Raster to Vector

Download Report

Transcript Raster to Vector

Raster to Vector
การแปลงจากข้ อมูลราสเตอร์ เป็ นข้ อมูลเวคเตอร์
อรุณี พุทธสุ วรรณ รหัส 44032672
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาคปกติ
สิ่ งทีจ่ ะนาเสนอ
บทนำ
ประเภทข้อมูลในระบบ GIS
ควำมแตกต่ำงของ raster และ vector
ขั้นตอนพื้นฐำนในกำรแปลงข้อมูล
ตัวอย่ำงที่ได้จำกกำรแปลงข้อมูล
ตัวอย่ำงโปรแกรมที่ใช้ในกำรแปลงข้อมูล
บทนา
ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (The Geographic Information System หรือ GIS)
เป็ นกำรปฏิบตั ิกำรรวบรวม จัดเก็บ และวิเครำะห์ขอ้ มูลภูมิศำสตร์ รวมทั้งกำรค้น
คืนข้อมูล และกำรแสดงผลข้อสนเทศ
องค์ ประกอบของ GIS แบ่ งเป็ น 5 ส่ วน คือ
1 ฮำร์ดแวร์ (Hardware)
2 ซอฟต์แวร์ (Software)
3 ข้อมูล (Data)
4 บุคลำกร (Peopleware)
5 วิธีกำรปฏิบตั ิงำน (Methodology หรื อ Procedure)
ประเภทข้ อมูลในระบบ GIS
แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
 ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่ ( Spatial data )
 ข้ อมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data )
 ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่ ( Spatial data )
เป็ นข้อมูลที่สำมำรถอ้ำงอิงกับตำแหน่งทำงภูมิศำสตร์ (Georeferenced) ทำงภำคพื้นดิน เป็ นที่ทรำบและยอมรับกันทัว่ ไปว่ำ สิ่ ง
ต่ำงๆที่ปรำกฎบนพื้นโลกย่อมมีที่ต้ งั ที่แน่นอนว่ำอยู่ ณ ที่ใด และ
สำมำรถกำหนดลงไปได้
ตาแหน่ งทางภูมศิ าสตร์ มี 2 แบบ
1. ตำแหน่งสัมบูรณ์
2. ตำแหน่งสัมพัทธ์
 ข้ อมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data )
เป็ นคุณสมบัติ หรื อคุณลักษณะประจำข้อมูลภูมิศำสตร์หนึ่งๆ
โดยปกติมกั เรี ยกคุณสมบัติของข้อมูลทำงภูมิศำสตร์ น้ นั ๆว่ำข้อมูลที่ไม่ใช่
เชิงพื้นที่ (non-spatial data) ทั้งนี้เพรำะตัวของมันเองไม่ได้แสดงข้อมูลที่
เกี่ยวกับตำแหน่งแต่อย่ำงใด
ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
 ข้อมูลรำสเตอร์ ( Raster data )
 ข้อมูลเวคเตอร์ ( Vector data )
ราสเตอร์ ( Raster )
ประกอบด้วยลักษณะของช่องสี่ เหลี่ยมที่เรี ยกว่ำ “กริ ด” หรื อ “จุด” (Grid or
Pixels) โดยในแต่ละจุดจะประกอบด้วยตัวเลขซึ่ งใช้ในกำรแทนค่ำของระดับควำม
เข้มที่ต่ำงกันในแต่ละส่ วนของภำพ
GRID
เวคเตอร์ ( Vector )
ประกอบด้วยลักษณะของจุด(Point) เส้น(Line) รู ปเหลี่ยมพื้นที่(Polygon)
ซึ่ งขบวนกำรเก็บของข้อมูลเวคเตอร์ จะใช้คู่พิกดั X และ Y เป็ นตัวชี้ตำแหน่ง
POINT
LINE
POLYGON
RASTER AND VECTOR
VECTOR
POINT
LINE
POLYGON
RASTER
ความแตกต่ างของ raster และ vector
แบบราสเตอร์
แบบเวคเตอร์
ความชัดเจนของภาพ
ควำมชัดเจนดี
ควำมชัดเจนในส่ วนจุดเส้นและรู ป
เหลี่ยมพื้นที่
คารสอบถามข้ อมูล
กำรสอบถำมข้อมูลเชิงระยะทำงจะช้ำ
กำรสอบถำมข้อมูลเชิงระยะทำงจะเร็ว
ความเหมือนจริงของภาพ
มีควำมเหมือนจริ งมำก
มีควำมเหมือนจริ งน้อย
การปรับปรุงและแก้ ไขข้ อมูล ต้องใช้เวลำมำกและแก้ไขยำก
สำมำรถทำได้ง่ำยและรวดเร็ว
ขั้นตอนพืน้ ฐานในการแปลงข้ อมูล
1. Skeletonization and Thining
2. Line tracking
3.Topological Reconstruction
ตัวอย่ างการแปลงภาพ
Raster
Vector
ตัวอย่ างการแปลงภาพ
Raster
Vector
สรุป
กำรเก็บข้อมูลลงในฐำนข้อมูลของระบบ GIS นั้น จะต้องทำ
กำรเก็บข้อมูลที่เป็ นข้อมูลประเภทเวคเตอร์ลงในฐำนข้อมูล จึงจำเป็ นที่
จะต้อง แปลงข้อมูลรำสเตอร์ที่เรำได้มำให้เป็ นข้อมูลเวคเตอร์ซ่ ึงเริ่ มจำก
ทำให้ภำพมีโครงร่ ำงที่บำง จำกนั้นก็ทำกำรหำส่ วนของเส้นตรง สุ ดท้ำย
ทำกำรจัดควำมสัมพันธ์ของส่ วนประกอบของภำพ แล้วก็ทำกำรเก็บ
ข้อมูลเวคเตอร์ที่ได้น้ ีลงในฐำนข้อมูล
แหล่ งทีม่ าของข้ อมูล
กิ่งกำญจน์ วงศ์วภิ ำพรและดร.บุญวัฒน์ อัตชู.2541.กำรแปลงข้อมูลภำพจำกรู ปแบบ
รำสเตอร์เป็ นเวคเตอร์แบบอัตโนมัติ.วำรสำรสำรสนเทศลำดกระบัง.59-61
สรรค์ใจ กลิ่นดำว.2542.ระบบสำรสนเทศภูมิศำสตร์ หลักกำรเบื้องต้น.ครั้งที่1.
กรุ งเทพฯ:มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
website
http://www.gis2me.com/gis/index.htm
http://provice.moph.go.th/makhonratchasima/gis_koratpage.htm
http://ce.utexas.edu/prof/maidment/giswr2003/visual/spatial.ppt
http://www-dwaf.pwy.gov.za/lWQS/r2v/main.shtml
http://www.cardhouse.com/computer/vector.htm
http//ablesw.com/r2v/r2vhome.htm R2V