ค โร คุม วบ

Download Report

Transcript ค โร คุม วบ

Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
GOLDEN RULE OF REPORT WRITING
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
กระชับ
น่ ำสนใจ
1. CONCISE
6. INTERESTING
ชัดเจน
2. CLEAR
GOLDEN Rule
5. PRESENTABLE
นำเสนอได้
ชัดเจน
3. ACCEPTABLE
4. READABLE
อ่ำนได้ ง่ำย
เป็ นทีย่ อมรับ
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ขอบเขตเนื้ อหา
1. วัตถุประสงค์การเขียนรายงาน
2. ประเภทของรายงาน
3. วิธีการเขียนรายงาน
4. ประโยชน์ ของการเขียนรายงาน
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
วัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานสอบสวนโรค
1. เพื่อรำยงำนผลกำร
สอบสวนทำงระบำดวิทยำ
4. เพื่อบันทึก
เหตุกำรณ์ ระบำดของ
โรคหรื อปั ญหำ
สำธำรณสุขที่เกิดขึน้
WHY?
2. เพื่อเสนอข้ อคิดเห็น
แก่ ผ้ ูบริหำรและ
ผู้เกี่ยวข้ อง
3. เพื่อเป็ นองค์ ควำมรู้ และ
แนวทำงในกำรสอบสวน
โรคในครั ง้ ต่ อไป
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ประเภทของรำยงำนกำรสอบสวน
1. รายงานการสอบสวนเสนอผูบ้ ริหาร
1.1 รายงานการสอบสวนเบือ้ งต้น (Preliminary Report)
1.2 รายงานการสอบสวนสรุปเสนอผูบ้ ริหาร (Final Report)
2. รายงานการสอบสวนฉบับสมบูรณ์ (Full Report)
3. รายงานบทความวิชาการ (Scientific Article)
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
1. วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวน
ฉบับสมบูรณ์ (Full report)
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบของรำยงำนกำรสอบสวน ฉบับสมบูรณ์ (1)
1. ชื่ อเรื่ อง (Title)
2. ผู้รำยงำนและทีมสอบสวนโรค (Principal Investigator & Team)
3. บทคัดย่ อ (Abstract)
4. บทนำหรื อควำมเป็ นมำ (Introduction or Background)
5. วัตถุประสงค์ (Objectives)
6. วิธีกำรศึกษำ (Methodology)
7. ผลกำรสอบสวน (Results)
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบของรำยงำนกำรสอบสวน ฉบับสมบูรณ์ (2)
8. มำตรกำรควบคุมและป้ องกันโรค (Prevention & Control
Measures)
9. วิจำรณ์ ผล (Discussion)
10. สรุปผล (Conclusion)
11. ข้ อเสนอแนะ (Recommendations)
12. ปัญหำและข้ อจำกัดในกำรสอบสวน (Limitations)
13. กิตติกรรมประกำศ (Acknowledgment)
14. เอกสำรอ้ำงอิง (Reference)
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ชื่อเรื่อง
•บอกถึ งเนื อ้ หำว่ ำ สอบสวนโรคอะไร ที่ไ หน
เมื่อไหร่
•ไม่ ยำวเกินไป หรือสัน้ เกินไปจนผู้อ่ำนไม่
เข้ ำใจ
•ชื่ อ เรื่ องจะน่ ำสนใจมำกขึ น้ หำกมี ป ระเด็ น
จำเพำะ เช่ น กำรสอบสวนกำรระบำดไข้ หวัด
นกในครอบครั ว กำรระบำดของโรคหัดจำก
วัคซีนที่มีประสิทธิผลต่ำ
ข้ อแนะนำ ให้ ตงั ้ ชื่อเรื่องภำยหลังเขียนส่ วนอื่น
ทุกอย่ ำงเสร็จสิน้ แล้ ว
ื่ เรือ
ชอ
่ ง
รายงานการสอบสวนโรค..........................
้ ทีไ่ หน..........................เมือ
เกิดขึน
่ ไร.......
นาย/นาง/น.ส. ..............................
สานักงาน........................................
บทค ัดย่อ
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ผูร้ ายงานและทีมสอบสวน
- ชื่อ หน่ วยงำน ตำแหน่ ง
- เรียงตำมปริมำณงำน ชื่อแรกเป็ นผู้มีส่วนร่ วมใน
กำรศึกษำที่สุด ชื่อถัดไปก็มีส่วนร่ วมน้ อยรองลง
ไปจำกชื่อแรก
- ไม่ จำเป็ นต้ องใส่ ช่ ือผู้ร่วมงำนทุกคน
- ระบุท่ ที ำงำนของผู้แต่ งทุกคน
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
บทคัดย่อ
 เป็ นเนือ้ ควำมย่ อที่เสนอประเด็นสำคัญของกำรสอบสวน
 สัน
้
ไม่ ควรเกิน 200 -250 คำ
 เนือ้ หำ ควำมเป็ นมำโดยย่ อ วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ
วิธีกำรศึกษำ ผลที่สำคัญ และควำมคิดเห็น หรื อ
ข้ อเสนอแนะ
 ควรเขียนสุดท้ ำย ภำยหลังเขียนส่ วนอื่น ๆ เสร็ จสิน
้ แล้ ว
 บทคัดย่ อจะเป็ นเครื่ องตัดสินใจให้ ผ้ ูอ่ำนว่ ำจะอ่ ำนต่ อไป
หรือไม่
หลีกเลี่ยง
 ตัวย่ อ
เช่ น รร. เป็ นต้ น
 ระบุเอกสำรอ้ ำงอิง ตำรำง หรื อรู ปภำพใน
บทคัดย่ อ
 กำรเขียนผลกำรศึกษำ หรื อข้ อสรุ ป ซึ่งไม่
ปรำกฏอยู่ในเนือ้ เรื่ องเลย
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
บทนาหรือ
ความเป็ นมา
เกิดอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
แหล่งข่าวใด ผูใ้ ห้ข่าวเป็ นใคร
ข้อมูลเบือ้ งต้นของ Index case
บอกมูลเหตุของกำรออกไป
สอบสวนโรค
ขนาดของปัญหา
คณะสอบสวนประกอบด้วยหน่ วยใด
เริ่มสอบสวนและ เสร็จสิ้นเมื่อไหร่
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
วัตถุประสงค์ ในกำรสอบสวนโรค
เป็ นตัวกำหนดแนวทำง
และขอบเขตในกำรหำคำตอบในกำรสอบสวนโรค
ให้ ระบุวัตถุประสงค์ เฉพำะของกำรสอบสวนโรค เช่ น
• เพื่อยืนยันกำรวินิจฉัยและกำรระบำดของโรค
• เพื่อศึกษำลักษณะทำงระบำดวิทยำของโรคตำม
บุคคล เวลำ สถำนที่
• เพื่อค้ นหำแหล่ งโรค วิธีกำรถ่ ำยทอดโรค และผู้สัมผัสโรค
• เพื่อหำมำตรกำรในกำรป้ องกันควบคุมโรค
• อื่นๆ ตำมแต่ กรณี เช่ น ศึกษำประสิทธิภำพวัคซีน
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
วิธีกำรศึกษำทีใ่ ช้ ในกำรสอบสวนโรค
- รู ปแบบทีใ่ ช้ ในกำรศึกษำ
- นิยำมผู้ป่วย
- ศึกษำทำงห้ องปฏิบัติกำร สิ่ งแวดล้ อม
- เครื่ องมือที่ใช้ ในกำรสอบสวน
- สถิตทิ ใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
ระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ
ระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์
• Case-control study
• Cohort study
วิธีกำรศึกษำทีใ่ ช้ ในกำรสอบสวนโรค
1. กำรศึกษำระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ
ข้ อมูลผู้ป่วยได้ จำก - ทบทวน / รวบรวม …. (passive case finding)
- ค้ นหำผู้ป่วย (active case finding)
- นิยำมที่ใช้ ในกำรค้ นหำผู้ป่วย/ผู้สัมผัส
- วินิจฉัยผู้ป่วยจำกอะไร:- อาการ อาการแสดง ผลLab อะไรบ้ าง
2. กำรศึกษำระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์
(ถ้ ำมี)
รูปแบบกำรศึกษำใช้ case-control study หรือ cohort study
- นิยำม case / control
- เครื่องมือ เช่ น แบบสอบถำม ถำมอะไร
3. กำรศึกษำสิ่งแวดล้ อม (ถ้ ำมี)
สารวจสภาพแวดล้ อม และเก็บตัวอย่างจากสิ่งแวดล้ อม ส่งตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการ
4. สถิตท
ิ ่ ใี ช้ วิเครำะห์ ข้อมูล
เชิงพรรณนำ และเชิงวิเครำะห์ (ถ้ ำมี)
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
2
1
ยืนยันกำรเกิดโรค
ยืนยันกำรระบำด
•แสดงข้ อมูลให้ เห็นว่ ำมีกำรเกิดโรคจริง
• อำกำร และอำกำรแสดงของผู้ป่วย
• ผลกำรวินิจฉัยของแพทย์
• ผลกำรตรวจทำงห้ องปฏิบัติกำร
3
ข้ อมูลทัว่ ไป
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
1
ยืนยันกำรเกิดโรค
3
2
ยืนยันกำรระบำด
ข้ อมูลทัว่ ไป
•แสดงข้ อมูลให้ เห็นว่ ำมีกำรระบำดเกิดขึน้
•กรณี outbreak แสดงจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
•กรณี epidemic แสดงข้ อมูลเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยที่พบกับ
median หรื อจำนวนผู้ป่วยในช่ วงเวลำเดียวกันในปี ทีผ่ ่ ำนมำ
• แสดงให้ เห็นชัดถึงพืน้ ที่ที่มกี ำรระบำด เช่ น อัตรำป่ วยรำยพืน้ ที่
ค่ ำ
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ผลกำรศึกษำ
2
1
ยืนยันกำรเกิดโรค
ยืนยันกำรระบำด
เป็ นส่ วนที่แสดงให้ เห็นสภำพทั่วไป ของพืน้ ที่เกิดโรค
ในด้ ำนต่ ำงๆ ซึ่งอำจมีควำมสั มพันธ์ กบั กำรเกิดโรค
•ข้ อมูลประชำกร
• ข้ อมูลทำงภูมศิ ำสตร์ ของพื้นที่เกิดโรค
• เส้ นทำงคมนำคมและพื้นที่ติดต่ อ
• ข้ อมูลทำงเศรษฐกิจ ควำมเป็ นอยู่ วัฒนธรรม
• ข้ อมูลสุ ขำภิบำล สำธำรณูปโภค
• ข้ อมูลสิ่ งแวดล้ อม เช่ น ปริมำณน้ำฝน
3
ข้ อมูลทัว่ ไป
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
5
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
4.1 ระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ
ลักษณะกำรกระจำยโรคตำมบุคคล
ลักษณะกำรกระจำยโรคตำมเวลำ
ลักษณะกำรกระจำยโรคตำมสถำนที่
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ำ
ระวังโรค
4.2 ระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์
แสดงผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูลต่ ำงๆ
ตำมสมมติฐำนทีต่ ้ังไว้
 ระบำดวิทยำเชิงพรรณนำเป็ นส่ วนที่แสดงให้ เห็นถึงลักษณะของ
กำรเกิดโรคตำมตัวแปรทำงระบำดวิทยำ
 กำรกระจำยของโรคตำมบุคคล
- แสดงอัตรำป่ วย (Attack rate) ที่เกิดขึน้ ทัง้ หมด
- อธิบำยถึงกลุ่มอำยุ หรื อเพศที่มีอัตรำป่ วยสูงสุด ต่ำสุด และกลุ่มใด
เกิดโรคมำกที่สุด
 กำรกระจำยตำมเวลำ
- แสดงระยะเวลำเกิดโรค(duration of outbreak) ตัง้ แต่ รำยแรกถึงรำยสุดท้ ำย
- ระยะฟั กตัวโรค
- epidermic curve บอกหรื ออธิบำยลักษณะกำรเกิดโรคเป็ นแบบใด
 ระบำดวิทยำเชิงพรรณนำ
 กำรกระจำยตำมสถำนที่
- แสดงอัตรำป่ วยจำแนกในแต่ ละพืน้ ที่ เช่ น จำแนกตำม
ชัน้ เรียน หมู่บ้ำน นำเสนอโดยใช้ ตำรำง/แผนภูม/ิ แผนที่
- แสดงทิศทำงกำรกระจำยของโรค โดยใช้ spot map ให้
เห็นถึงจุดที่เกิดผู้ป่วยรำยแรก
 ระบำดวิทยำเชิงวิเครำะห์
แสดงถึงวิธีกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
ต่ ำงๆตำมสมุมุตฐิ ำนที่ตงั ้ ไว้ โดยแสดงตำรำงวิเครำะห์ กำรทดสอบปั จจัยที่สงสัย
ตำมรู ปแบบกำรศึกษำ
ปั จจัยที่สงสัย
1.
2.
ป่ วย
กิน
ไม่ ป่วย
OR
ไม่ กนิ กิน ไม่ กนิ
95%CI
……
…….. ……
…….
…… ………
……
…….. ……
…….
……
………
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
5
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ำ
ระวังโรค
• เก็บตัวอย่ ำงในคนและสิ่งแวดล้ อม เก็บอะไรบ้ ำงจำนวนเท่ ำไหร่
• วิธีท่ ีตรวจ
• สถำนที่ส่งตรวจ
• ผลกำรตรวจที่ได้ แสดงสัดส่ วนกำรตรวจพบเชือ้
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
5
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ำ
ระวังโรค
อธิบำยสิ่ งแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้ องกับกำรเกิดโรค
สภำพโรงครัว
แหล่งนำ้
ส้ วม
กรรมวิธีกำรปรุ งอำหำร
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
ผลกำรศึกษำ
4
ผลกำรศึกษำทำง
ระบำดวิทยำ
5
ผลกำรตรวจทำง
ห้ องปฏิบัติกำร
6
ผลกำรศึกษำทำง
สภำพแวดล้อม
7
ผลกำรเฝ้ำ
ระวังโรค
อธิบำยผลกำรเฝ้ ำระวังโรคหลังวันเริ่มป่ วยของผู้ป่วยรำยสุดท้ ำย จนครบ 2
เท่ ำของระยะฟกตัวของโรคในวันที่เท่ ำไหร่ ผลเป็ นอย่ ำงไร มีผ้ ูป่วยรำยใหม่
หรือไม่
ผลกำรศึกษำ
 เสนอผลตำมลำดับเหตุกำรณ์ ในวิธีกำรศึกษำ
 เสนอเฉพำะผลที่สำคัญ
ไม่ จำเป็ นต้ องมีรำยละเอียด
เล็กๆ น้ อยๆ ทุกอย่ ำง
 ถ้ ำมีตำรำง กรำฟ หรื อรู ปภำพ ต้ องใส่ หมำยเลข กำกับ
และเรียงตำมเหตุกำรณ์ ในเนือ้ เรื่อง
 จำนวนตำรำง กรำฟ และรู ปภำพ จะได้ สูงสุดเท่ ำไร
ขึน้ กับวำรสำรแต่ ละฉบับ
 ถ้ ำเสนอตำรำงแล้ ว ไม่ จำเป็ นต้ องลอกข้ อมูลในตำรำงลง
ไป ในเนือ้ เรื่องอีก
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
มาตรการควบคุมและป้ องกันโรค
 เพื่อควบคุมการระบาดที่เกิดขึน้ ในขณะนัน้
 เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดผูป้ ่ วยรายใหม่
Agent
Host
Environment
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
วิจำรณ์ ผล
อธิบำยเหตุกำรณ์ ทเี่ กิดขึน้
สั้ นๆ
อภิปรำยว่ ำผลทีไ่ ด้ ตรงกับ
วัตถุประสงค์ หรื อสมมุตฐิ ำนหรื อไม่
โดยเชื่ อมโยงกับวรรณกรรมว่ ำอะไร
ทีเ่ หมือนเดิม อะไรทีแ่ ตกต่ ำง
แตกต่ ำงอย่ ำงไร เพรำะอะไร
วิจำรณ์ ควำมสำเร็จ
หรื อล้มเหลวในกำร
ควบคุมโรค
อภิปรำยให้ เห็นถึงควำมแตกต่ ำงหรื อคล้ ำยคลึง
กับกำรระบำดในอดีตหรื อไม่ อย่ำงไร
เป็ นกำรแปลผลกำรสอบสวนและให้ เหตุผลกำรแปลนัน้
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ปัญหำและข้ อจำกัดในกำรสอบสวนโรค
• ระบุปัญหำอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้
• ข้ อจำกัดที่พบในขณะสอบสวนโรค
• บอกแนวทำงกำรแก้ ไขปัญหำ สำหรับกำรสอบสวน
ครั้งต่ อไป
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
สรุปผลการสอบสวน ตอบวัตถุประสงค์ และสมมุตฐิ ำนที่ตงั ้ ไว้
ยืนยันกำรเกิดโรคและกำรระบำด
แหล่ งรังโรค
วิธีถ่ำยทอดโรค
กลุ่มเสี่ ยง
ปัจจัยเสี่ ยง
สถำนกำรณ์ ล่ำสุ ด
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ข้อเสนอแนะ
 ข้อเสนอให้ผเู้ กี่ยวข้องเกี่ยวกับมาตรการควบคุม
ป้ องกันโรคไม่ให้เกิดในอนาคต
 ข้อเสนอเพื่อปรับปรุงการสอบสวนในครังหน้
้ า
ให้ สอดคล้ องและจำเพำะ กับผลกำรศึกษำ
องค์ ประกอบและวิธีกำรเขียนรำยงำน ฉบับสมบูรณ์
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
กิตติกรรมประกำศ
• ผู้ให้ ควำมร่ วมมือในกำรสอบสวนโรค
• ผู้ให้ กำรสนับสนุนด้ ำนกำรตรวจทำงห้ องปฏิบัตกิ ำร
• ผู้ทใี่ ห้ ข้อมูลอื่นๆ ประกอบกำรสอบสวนโรค
เอกสำรอ้ ำงอิง
• รู ปแบบแวนคูเวอร์ ( Vancouver Style)
• รู ปแบบมำตรฐำน อื่นๆ ตำมที่วำรสำรกำหนด
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
2. วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวน
เบื้องต้ น (Preliminary Report)
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
หลักกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบื้องต้ น
-รายงานการสอบสวนผูป
้ ่ วยเฉพาะราย
ให้ ระบุรำยละเอียดข้ อมูลผู้ป่วยรำยนัน้ และผู้สัมผัส
-รายงานการสอบสวนการระบาด
ให้ สรุ ปรำยละเอียดข้ อมูลผู้ป่วยทุกรำย นำเสนอเป็ น
ภำพรวมกำรระบำด
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
องค์ ประกอบของรำยงำนกำรสอบสวนเบื้องต้ น
ควำมเป็ นมำ
ผลกำรสอบสวนโรค
ประกอบด้วย 6 หัวข้อหลัก
แนวโน้ มของกำรระบำด
กิจกรรมควบคุมโรคที่ทำไปแล้ ว
สรุ ปควำมสำคัญ และเร่ งด่ วน
ข้ อเสนอเพื่อพิจำรณำดำเนินกำร
ความยาว 1-2 หน้ ากระดาษ A4
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบือ้ งต้ น
บทนาหรือ
ความเป็ นมา
เกิดอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
แหล่งข่าวใด ผูใ้ ห้ข่าวเป็ นใคร
ข้อมูลเบือ้ งต้นของ Index case
บอกให้ ทรำบถึงเหตุกำรณ์
ผิดปกติท่ นี ำไปสู่กำร
สอบสวนกำรระบำด
ขนาดของปัญหาที่ได้รบั แจ้ง
เริ่มสอบสวนและเสร็จสิ้นเมื่อไร
วัตถุประสงค์ในการสอบสวนโรค
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบือ้ งต้ น
ผลกำรศึกษำ
- สถานการณ์ที่เกิดขึน้ จานวนผูป้ ่ วย เสียชีวิต
- ผูป้ ่ วยเป็ นใคร หรือเป็ นกลุ่มเสี่ยงใด
- แหล่งรังโรคและวิธีถา่ ยทอดโรค
- สาเหตุของการระบาด
- ปัจจัยเสี่ยงที่สมั พันธ์กบั การระบาด
- ผลตรวจทางห้องปฏิบตั ิ การ ศึกษาสิ่งแวดล้อม
วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบือ้ งต้ น
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
กิจกรรมควบคุมโรคทีด่ ำเนินกำรแล้ ว
- ระบุกิจกรรมควบคุมโรคที่ดาเนินการแล้ว
- ระบุหน่ วยงานที่ร่วมดาเนินการควบคุมโรค
- รายงานผลการควบคุมโรคในเบือ้ งต้น
วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบือ้ งต้ น
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
แนวโน้ มของกำรระบำด
พยำกรณ์ แนวโน้ มกำรระบำด โดยประมวลจำก
- จานวนผูป้ ่ วยยืนยัน ผูป้ ่ วยสงสัยที่พบ
- พบสาเหตุหรือแหล่งรังโรคหรือไม่
- มาตรการควบคุมโรคมีประสิทธิภาพหรือไม่
- อยู่ในฤดูการระบาดของโรคหรือไม่
วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบือ้ งต้ น
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
สรุปควำมสำคัญทำงสำธำรณสุ ข และควำมเร่ งด่ วน
- สรุปขนาดของปัญหา และผลกระทบต่อประชาชน
- ระดับของผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว
-เป็ นการระบาดหรือเป็ นโรคอุบตั ิ ใหม่หรือไม่
- ต้องการความเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาหรือไม่
วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวนเบือ้ งต้ น
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ข้ อเสนอเพื่อพิจำรณำดำเนินกำร
- มาตรการควบคุมโรคเดิมที่ต้องดาเนินการต่อ
- ระบุมาตรการใหม่ที่ต้องดาเนินการเพิ่ม
- ระบุหน่ วยงานที่ต้องประสานงานดาเนินการ
- ให้ความสาคัญกับการเฝ้ าระวังโรคต่อเนื่ อง
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
3. วิธีกำรเขียนรำยงำนกำรสอบสวน
สรุปเสนอผู้บริหำร (Final Report)
•
หลักกำรเดียวกันกับกำรเขียนรำยงำนฉบับสมบูรณ์
•
แต่ มีเพียงองค์ ประกอบหลักเท่ ำนัน้ ได้ แก่





ชื่ อเรื่ อง
ผู้รำยงำนและทีมสอบสวนโรค 

ควำมเป็ นมำ

วัตถุประสงค์
วิธีกำรศึกษำ
ผลกำรสอบสวน
มำตรกำรควบคุมป้ องกันโรค
สรุ ปผล
Bureau of Epidemiology
สำนักระบำดวิทยำ กรมควบคุมโรค
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจำกกำรเขียนรำยงำน
• ผู้เขียนได้ รับควำมรู้เพิม่ เติมจำกขบวนกำรเขียน เรียบเรียงข้ อมูล
• ผู้บริหำรและผู้เกีย่ วข้ องได้ รับทรำบเหตุกำรณ์ ทเี่ กิดขึน้
และนำไปใช้ ประโยชน์ วำงแผนควบคุมและป้ องกันโรคต่ อไป
• ผู้อ่ำนได้ รับควำมรู้ในเรื่ องกำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำ
• พัฒนำคุณภำพของกำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำ
จุดอ่ อนของรำยงำนกำรสอบสวนโรค
1. ควำมเป็ นมำ:- ยังไม่ ครอบคลุมประเด็นที่ควรจะมี เช่ น
ข้ อมูลของ index case ควำมจำเป็ นที่ต้องสอบสวนโรค
ทีมสอบสวน ระยะเวลำที่ออกสอบสวน
2. วัตถุประสงค์ ของกำรสอบสวนโรค ไม่ ชัดเจน
3. วิธีกำรสอบสวนไม่ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์
4. กำรตัง้ นิยำมผู้ป่วย เพื่อกำรค้ นหำผู้ป่วยเพิ่มเติม ส่ วน
ใหญ่ ไม่ ถูกต้ อง ไม่ ครอบคลุม
5. ผลกำรสอบสวนไม่ ตอบวัตถุประสงค์ &ไม่ สำมำรถบอกประเด็น
สำคัญของกำรสอบสวนโรคได้ เช่ น ขนำดของปั ญหำกำรเกิดโรค
ในครัง้ นัน้ ๆ , ขอบเขตกำรเกิดโรคไม่ ชัดเจน, กำรถ่ ำยทอดโรค,
ปั จจัยสนับสนุนให้ เกิดกำรแพร่ ระบำด ฯลฯ จึงเสมือนเป็ นเพียง
กำรรำยงำนผู้ป่วยเท่ ำนัน้
6. ลำดับขัน้ ตอนกำรเขียน:- กล่ ำวถึงประเด็นเดียวกัน ซำ้
ไป ซำ้ มำ
7. เนือ้ หำมำกเกินควำมจำเป็ น:- กำรลอกรำยละเอียด
ของ อำกำร กำรรักษำ ผล Lab จำกแฟ้ มทะเบียนผู้ป่วยเกือบ
ทัง้ หมด มำไว้ ในรำยงำนสอบสวนโรค ที่ควรเป็ นคือสรุ ปประเด็น
จำกรำยละเอียดเหล่ ำนัน้ ออกมำให้ ได้ ว่ำ ลักษณะอำกำรหลัก คือ
อะไร สอดคล้ องกับ ผล Lab/ กำรรักษำของแพทย์ หรือไม่ และ
จำกข้ อมูลดังกล่ ำว สำมำรถสรุ ปได้ หรือไม่ ว่ำ น่ ำจะเป็ นโรคใด
8. ข้ อเสนอมำตรกำรควบคุมป้ องกัน ยังไม่ สำมำรถระบุมำตรกำร
ที่จำเพำะและสอดคล้ องกับสถำนกำรณ์ จริง เช่ น กำรให้ ยำแก่ ผ้ ู
สัมผัสมำกเกินควำมจำเป็ น, คำแนะนำในกำรควบคุมโรค ควร
ระบุให้ ชัดเจนว่ ำ ข้ อเสนอเหล่ ำนัน้ จะให้ ใครทำ จะทำอย่ ำงไร
และเริ่มทำ/สิน้ สุดเมื่อไร,
9. ขำดควำมเข้ ำใจเรื่องกำรสอบสวนเชิงพรรณนำและเชิง
วิเครำะห์