ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง
Download
Report
Transcript ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง
ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้ างอิง
แผนการจัดการเรียนรู้
สาระการเรี ยนรู้ เรื่ อง
ทรั พยากรสารสนเทศ
เพื่อการอ้ างอิง
ความหมายและ
ลักษณะของ
เครื่ องมือช่วยค้ นคว้ า
ทรัพยากรสารสนเทศ
เพื่อการเรี ยนรู้
ประเภทของ
ทรัพยากรสารสนเทศ
อ้ างอิงที่ให้ คาตอบ
อ้ างอิงที่แนะนา
เพื่อการอ้ างอิง
อบโดยตรง
แหล่งคาตอบ
ความหมาย
หนัทรั
งสืพอยากรสารสนเทศอ้
อ้ างอิงคืออะไร ? างอิงคืออะไร?
ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้ างอิง (Reference
books) เป็ นหนังสือที่แตกต่างไปจากหนังสือทัว่ ไป จัดทาขึ ้นเพื่อใช้
ตอบปั ญหาเฉพาะเรื่ อง ไม่จาเป็ นต้ องอ่านทังเล่
้ ม เนื ้อหาแต่ละตอนจะมี
ความสมบูรณ์ในตัวเองสิง่ ตีพิมพ์
วัตถุประสงค์ให้ ผ้ อู า่ นได้ ความรู้และข้ อเท็จจริงที่ถกู ต้ องเชื่อถือได้
เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หรื อผู้เชี่ยวชาญในสาขานันๆ
้
ลักษณะพิเศษ คือ จะมี สัญลักษณ์ อ หรือ R หรื อRef
เครื่องมือช่ วยค้ นสารสนเทศ
เพื่อความสะดวกในการค้ นหาข้ อมูล ทรัพยากรสารสนเทศ
เพื่อการอ้ างอิง จะมีเครื่ องมือช่วยค้ นคว้ าสารสนเทศที่ต้องการได้
รวดเร็วหลายลักษณะ ได้ แก่
อักษรนาเล่ ม (volume guide) จะปรากฏที่สนั หนังสือ
ดัชนีริมหน้ ากระดาษ(Thumb index)
เป็ นการตัดกระดาษริมขวาของ
หนังสืออ้ างอิงให้ เป็ นรูปครึ่งวงกลมแล้ ว
กากับด้ วยตัวอักษรเพื่อช่วยค้ นหา
คาต่างๆที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว
คานาทาง (Guide word )
• คือคาที่ปรากฏอยูท่ ี่มมุ บนของ
หน้ ากระดาษทุกหน้ า เพื่อแนะนา
ว่าเรื่ องที่จะค้ นได้ อยูใ่ นหน้ านันๆ
้
ดัชนี หรือ ดรรชนี (Index)
•
คือ คาสาคัญหรื อ หัวข้ อสาคัญ
ที่ปรากฏบนหนังสือนามาเรี ยง
ตามลาดับอักษร มีเลขหน้ ากากับไว้
บอกให้ ทราบว่า คานี ้จะพบที่หน้ าใด
บ้ างในเล่ม
ประเภทหนังสื ออ้ างอิง
หนังสืออ้ างอิง แบ่ งเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่
1. หนังสืออ้ างอิงที่ให้ คาตอบได้ โดยตรง สามารถตอบ
คาถามได้ ทันที ได้ แก่
พจนานุกรม (Dictionary)
• เป็ นหนังสือรวบรวมคา ความหมายของคา การอ่านออกเสียง
การสะกดคาและที่มาของคาและอื่นๆ
มีการเรี ยบเรี ยงคาตามลาดับอักษรและ
สระเพื่อความสะดวกในการค้ นหา
ที่มีใช้ ในภาษาไทย
ตัวอย่ างการใช้ พจนานุกรม
คำ
เสี ยงอ่ำน
ชนก, ชนก-[ชะนก, ชะนะกะ-]น. ชำยผูใ้ ห้เกิด,
ประวัติของคำ
พ่อ. (ป.;ส.) ชนกกรรม [ชะนะกะกัม] น.
กรรมอันนำให้เกิดหรื อกรรมอันเป็ น
ต้นเค้ำทั้งข้ำงดีหรื อข้ำงชัว่
ตัวอย่ำงกำรใช้คำ เช่นกรรมอันทำให้เกิดเป็ นคนชั้นสู ง
เป็ นชนกกรรมฝ่ ำยกุศล. (อรรศำสน์).
ชนนี [ชนนะนี] น. หญิงผูใ้ ห้เกิด,
แม่. (ป.; ส.)
ชนิดของคำ
คำที่ประกอบ
ขึ้นใหม่
หนังสื อที่อำ้ ง
ควำมหมำย
ประเภทของพจนานุกรม
แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ
พจนานุกรมภาษา
(General Language
dictionary )
พจนำนุกรม
ภำษำเดียว
พจนานุกรม
สองภาษา
พจนานุกรมเฉพาะวิชา
(Subject dictionary )
พจนานุกรม
หลายภาษา
สารานุกรม(Encyclopedia)
คือหนังสือที่รวบรวมความรู้ในแขนงวิชาต่างๆ ไว้ ในเล่มเดียวกันหรื อชุด
เดียวกัน ให้ คาอธิบาย
เรื่ องราวของสิง่ ต่างๆ อย่าง
ละเอียดจัดเรี ยงเนื ้อหา
ตามลาดับอักษร มีดชั นี
ช่วยค้ น สารานุกรมอาจมี
เล่มเดียวจบหรื อ
หลายเล่มจบ เรี ยกว่า หนังสือชุด
ประเภทสารานุกรม
สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication )
• เป็ นสิง่ พิมพ์ที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐ
อาจเป็ นระดับ กระทรวง กรม
กอง หรื อรัฐวิสาหกิจ เพื่อเผยแพร่ผล
การปฏิบตั ิงานความเคลื่อนไหวของ
หน่วยงาน หรื อความก้ าวหน้ าทาง
วิชาการ เป็ นแหล่งที่ให้ ข้อเท็จจริง
ปฐมภูมิ (primary Source )
วารสาร
รายงานการ
สารวจวิจยั
หนังสือ
อื่นๆ
ประเภทสิง่ พิมพ์
รัฐบาล
เอกสารอัดสาเนา
แผ่นปลิว
หนังสือรายปี
หนังสือพิมพ์
ภาพโฆษณา
อักขรานุกรมชีวประวัติ
อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical
dictionary) เป็ นหนังสือที่รวบรวมชีวประวัติ
ของบุคคลบุคคลสาคัญ
จัดเรี ยงชีวประวัติตามลาดับอักษร
สาหรับชาวต่างประเทศเรี ยงตามลาดับ
นามสกุล ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับ ปี เกิด
ปี ตาย ภูมิลาเนา การศึกษา สถานภาพ
ครอบครัว อาชีพ หน้ าที่การงาน และผลงาน
ประเภทของอักขรานุกรมชีวประวัติ
อักขรานุกรมชีวประวัติแบ่ง
ออกเป็ น 2 ประเภท
อักขรานุกรม
ชีวประวัติบคุ คล
ทัว่ ไป
บุคคลที่
เสียชีวิตแล้ ว
อักขรานุกรม
ชีวประวัติบคุ คล
กลุม่ ใดกลุม่ หนึ่ง
บุคคลที่ยงั มี
ชีวิต
หนังสืออ้ างอิงทางภูมศิ าสตร์
หนังสืออ้ างอิงทางภูมิศาสตร์
(Geographical source )
เป็ นหนังสือที่รวบรวมความรู้
ข้ อเท็จจริง และรายละเอียด
เกี่ยวกับชื่อ สถานที่ทางภูมิศาสตร์
ได้ แก่ ชื่อประเทศ เมือง แม่น ้า ภูเขา มหาสมุทร
เป็ นต้ น
ประเภทของหนังสืออ้ างอิงทางภูมิศาสตร์
อักขรำนุกรมภูมิศำสตร์
(ให้ขอ้ มูลที่ต้ งั จำนวนประชำกร พื้นที่ ระยะ)
แผนที่และหนังสือแผนที่
( Map, Atlases )
หนังสือนาเที่ยว
(Guidebooks)
อ้ำงอิงทำงภูมิศำสตร์
แบ่งเป็ น
3 ประเภท
รายปี ( Yearbooks)
• หนังสือประเภทนี ้จัดพิมพ์รายปี รวบรวม
ความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ บุคคลสาคัญ
และความก้ าวหน้ าของวิทยาการ
สาขาต่างๆ ในรอบปี ที่ผ่านมา
เสนอข้ อความสันๆ
้ ในรูปของตาราง
สถิติและปฏิทินเหตุการณ์ หรื ออื่นๆ
ประเภทของหนังสือรายปี
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
หนังสือรายปี ทัว่ ไป
( General
yearbook )
หนังสือรายปี
สารานุกรม
( Encyclopedia
yearbook)
หนังสือรายงานประจาปี
(Subject records of
progress)
สมพัตสร
(Almanac)
หนังสือรายปี สรุป
ข่าวปั จจุบนั
( News
Summary )
หนังสือคูม่ ือ(Hand Books )
• เป็ นหนังสือที่รวบรวมความรู้เบ็ดเตล็ด โดยให้ ข้อเท็จจริ งอย่างสันๆ
้
เพื่อใช้ เป็ นคูม่ ือสาหรับค้ นหาคาตอบในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งได้ อย่างสะดวกและ
รวดเร็ ว
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
☺ หนังสือคูม่ ือทัว่ ไป รวบรวมความรู้ ข้ อเท็จจริ งเรื่ องสันๆ
้
หลายสาขาวิชา หรื อเบ็ดเตล็ด
☺ หนังสือคูม่ ือเฉพาะวิชา เป็ นหนังสือรวบรวมความรู้เฉพาะ
สาขาวิชา ไม่ รวมถึงหนังสือประเภทตาราเรียน เช่น คูม่ ือการใช้ คอมพิวเตอร์
คูม่ ือการทาอาหาร ฯลฯ
นามานุกรมหรือ ทาเนียบนาม(Directory)
• เป็ นหนังสือรวบรวมรายชื่อบุคคลหรื อ
องค์กร โดยมีการจัดเรี ยงชื่ออย่างมีระบบ
.บุคคลจะใช้ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ ตาแหน่ง
หน้ าที่การงาน หมายเลขโทรศัพท์
.องค์กรหรื อสถาบัน จะใช้ ชื่อ
ที่ตงั ้ หมายเลขโทรศัพท์ หน้ าที่
ความรับผิดชอบบุคลากร และ
อื่นๆ
ประเภทของทาเนียบนามแบ่งได้ 6 ประเภท
ทาเนียบนามสินค้ าและบริการ
(รายชื่อห้ างร้ าน บริษัท)
นามานุกรมอื่นๆ
ทาเนียบนามรัฐบาล(หน่วยงาน
รัฐบาลในระดับกระทรวง ทบวง
กรม และสานักงาน)
ทาเนียบนามท้ องถิ่น(สมุด
รายนามผู้ใช้ โทรศัพท์ โรงเรี ยน
เขตการศึกษา)
ทาเนียบสมาชิกสมาคม
วิชาชีพ(สมาคมแพทย์
สมาคมห้ องสมุดฯลฯ)
ทาเนียบนามสถาบัน(โรงเรี ยน
วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย)
2. หนังสืออ้ างอิงที่แนะนาแหล่ งคาตอบ ได้ แก่
บรรณานุกรม(Bibiography )
•
เป็ นหนังสื อที่รวบรวมรำยชื่อสิ่ งพิมพ์ เรี ยบเรี ยงวว้อย่ำง
เป็ นระบบ ให้รำยละเอียดเกี่ยวกับชื่อผูแ้ ต่ง
ชื่อหนังสื อครั้งที่พิมพ์ สถำนที่พิมพ์ ผูจ้ ดั พิมพ์
ปี พิมพ์ หรื อ จำนวนหน้ำ จำนวนเล่ม
รำคำ บรรณำนุกรม
บำงเล่มเรี ยกว่ำ บรรณนิทัศน์
การจัดเรี ยงลาดับมีหลายวิธี
การจัดเรี ยงลาดับ บรรณานุกรม
• การจัดเรี ยงลาดับ มีหลายวิธี คือ
☻จัดเรี ยงลาดับอักษรแบบพจนานุกรม
☻จัดเรี ยงลาดับประเภทของชื่อผู้แต่ง หรื อตามอักษรหัวเรื่ อง
☻จัดเรี ยงลาดับตามระบบการแบ่งหมวดหมู่
ประเภทของบรรณานุกรม
▪ บรรณานุกรมทัว่ ไป (Universal Bibliographies) เป็ นหนังสือรวม
รายชื่อสิง่ พิมพ์ไม่จากัดปี พิมพ์ สาขาวิชา ภาษา หรื อประเทศที่จดั พิมพ์
▪บรรณานุกรมแห่งชาติ (National Bibliographies)เป็ นหนังสือรวม
รายชื่อสิง่ พิมพ์ที่จดั พิมพ์ขึ ้นในประเทศใดประเทศหนึง่ หรื อมีเนื ้อหา
เกี่ยวกับประเทศใดประเทศหนึง่ หรื อเขียนเป็ นภาษาของชาตินนั ้ โดยไม่
จากัดสาขาวิชา
▪บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Bibliographies ) เป็ นหนังสือ
รวมรายชื่อสิง่ พิมพ์ในสาขาวิชาใดวิชาหนึง่ โดยเฉพาะ
(ต่อ)
▪บรรณานุกรมเฉพาะบุคคล(lndividual Bibliographies ) เป็ น
หนังสือรวมรายชื่องานเขียนของบุคคลใดบุคคลหนึง่ และงานเขียน
ของผู้อื่นที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลนัน้ จัดทาขึ ้นเพื่อให้ ความสะดวก
ในการศึกษาเกี่ยวกับชีวิต แนวคิด และผลงานของบุคคลนัน้
▪บรรณานุกรมเพื่อการค้ า(Trade Bibliographies ) เป็ นหนังสือรวม
รายชื่อสิง่ พิมพ์ใหม่ซงึ่ จัดทาโดยสานักพิมพ์เพื่อเผยแพร่ให้ ผ้ ซู ื ้อทราบ
▪บรรณานุกรมของบรรณานุกรม (Bibliographies ) เป็ นหนังสือ
รวมรายชื่อหนังสือบรรรานุกรมในสาขาวิชาใดวิชาหนึง่ โดยเฉพาะ
ดรรชนี(Index)
• เป็ นสิง่ พิมพ์ที่รวบรวมชื่อบทความทางวิชาการ
ที่จะเป็ นประโยชน์ในการศึกษา
ค้ นคว้ าวิจยั ซึง่ ตีพิมพ์ในวารสาร
ต่างๆ สามารถใช้ สืบค้ นเพื่อ
เข้ าถึงบทความที่ต้องการได้
ได้ แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อบทความ
ชื่อวารสารที่ลงเรื่ องนันๆ
้ ปี ที่
ฉบับที่ วันเดือนปี ของวารสาร
และเลขหน้ าที่ลงบทความ
ประเภทของดรรชนีวารสาร
ประเภทของดรรชนีวารสาร
แบ่งเป็ น 4 ประเภท
ดรรชนีวารสาร
ทัว่ ไป
ดรรชนีวารสาร
เฉพาะวิชา
ดรรชนีวารสารที่
ห้ องสมุดจัดทาขึ ้นเอง
ดรรชนีวารสาร
เฉพาะชื่อ
สารสนเทศเพื่อการอ้ างอิงออนไลน์
• ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้ างอิงออนไลน์ ปั จจุบนั มีเป็ นจานวนมาก
เพื่อความเข้ าใจและสะดวกในการสืบค้ น ขอยกตัวอย่างเพื่อความเข้ าใจ
ดังนี ้
♦ พจนานุกรม http://dictionary.cammbridgc.org/
♦ สารานุกรม http://www.encyclopedia.com
♦ หนังสือรายปี http://siamaregives.com/index.
♦ อักขรานุกรมชีวประวัติ http://www.s9.com/
(ต่อ)
♦ นำมำนุกรม (สมุดโทรศัพท์หน้ำเหลืองฉบับภำษำวทย)
http://www.yellowpages.co.th/
♦ สิ่ งพิมพ์รัฐบำล http:thaigov.net/links.php
♦ บรรณำนุกรม จัดทำโดยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ
(สกอ .) http://ue.thailis.or.th/
♦ ดรรชนีวำรสำรวทย ออนวลน์
http://library2.nind.ac.th/index/top.htm
การประเมินคุณค่ าสารสนเทศเพือ่ การอ้ างอิง
• การประเมินคุณค่ าสารสนเทศเพือ่ การอ้างอิง มีหลักการประเมินดังนี้
☺ความน่ าเชื่อถือ
สิ่ งสาคัญประการแรกคือ คุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญของผู้แต่ ง ผู้รวบรวมหรือ
ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนถึงความมีชื่อเสี ยงของสานักพิมพ์หรือ
สถาบันทีอ่ ุปถัมภ์
(ต่อ)
☺ขอบเขต
จะต้ องพิจารณาว่ า หนังสืออ้ างอิงนัน้ มีขอบเขต
ครอบคลุมเนือ้ หาวิชาตามที่ระบุไว้ หรือไม่
เนือ้ หา มีความทันสมัย และมีบรรณานุกรมมาอ้ างอิง
ประกอบการเขียน
(ต่อ)
• ☺การเสนอเรื่องราวหรือเนือ้ หาวิชา
ต้องมีขอ้ มูลที่ถูกต้อง ชัดเจน เชื่อถือวด้ ปรำศจำกอคติ
ในกำรแสดงควำมคิดเห็น
(ต่อ)
☺แบบการเขียน
พิจารณาดูว่าเป็ นหนังสือที่ผ้ ูเขียน เขียนขึน้ สาหรับผู้อ่าน
ทั่วไป สาหรับนักศึกษาวิชาเฉพาะที่มีความลึกซึง้ ในวิชา
☺การจัดลาดับของเนือ้ หาวิชา
พิจารณาดูว่าหนังสืออ้ างอิงชื่อนัน้ จัดเรียงลาดับเนือ้
เรื่องอย่ างไร เช่ น เรียงลาดับอักษร เรียงตามลาดับหมวดหมู่
วิชา หรือเรียงตามที่ตงั ้ ทางภูมิศาสตร์
(ต่อ)
☺การจัดรูปเล่ ม
ต้ องพิจารณาถึงลักษณะของตัวพิมพ์ ชนิดของกระดาษ
การจัดคอลัมน์ การเข้ าเล่ม ว่ ามีคุณภาพเพียงใด
☺ลักษณะพิเศษ
จะต้ องพิจารณาส่ วนประกอบอืน่ ทีช่ ่ วยให้ หนังสื ออ้ างอิงชื่อนั้นมี
ลักษณะเด่ น แตกต่ างไปจากเล่มอืน่ เช่ น มีภาพประกอบ แผนภูมิ ตาราง
กราฟ และบรรณานุกรม
จบแล้ วนะคะ
จบแล้ วนะค