– ไม่ได้ระบุวิธีการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเด็นที่พบบ่อย
• ผลการศึกษา
– ไม่สอดคล้องกับวิธีการศึกษา เช่น ไม่ครบ หรือเกิน
– Time place person (บุคคล เวลา สถานที่)
– อาการและอาการแสดง ไม่ละเอียด
– รายงานผลโดยใช้ค่าสถิตไิ ม่ถูกต้อง
– เรียงลาดับเหตุการณ์ได้ไม่ดี หรือผลการศึกษาซ้ าๆ
– ไม่ได้ระบุ ชื่อตารางที่ # หรือ รูปที่ #
– ไม่ได้ทบทวนข้อมูลเฝ้ าระวังโรคในอดีต
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเด็นที่พบบ่อย
• มาตรการควบคุมโรคที่ดาเนินการ
– ไม่ได้ให้รายละเอียดทาอะไร
– ไม่ได้ระบุจานวนหรือระยะเวลา
– ผลจากการควบคุมโรคเป็ นอย่างไร
– การเฝ้ าระวังโรคทาอย่างไร นานเท่าไร
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเด็นที่พบบ่อย
• อภิปรายผล (วิจารณ์ผล)
– ให้ขอ้ มูลซ้ าเท่านั้น
– ไม่ได้ทบทวนการศึกษาในอดีต
– ไม่ได้แสดงความรูห้ รือการอธิบายปรากฎการณ์
– ไม่บอกข้อจากัดการศึกษา
• สรุปผล
– ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์
– พิมพ์ซ้ าผลการศึกษา
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ประเด็นที่พบบ่อย
• ข้อเสนอแนะ
– เป็ นคาแนะนาตามทฤษฎี ไม่ได้มาจากผลการศึกษา
– ควรมีท้งั ระยะสั้นและระยะยาว
• กิตติกรรมประกาศ
– ให้ระบุตาแหน่งหรือหน่วยงานที่สนับสนุน เช่น
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ผูบ้ ญ
ั ชาการเรือนจา
• เอกสารอ้างอิง
– ไม่ใช้รูปแบบมาตรฐาน ไม่ได้อา้ งประเด็นความรู ้
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ข้อสังเกตและพึงระวัง
• ผูอ้ ่านมีความรู ้ หรือข้อมูลน้อยกว่าผูเ้ ขียน จึงต้อง
เรียบเรียงให้เข้าใจง่ายๆ น่าอ่าน
• หาจุดขายที่สาคัญของรายงาน เช่น ความรูใ้ หม่
• ไม่ได้ทบทวนวรรณกรรมหรือค้นหาความรู ้
เพิ่มเติมก่อนการเขียน
• ผูน้ ิพนธ์ชื่อแรก ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชิ้นงาน
• การคัดลอกผลงานวิชาการ (Plagiarism)
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
ข้อสังเกตและพึงระวัง
• การคัดลอกผลงานวิชาการ (Plagiarism)
– ถือเป็ นการโจรกรรมทางวรรณกรรม หรือ
อาชญากรรมทางวิชาการ
– Copy and Paste
– คัดลอกข้อความโดยไม่อา้ งอิง
– ลอกทั้งเรื่อง
– ไม่ระบุที่มา
– ไม่ได้ขออนุญาต
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ
Bureau of Epidemiology
Practice makes perfect