PowerPoint - ฝ่ายวิชาการและวิจัย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

Download Report

Transcript PowerPoint - ฝ่ายวิชาการและวิจัย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

ทำอย่ำงไรถึงจะประสบควำมสำเร็จ
ในกำรขอตำแหน่ งทำงวิชำกำร
โดย
ศำสตรำจำรย์เกียรติคณ
ุ ดร. นิธิยำ รัตนำปนนท์
คณะอุตสำหกรรมเกษตร
มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ตาแหน่ งทางวิชาการแบ่ งออกเป็ น 5 ระดับ
อาจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์ (ท. 11)
อัตราส่ วนของตาแหน่ งทางวิชาการที่ควรเป็ น
ในมหาวิทยาลัย
อาจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์
=
=
=
=
20
25
45
10
หรือ อ : ผศ. : รศ. : ศ. = 20 :25 : 45 : 10
(ที่มา : ณรงค์ , 2554)
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
• อาจารย์
•
•
•
•
=
14
คน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ =
17.5 คน
รองศาสตราจารย์
=
31.5 คน
ศาสตราจารย์
=
7 คน
ศาสตราจารย์ ท 11 =
0 คน
อ : ผศ. : รศ. : ศ. = 20 :25 : 45 : 10 (n=70)
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
• อาจารย์
•
•
•
•
•
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์ ท 11
อ : ผศ. : รศ. : ศ.
=
43
คน
=
24 คน
=
1
คน
=
0
คน
=
0
คน
= 61.4 : 34.2 : 1.4 : 0
บทบำทของอำจำรย์ในมหำวิทยำลัย
• อาจารย์ จาเป็ นต้ องพัฒนาฐานะทางวิชาการของ
ตนเองให้ ได้ ตามเกณฑ์ มาตรฐาน
• เพือ่ เป็ นแบบอย่ างของผู้มีความรับผิดชอบในการทา
ความเจริญก้ าวหน้ าทางวิชาการให้ แก่ มหาวิทยาลัย
• เพือ่ ให้ มหาวิทยาลัยได้ รับการยอมรับว่ ามีฐานะทาง
วิชาการเป็ นเลิศ ทัดเทียมกับมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ
(ที่มา : ณรงค์ , 2554)
อาจารย์ คอื ใครในมหาวิทยาลัย?
• อาจารย์ เป็ นบุคลากรหลักของมหาวิทยาลัย
• อาจารย์ เป็ นผู้นาทางวิชาการที่สาคัญในการพัฒนา
วิชาการของมหาวิทยาลัย
• อาจารย์ จึงได้ รับการส่ งเสริมให้ มีตาแหน่ งทาง
วิชาการ
(ที่มา : ณรงค์ , 2554)
ทาอย่ างไรถึงจะประสบความสาเร็จ
ในการขอตาแหน่ งทางวิชาการ
เทคนิคในการเตรี ยมผลงานเพื่อใช้ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ
• ตั้งใจจริ ง มุ่งมัน่ ขยัน อดทน (ทนอด)
• ไม่มีอะไรที่มนุษย์ทาไม่ได้-ถ้าพยายาม
• ถ้าคนอื่นทาได้ เราก็ตอ้ งทาได้
• การจะทาอะไรให้สาเร็ จได้จะต้องลงทุน (ลงทุน-ลงแรง)
• หากตั้งใจจริ ง ทาดี ทาด้วยความละเอียด รอบคอบ
• จะได้ผลกาไรตอบแทน คือ ความสาเร็ จ
เช่น ได้เงินรางวัลและได้เงินประจาตาแหน่งเพิ่มเติม
เงินประจาตาแหน่ งที่ได้ รับเพิม่ ขึน้ จากเงินเดือน
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
= 5,600 บาท
รองศาสตราจารย์
= 9,900 บาท
ศาสตราจารย์
= 13,000 (15,000) บาท
ศาสตราจารย์ ท. 11 = 15,000 (17,000) บาท
(ข้ าราชการ x 2)
วิธีการขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ
วิธีปกติ
อาจารย์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์ (ท. 11)
รองศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์
วิธีพิเศษ (ทางลัด)
อาจารย์
รองศาสตราจารย์
อาจารย์
ศาสตราจารย์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์
(ทางลัด = เป็ นขอรับการประเมินข้ามเกินกว่า 1 ระดับ)
คุณสมบัตเิ ฉพาะตาแหน่ งตามคุณวุฒิ
• ระยะเวลาขั้นต่าในการเข้าสู่ตาแหน่ง
- ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ (ป.ตรี 9 ปี , ป.โท 5 ปี , ป.เอก 2 ปี )
- รองศาสตราจารย์ (เป็ นผูช้ ่วยศาสตราจารย์มาแล้ว 3 ปี )
- ศาสตราจารย์ (เป็ นรองศาสตราจารย์มาแล้ว 2 ปี )
วิธีการพิจารณาตามเกณฑ์ ก.พ.อ.
ตาแหน่ งผู้ช่วยศาสตราจารย์
•
•
•
•
มีชวั่ โมงการสอนประจาวิชาไม่นอ้ ยกว่า 15-30 ชัว่ โมง
มีผลการประเมินการสอนว่าชานาญในการสอน
มีเอกสารประกอบการสอน ตามรายวิชาที่สอน
ผลงานทางวิชาการที่ประเมินโดยผูท้ รงคุณวุฒิ
– มีงานวิจยั และ/หรื อบทความทางวิชาการ หรื อหนังสื อ
(ผลการประเมินคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดีท้ งั หมด)
วิธีการพิจารณาตามเกณฑ์ ก.พ.อ.
ตาแหน่ งรองศาสตราจารย์
• มีชวั่ โมงการสอนประจาวิชาไม่นอ้ ยกว่า 15-30 ชัว่ โมง
• มีผลการประเมินการสอนว่าชานาญพิเศษในการสอน
• มีเอกสารคาสอน ตามรายวิชาที่สอน
• ผลงานทางวิชาการที่ประเมินโดยผูท้ รงคุณวุฒิ
• มีงานวิจยั ควรตีพิมพ์ในวารสารที่มี peer review และมีหนังสื อหรื อ
ตารา
• ผลงานควรแสดงถึงความชานาญเฉพาะทางตามสาขาที่ขอตาแหน่ง
(ผลการประเมินคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดีท้ งั หมด)
วิธีการพิจารณาตามเกณฑ์ ก.พ.อ.
• ศาสตราจารย์ มี 2 แบบ
• แบบที่ 1
– ผลการสอน: มีชวั่ โมงการสอนประจาวิชา
– ผลการประเมินการสอน ต้องเชี่ยวชาญในการสอน
– มีผลงานวิจยั อย่างเดียว ตีพิมพ์ในวารสารที่มี peer review ระดับ
นานาชาติ
– หรื อ มีผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นๆ สาหรับสาขาศิลปะ
แขนงต่างๆ เช่น ภาพวาด งานปั้ น งานประดิษฐ์ต่างๆ
– หรื อ มีผลงานตาราอย่างเดียว
(ผลการประเมินต้องอยูใ่ นระดับดีเด่น)
วิธีการพิจารณาตามเกณฑ์ ก.พ.อ.
• ศาสตราจารย์ แบบที่ 2
– ผลการสอน: มี ชัว่ โมงการสอนประจาวิชา และเชี่ยวชาญใน
การสอน
– มีตารา หรื อหนังสื อ และ
– มีผลงานวิจยั ตีพิมพ์ในวารสารที่มี peer review ระดับ
นานาชาติ
หรื อ มีผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นสาหรับสาขาศิลปะ
(ผลการประเมินต้องอยูใ่ นระดับดีมาก)
จานวนผู้ทรงคุณวุฒทิ ปี่ ระเมินผลงาน
• วิธีปกติ
• ประธาน 1 คน
• ผูท้ รงคุณวุฒิ 3 คน ต้อง ผ่าน 2 ใน 3
• วิธีพิเศษ
• ประธาน 1 คน
• ผูท้ รงคุณวุฒิ 5 คน ต้องผ่าน 4 ใน 5
การแก้ไขผลงาน
• ผลงานวิจยั หรื อบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์แล้ว
หากไม่ผา่ นการพิจารณาไม่สามารถนามาแก้ไขได้
• หนังสื อและตาราให้นามาแก้ไขข้อบกพร่ องใหม่ได้
• การนับเวลา
ให้นบั วันที่ส่งผลงานที่แก้ไขเรี ยบร้อยแล้ว
เอกสารประกอบการสอน
• เป็ นผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการสอน
วิชาใดวิชาหนึ่งในหลักสูตรของสถาบัน
อุดมศึกษา ที่สะท้อนให้เห็นถึงเนื้อหาวิชา และ
วิธีการสอนอย่างเป็ นระบบ จัดเป็ นเครื่ องมือที่
สาคัญของผูส้ อนในการใช้ประกอบการสอน
(ประกาศ กพอ. พ.ศ. 2550)
เอกสารคาสอน
คือผลงานทางวิชาการที่ใช้สอนวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของ
สถาบันอุดมศึกษา ที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาที่สอน และ
วิธีการสอนอย่างเป็ นระบบ อาจพัฒนาขึ้นจากเอกสาร
ประกอบการสอน จนมีความสมบูรณ์มากกว่าเอกสาร
เอกสารประกอบการสอน จัดเป็ นเครื่ องมือสาคัญของ
ผูเ้ รี ยนที่นาไปศึกษาด้วยตนเองได้ หรื อเพิม่ เติมขึ้นจากการ
เรี ยนในวิชานั้นๆ (ประกาศกพอ. พ.ศ.2550)
ความหมายของตารา
• ตารา
เป็ นผลงานเขียนทางวิชาการที่เรี ยบเรี ยงขึ้นอย่างเป็ น
ระบบ ครอบคลุมเนื้อหาสาระของทั้งวิชา หรื อส่ วน
หนึ่งของวิชาที่สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถใน
การถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษาในการเรี ยนการ
สอนในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา
ผลงานทางวิชาการที่เป็ น “ตารา” นี้ อาจ
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาจากเอกสารคาสอน
จนถึงระดับทีม่ ีความสมบูรณ์ ทสี่ ุ ด ซึ่ง
ผูอ้ ่านอาจเป็ นบุคลอื่นที่มิใช่ผเู ้ รี ยนในวิชา
นั้น แต่สามารถอ่านและทาความเข้าใจใน
สาระของตารานั้นด้วยตนเองได้ โดยไม่
ต้องเข้าศึกษาในวิชานั้น
รูปแบบของตารา
เป็ นรูปเล่ มทีป่ ระกอบด้ วยคานา สารบัญ เนือ้
เรื่อง การอธิบายหรือการวิเคราะห์ การสรุป การ
อ้ างอิง และบรรณานุกรม ทั้งนี้ อาจมีการอ้ างอิง
แหล่ งข้ อมูลทีท่ นั สมัย และครบถ้ วนสมบูรณ์
การอธิบายสาระสาคัญมีความชัดเจน โดยอาจ
ใช้ขอ้ มูล แผนภาพ ตัวอย่าง หรื อกรณี ศึกษาประกอบ
จนผูอ้ ่านสามารถทาความเข้าใจในสาระสาคัญนั้นได้
โดยเบ็ดเสร็ จ
การเผยแพร่ ตารา
1. ด้วยวิธีการพิมพ์โดยโรงพิมพ์ (printing house) หรื อ
สานักพิมพ์ (publishing house) หรื อการถ่ายสาเนาเย็บ
เป็ นรู ปเล่ม หรื อทาในรู ปแบบอื่นๆ
2. โดยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ เช่น การเผยแพร่ ในรู ปของ
ซีดีรอม ฯลฯ
การเผยแพร่ ตารา (ต่ อ)
การเผยแพร่ ตอ้ งเป็ นไปอย่างกว้างขวางมากกว่าการใช้ในการเรี ยน
การสอนวิชาต่างๆในหลักสูตรเท่านั้น
• จานวนพิมพ์เป็ นดัชนีหนึ่งที่อาจแสดงการเผยแพร่ ได้อย่าง
กว้างขวาง
• อาจใช้ดชั นีอื่นวัดความกว้างขวางในการเผยแพร่ ได้เช่นกัน
• ต้องได้รับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพร่ จาก
คณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรื อสถาบันทาง
วิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชานั้นๆ
• ต้องใช้ในการเรี ยนการสอนมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งภาคการศึกษา
•
ลักษณะคุณภาพของตาราระดับดี
เป็ น“ตารา” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้ อง
สมบูรณ์ และทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ น
ประโยชน์การเรี ยนการสอนระดับอุดมศึกษา
•
ลักษณะคุณภาพของตาราระดับดีมาก
• เป็ น “ตารา” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้อง สมบูรณ์ และทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์การเรี ยนการสอน
ระดับอุดมศึกษา
• มีการวิเคราะห์และเสนอความรู ้ หรื อวิธีการที่ทนั สมัยต่อ
ความก้าวหน้าทางวิชาการ และเป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการสอดแทรกความคิดริ เริ่ มและประสบการณ์ หรื อผลงานวิจยั ของ
ผูเ้ ขียนที่เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความรู ้ที่เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนการ
สอน
• สามารถนาไปใช้อา้ งอิงหรื อนาไปปฏิบตั ิได้
ลักษณะคุณภาพของตาราระดับดีเด่ น
• เป็ น“ตารา” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้อง สมบูรณ์ และ
ทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการวิเคราะห์และเสนอความรู้ หรื อวิธีการที่ทนั สมัยต่อ
ความก้าวหน้าทางวิชาการ และเป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการสอดแทรกความคิดริ เริ่ มและประสบการณ์ หรื อผลงานวิจยั ของ
ผูเ้ ขียนที่เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความรู้ที่เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยน
การสอน
• สามารถนาไปใช้อา้ งอิงหรื อนาไปปฏิบตั ิได้
ลักษณะคุณภาพของตาราระดับดีเด่ น (ต่ อ)
• มีลกั ษณะเป็ นงานบุกเบิกทางวิชาการ และมีการ
สังเคราะห์จนถึงระดับที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ (body of
knowledge) ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
• มีการกระตุน้ ให้เกิดความคิดและค้นคว้าต่อเนื่อง
• เป็ นที่เชื่อถือและยอมรับในวงวิชาการ หรื อวิชาชีพที่
เกี่ยวข้องในระดับชาติ และ/หรื อนานาชาติ
ผลการพิจารณา “ตารา”
เมื่อได้มีการพิจารณาประเมินคุณภาพของ
“ตารา” ไปแล้ว การนา “ตารา” นั้นไปแก้ไข
ปรับปรุ ง หรื อเพิม่ เติมเนื้อหาในตารา เพื่อนามา
เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ และให้มี
การประเมินคุณภาพ “ตารา” นั้นอีกครั้งหนึ่ง
อาจกระทาได้ แต่จะต้องทาการเผยแพร่ “ตารา”
นั้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง
ความหมายของหนังสื อ
• หนังสื อ เป็ นผลงานทางวิชาการที่เรี ยบเรี ยงขึ้นโดยมีรากฐาน
ทางวิชาการที่มนั่ คง และให้ทศั นะของผูเ้ ขียนที่สร้างเสริ ม
ปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่ งทางวิชาการให้แก่
สาขาวิชานั้นๆ และ/หรื อสาขาที่เกี่ยวเนื่อง มีความต่อเนื่อง
เชื่อมโยงในเชิงเนื้อหาและครอบคลุมโดยไม่จาเป็ นต้อง
สอดคล้องหรื อเป็ นไปตามข้อกาหนดของหลักสู ตร หรื อของ
วิชาหนึ่งวิชาใดในหลักสูตร และไม่จาเป็ นต้องนาไปใช้
ประกอบการเรี ยนการสอนในวิชาหนึ่งวิชาใด ทั้งนี้เนื้อหาสาระ
ของหนังสื อต้องมีความทันสมัย เมื่อพิจารณาถึงวันที่จดั พิมพ์
รูปแบบของหนังสื อ
เป็ นรู ปเล่ มทีป่ ระกอบด้ วยคานา สารบัญ เนือ้ เรื่อง
การวิเคราะห์ การสรุป การอ้ างอิง และบรรณานุกรม ทั้งนี้
อาจมีการอ้ างอิงแหล่ งข้ อมูลทีท่ นั สมัย และครบถ้ วน
สมบูรณ์
การอธิบายสาระสาคัญมีความชัดเจน โดยอาจใช้
ข้อมูล แผนภาพ ตัวอย่าง หรื อกรณี ศึกษาประกอบ จน
ผูอ้ ่านสามารถทาความเข้าใจในสาระสาคัญนั้นได้โดย
เบ็ดเสร็ จ
การเผยแพร่ หนังสื อ
1. ด้วยวิธีการพิมพ์โดยโรงพิมพ์ (printing house) หรื อ
สานักพิมพ์ (publishing house) หรื อการถ่ายสาเนาเย็บ
เป็ นรู ปเล่ม หรื อทาในรู ปแบบอื่นๆ
2. โดยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ เช่น การเผยแพร่ ในรู ปของ
ซีดีรอม ฯลฯ
การเผยแพร่ หนังสื อ (ต่ อ)
ต้องเป็ นไปอย่างกว้างขวางมากกว่าการใช้ในการเรี ยนการสอน
วิชาต่างๆในหลักสู ตรเท่านั้น
• จานวนพิมพ์เป็ นดัชนีหนึ่งที่อาจแสดงการเผยแพร่ ได้อย่าง
กว้างขวาง
• อาจใช้ดชั นีอื่นวัดความกว้างขวางในการเผยแพร่ ได้เช่นกัน
• ต้องได้รับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพร่ จาก
คณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรื อสถาบันทาง
วิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชานั้นๆ
• ต้องเผยแพร่ สู่สาธารณชนมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 4 เดือน
•
ลักษณะคุณภาพของหนังสื อระดับดี
เป็ น“หนังสื อ” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ
ถูกต้ อง สมบูรณ์ และทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ น
ประโยชน์ต่อวงวิชาการ
•
ลักษณะคุณภาพของหนังสื อระดับดีมาก
• เป็ น “หนังสื อ” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้อง สมบูรณ์ และทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์การเรี ยนการสอน
ระดับอุดมศึกษา
• มีการวิเคราะห์และเสนอความรู ้ หรื อวิธีการที่ทนั สมัยต่อ
ความก้าวหน้าทางวิชาการ และเป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการสอดแทรกความคิดริ เริ่ มและประสบการณ์ หรื อผลงานวิจยั ของผูเ้ ขียน
ที่เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความรู ้ที่เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอน
• สามารถนาไปใช้อา้ งอิงหรื อนาไปปฏิบตั ิได้
ลักษณะคุณภาพของหนังสื อระดับดีเด่ น
• เป็ น“หนังสื อ” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้อง สมบูรณ์ และ
ทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการวิเคราะห์และเสนอความรู้ หรื อวิธีการที่ทนั สมัยต่อ
ความก้าวหน้าทางวิชาการ และเป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการสอดแทรกความคิดริ เริ่ มและประสบการณ์ หรื อผลงานวิจยั ของ
ผูเ้ ขียนที่เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความรู้ที่เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยน
การสอน
• สามารถนาไปใช้อา้ งอิงหรื อนาไปปฏิบตั ิได้
ลักษณะคุณภาพของหนังสื อระดับดีเด่ น (ต่ อ)
• มีลกั ษณะเป็ นงานบุกเบิกทางวิชาการ และมีการ
สังเคราะห์จนถึงระดับที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ (body of
knowledge) ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
• มีการกระตุน้ ให้เกิดความคิดและค้นคว้าต่อเนื่อง
• เป็ นที่เชื่อถือและยอมรับในวงวิชาการ หรื อวิชาชีพที่
เกี่ยวข้องในระดับชาติ และ/หรื อนานาชาติ
ผลการพิจารณา “หนังสื อ”
เมื่อได้มีการพิจารณาประเมินคุณภาพของ
“หนังสื อ” ไปแล้ว การนา “หนังสื อ” นั้นไป
แก้ไขปรับปรุ งหรื อเพิม่ เติมเนื้อหาใน “หนังสื อ”
เพื่อนามาเสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ
และให้มีการประเมินคุณภาพ “หนังสื อ” นั้นอีก
ครั้งหนึ่งอาจกระทาได้ แต่จะต้องทาการเผยแพร่
“หนังสื อ” นั้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง
ตาราหรือหนังสื อทีด่ ี
• มีเนื้อหาตรงตามชื่อของตาราหรื อหนังสื อ
• มีเนื้อหาถูกต้องและครบถ้วนตามหลักวิชาการ
• ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่ายและใช้ภาษาไทยให้มากที่สุด
• ทุกคนสามารถอ่านเข้าใจและได้ความหมายเดียวกัน
• หลีกเลี่ยงการใช้คาหรื อภาษาที่เป็ นศัพท์วิชาการมาก
เกินไป
• ใช้คาศัพท์วิทยาศาสตร์ตามราชบัณฑิตฯ
คานิยามบทความทางวิชาการ
• เป็ นงานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกาหนดประเด็นที่
ต้องการอธิบาย หรื อวิเคราะห์อย่างชัดเจน ทั้งนี้มี
การวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลักวิชาการจน
สามารถสรุ ปผลการวิเคราะห์ประเด็นนั้นได้ อาจ
เป็ นการนาความรู้จากแหล่งต่างๆ มาประมวลร้อย
เรี ยง เพื่อวิเคราะห์อย่างเป็ นระบบ โดยที่ผเู้ ขียนได้
แสดงทัศนทางวิชาการของตนไว้อย่างชัดเจนด้วย
รู ปแบบของบทความทางวิชาการ
• เป็ นบทความที่มีความยาวไม่มากนัก ประกอบด้วย
• บทนา หรื อการนาความที่แสดงเหตุผล หรื อที่มา
ของประเด็นที่ตอ้ งการอธิบายหรื อวิเคราะห์
• มีกระบวนการที่ตอ้ งการอธิบายหรื อวิเคราะห์
• มีบทสรุ ป
• มีการอ้างอิง มีบรรณานุกรมที่ครบถ้วน
สมบูรณ์ และทันสมัย
ลักษณะการเผยแพร่
• เผยแพร่ ในรู ปแบบของบทความทางวิชาการในวารสารทาง
วิชาการที่มีกาหนดการเผยแพร่ อย่างแน่นอนชัดเจน
• เผยแพร่ ในหนังสื อรวบรวมบทความในรู ปแบบอื่น
ที่มีบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความ
ต่างๆ ในหนังสื อนั้น
• เผยแพร่ ในหนังสื อประมวลผลการประชุมทางวิชาการ
(proceedings) ของการประชุมระดับชาติ หรื อนานาชาติ
ที่มีบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความ
ต่างๆ ที่นาเสนอนั้นแล้ว
การประเมินคุณภาพระดับดี
• เป็ น“บทความทางวิชาการ” ที่มีเนื้ อหาสาระทาง
วิชาการ ถูกต้ อง สมบูรณ์ และทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์
ต่อวงวิชาการ
การประเมินคุณภาพระดับดีมาก
• เป็ น“บทความทางวิชาการ” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ
ถูกต้อง สมบูรณ์ และทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์ต่อวง
วิชาการ
• มีการวิเคราะห์และเสนอความรู้ หรื อวิธีการที่ทนั สมัยต่อ
ความก้าวหน้าทางวิชาการ และเป็ นประโยชน์ต่อวง
วิชาการ
• สามารถนาไปใช้อา้ งอิงหรื อนาไปปฏิบตั ิได้
การประเมินคุณภาพระดับดีเด่ น
• เป็ น“บทความทางวิชาการ” ที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้อง สมบูรณ์ และ
ทันสมัย
• มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชดั เจน เป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• มีการวิเคราะห์และเสนอความรู ้ หรื อวิธีการที่ทนั สมัยต่อความก้าวหน้าทาง
วิชาการ และเป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
• สามารถนาไปใช้อา้ งอิงหรื อนาไปปฏิบตั ิได้
• มีลกั ษณะเป็ นงานบุกเบิกทางวิชาการ และมีการสังเคราะห์จนถึงระดับที่สร้าง
องค์ความรู ้ใหม่ (body of knowledge) ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
• มีการกระตุน้ ให้เกิดความคิดและค้นคว้าต่อเนื่อง เป็ นที่เชื่อถือและยอมรับใน
วงวิชาการ หรื อวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในระดับชาติ และ/หรื อนานาชาติ
การพิจารณาบทความทางวิชาการ
• เมื่อได้เผยแพร่ ตามลักษณะข้างต้น และได้มีการพิจารณา
ประเมินคุณภาพของ “บทความทางวิชาการ” นั้นแล้ว
• การนา “บทความทางวิชาการ” นั้นมาแก้ไขปรับปรุ ง หรื อเพื่อ
เติมส่ วนหนึ่งส่ วนใด เพื่อนามาเสนอขอกาหนดตาแหน่งทาง
วิชาการ และให้มีการประเมินคุณภาพ “บทความทางวิชาการ”
นั้นอีกครั้งหนึ่ง จะกระทาไม่ ได้
www.themegallery.com
ข้ อบกพร่ องที่เกีย่ วข้ องกับการเขียนบทความทางวิชาการ
• การใช้วธิ ี ตดั ต่อข้อความโดยขาดความเชื่อมโยงที่จะทาให้
เกิดภาพสะท้อนของประเด็นสาคัญของเนื้อหา
• การเขียนที่มีเนื้อหากว้างเกินไป
• การกล่าวอ้างผลงานวิจยั ที่ลา้ สมัย
• การเรี ยบเรี ยงเนื้อหาไม่สอดคล้องกัน
• การยกคากล่าวอ้างที่ยงั ไม่เป็ นที่ยอมรับในประชาคมวิจยั
• มีความอคติ
แนวทางการเขียนบทความทางวิชาการ
– เลือกหัวข้อของบทความที่ทนั สมัย
– ระบุเนื้อหาและประเด็นที่เป็ น
สาระสาคัญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
– ใช้สานวนและภาษาที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
– เขียนประโยคสั้นๆ ที่เป็ นประโยคสมบูรณ์ ใช้ภาษาที่เรี ยบง่าย กระชับและ
ได้ใจความ
– ใช้ภาษาที่สุภาพและเป็ นทางการ ไม่ใช้คาฟุ่ มเฟื อยและไม่ซ้ าซาก
– ใช้กริ ยาที่เป็ นอดีต (past tense) ได้ทามาแล้ว ไม่ใช่ จะทา
– การสะกดคาวิทยาศาสตร์ ใช้ตามประกาศของราชบัณฑิตยสถาน
– การใช้ตวั ย่อ ต้องเขียนคาเต็ม และวงเล็บตัวย่อมาก่อนจึงจะใช้คาย่อ
– การขึ้นต้นประโยคที่เป็ นจานวนเลขหรื อเศษส่ วนต้องเขียนเป็ นตัวอักษร
การยืน่ ขอตาแหน่ งผู้ช่วยศาสตราจารย์
• มีเอกสารประกอบการสอน
• ผ่ านการประเมินการสอน
• ผ่านการประเมินเอกสารประกอบการสอน
• มีบทความวิจยั ที่เป็ นผูว้ ิจยั หลัก
• มีบทความทางวิชาการ หรื อหนังสื อ
(ไม่แนะนาให้เขียนตารา)
การยืน่ ขอตาแหน่ งรองศาสตราจารย์
• มีเอกสารคาสอน
• ผ่านการประเมินการสอน
• ผ่านการประเมินเอกสารคาสอน
• มีผลงานวิจยั ที่ตีพิมพ์ระดับชาติหรื อนานาชาติที่มี
peer review
• มีหนังสื อหรื อตาราที่จดั พิมพ์โดยโรงพิมพ์
จะเริ่มต้นทำผลงำนอย่ำงไร?
• อาจารย์ รับผิดชอบสอนวิชาใดในหลักสู ตร
• อาจารย์ ต้องขยัน อ่ านหนังสื อ ตารา และวารสารต่ างๆ
ที่เกีย่ วข้ องกับวิชาที่ตนเองสอน เพือ่ นามาใช้ เตรียมเป็ น
เอกสารประกอบการสอน
• เตรียมให้ มีหัวข้ อครบถ้ วนทั้งรายวิชา
หรือส่ วนของรายวิชาที่รับผิดชอบสอน
• เป็ นคู่มือของอาจารย์ ผู้สอนใช้ ประกอบการสอน
เอกสำรประกอบกำรสอน
• เมือ่ ทาสาเร็จครบถ้ วน นั่นคือ เอกสารประกอบการสอน
เป็ นผลงานเพือ่ ใช้ ยนื่ ขอประเมินการสอนได้
• การประเมินการสอน จะกระทาระดับคณะ
หรือสานัก แต่ ต้องประเมินจริงๆ
• เอกสารทุกอย่ างจะต้ องถูกส่ งไปตรวจสอบ
อีกครั้งทีส่ กอ. เมือ่ ผ่ านสภามหาวิทยาลัยแล้ ว
• บางครั้งผู้ทรงคุณวุฒิอาจขอดูเอกสารประกอบการสอน
กำรพัฒนำเอกสำรประกอบกำรสอนเป็ นเอกสำรคำสอน
• อาจารย์ ผู้สอนยังต้ องขยันอ่ านหนังสื อ ตารา และวารสารต่ างๆ อย่ าง
ต่ อเนื่อง เพือ่ ให้ มีความรู้ ใหม่ ๆ และทันสมัย
• นามาเพิม่ เติมในเอกสารประกอบการสอน ให้ มีรายละเอียดมากขึน้
เรื่อยๆ ทุกครั้งทีจ่ ะสอน จนมีรายละเอียดของเนือ้ หาครบถ้ วน ถูกต้ อง
สมบูรณ์ และทันสมัย ทั้งรายวิชาหรือส่ วนของรายวิชาที่รับผิดชอบสอน
• เป็ นการปรับปรุ งเอกสารประกอบการสอนจนได้ เป็ นเอกสารคาสอน
• จัดพิมพ์ เป็ นรู ปเล่ ม ตรวจทานคาผิดให้ เรียบร้ อย ได้ เป็ นเอกสารคาสอน
• นักศึกษาสามารถนาไปอ่ านหรือศึกษาได้ ด้วยตนเอง
ขัน้ ตอนกำรผลิตผลงำนทำงวิชำกำร
• ต้องสะสม Textbook / Review / บทควำมวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
กับวิชำหรือหัวข้อที่รบั ผิดชอบสอนให้มำกที่สดุ
• รวบรวมข้อมูลรำยละเอียดที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่
รับผิดชอบสอน
• เป็ นนักสะสมข้อมูล
•
•
•
•
•
ขั้นตอนการผลิตผลงานทางวิชาการ (ต่ อ)
รวบรวมเนื้อหาจากเอกสารหลักก่อน
เพิ่มเติมรายละเอียดจากเอกสารเล่มอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
และจากวารสารใหม่ๆ เพื่อให้ทนั สมัย
อ่านและแก้ไขสิ่ งที่ยงั ไม่ถูกต้องและไม่สมบูรณ์ เช่น
พิมพ์ผดิ พลาด ตกหล่น
ต้องอ่านทบทวนหลายๆ ครั้ง
ผลงานเขียนที่อาจารย์ที่จะใช้ขอตาแหน่งทางวิชาการ
ไม่ควรให้นกั ศึกษาช่วยทา
ขั้นตอนการผลิตผลงานทางวิชาการ (ต่ อ)
• การนารู ปหรือตารางมาจากตาราเล่ มอืน
่ ต้ องอ้ างอิง
แหล่ งทีม่ าทุกครั้ง
• หากถ่ ายภาพเองได้ จะดีมาก (ที่มา : ถ่ ายภาพโดยผู้เขียน)
• ใช้ เอกสารอ้ างอิงทีท่ นั สมัยทีส่ ุ ด นอกจากเรื่องประวัติการ
ค้ นพบ ควรให้ เกียรติผู้ค้นพบ
• ไม่ ลอกผลงานจากตาราภาษาไทยของผู้อนื่
ความหมายของการทาวิจัย
• การทาวิจยั หมายถึงการค้นคว้าหาความรู ้อย่างเป็ นระบบ
เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย
• โดยมีระเบียบวิธีการวิจยั อันเป็ นที่ยอมรับในแต่ละศาสตร์ ที่
เกี่ยวข้อง
• ครอบคลุมทั้งแนวคิ ด และวิธีการที่ ใช้รวบรวมข้อมูลและ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
ความสาคัญของการทาวิจัย
ทาไมต้องทาวิจยั ?
– เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
– เพื่อสร้างข้อมูลใหม่
– เพื่อสร้างความสามารถจัดการความรู้
– เพื่อการสร้างเครื อข่ายการทางานวิจยั
www.themegallery.com
ประเภทของการวิจัย
• การวิจัยพืน้ ฐาน : เพื่อสร้างองค์ความรู ้ใหม่
• การวิจยั ประยุกต์ : เพื่อมุ่งใช้ประโยชน์จาก
ผลลัพธ์ของงานวิจยั
• การวิจยั เชิงกลยุทธ์ : เพื่อบ่งชี้แนวทาง
ความก้าวหน้าของแต่ละศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของการวิจัย
– แบ่งตามสาขาวิชา
• การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์
• การวิจยั ทางสังคมศาสตร์
– แบ่งตามตามลักษณะของข้อมูลวิจยั
• การวิจยั เชิงปริ มาณ
• การวิจยั เชิงคุณภาพ
จริ ยธรรมกับงานวิจยั
– นักวิจยั ต้องซื่อสัตย์ และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ
– นักวิจยั ต้องตระหนักถึงพันธกรณี ในการทาวิจยั ตามที่ตกลงไว้กบั หน่วยงาน
ที่สนับสนุนให้ทุนในการทาวิจยั
– นักวิจยั ต้องมีพ้นื ฐานความรู ้ในสาขาที่จะทาการวิจยั
– นักวิจยั ต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่ งที่นามาทาการวิจยั
– นักวิจยั ต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิ ทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็ นตัวอย่างในการทาวิจยั
– นักวิจยั ต้องนาผลงานวิจยั ไปใช้ในทางที่ชอบ
– นักวิจยั พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอ้ ื่น
– นักวิจยั ต้องไม่ลอกผลงานของผูอ้ ื่นมาเป็ นผลงานของตนเอง
– นักวิจยั พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
กระบวนการวิจัย
กาหนดปั ญหาการวิจยั
การตรวจเอกสาร
การดาเนินการวิจยั
การเขียนข้อเสนอ
โครงการวิจยั
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดระบบและ
วิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ
การนาเสนอผลงานวิจยั
เพื่อใช้แก้ปัญหา
การเผยแพร่
ผลงานวิจยั
การกาหนดวัตถุประสงค์
และสมมติฐานการวิจยั
การออกแบบการวิจยั
การสรุ ปผลการวิจยั
การเขียนรายงานการวิจยั
การกาหนดปัญหางานวิจัย
•
การกาหนดปัญหาการวิจยั ประกอบด้วยการเลือก
ปัญหาการวิจยั และให้นิยามปัญหา
• แนวคิดงานวิจยั ที่สามารถนาไปสู่ปัญหางานวิจยั ที่มี
ศักยภาพนั้นอยูบ่ นพื้นฐานของความอยากรู้อยากเห็น
มีความคิดสร้างสรรค์ และนามาปฏิบตั ิได้
แหล่งของปัญหางานวิจัย
– รายงานการวิจยั ของนักวิจยั ท่านอื่นๆ
– สิ ทธิบตั รนานาชาติ
– การเข้าร่ วมสัมมนา การประชุมวิชาการ
– การเสนอหัวข้อที่ควรทาวิจยั ของหน่วยงานที่ให้ทุนสนับสนุน
– การอภิปรายร่ วมกันกับนักวิจยั นักวิชาการ และผูเ้ ชี่ยวชาญ
– ปัญหาจากหน่วยงานของภาครัฐ เอกชน และโรงงานอุตสาหกรรม
– การติดตามงานวิจยั ในปั จจุบนั ของหน่วยงานวิจยั ต่างๆ
ภูมิหลังของงานวิจัย
ภูมิหลัง : คือที่มาของปัญหาที่จะศึกษาวิจยั
– ควรเขียนในลักษณะวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เข้าใจอย่างชัดเจนว่า
ปัญหานั้นคืออะไร และทาไมถึงสนใจที่จะทาการศึกษา
– วางโครงเรื่ องให้มีการเชื่อมโยงถึงทฤษฎี หรื อหลักฐานที่เชื่อถือ
ได้ของนักวิทยาศาสตร์ ท่านอื่นๆ เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ
– ขอบเขตของการวิจยั จะพิจารณาจากกลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรที่
ต้องการศึกษา และจัดวางตาแหน่งของตัวแปรที่สนใจศึกษาว่า
มีความสัมพันธ์อย่างไรกัน
จุดบกพร่ องทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเขียนภูมหิ ลัง
– เนื่องมาจาก
• การใช้วธิ ี ตดั ต่อข้อความโดยขาดความเชื่อมโยงที่จะทาให้
เกิดภาพสะท้อนของปัญหางานวิจยั
• การเขียนที่กว้างเกินไป
• การกล่าวอ้างผลงานที่ลา้ สมัย
• การยกคากล่าวอ้างที่ยงั ไม่เป็ นที่ยอมรับในประชาคมวิจยั
• การเกิดอคติ
• การอ้างสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
แนวทางการตั้งชื่อโครงการวิจัย
–ระบุเนื้อหาที่สาคัญ
– มีวธิ ีวจิ ยั
– ระบุกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
–ประเด็นสาระสาคัญ
ตัวอย่ างหัวข้ องานวิจัย
• Comparison of Sodium Acid Sulfate to Citric Acid to
Inhibit Browning of Fresh-Cut Potatoes
• Physicochemical Properties of Bread Dough and Finished
Bread with Added Pectin Fiber and Phenolic Antioxidants
• Reduction of Pesticide Residues on Fresh Vegetables with
Electrolyzed Water Treatment
• Comparative Study of Phenolic Compounds and
Antioxidant Activity in Different Species of Mango
• Changes in Volatile Compounds of Peanut Oil during the
Roasting Process for Production of Aromatic Roasted
Peanut Oil
• Comparison of Fermented Soybean Paste Prepared by
Different Methods Based on Profiling of Volatile
Compounds
ความสาคัญของการตรวจเอกสาร
(Literature review)
เป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองจาก
แหล่งข้อมูลต่างๆที่อาจเข้าถึงได้ดว้ ยสื่ อ ทั้ง
เอกสาร และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็ นขั้นตอน
แรกของการวิจยั อาจเรี ยกว่า การทบทวน
เอกสาร หรื อการวิจยั เอกสาร
ความสาคัญของการตรวจเอกสาร (ต่ อ)
– การแจ้งข้อมูลแก่ผอู ้ ่านถึงความก้าวในเรื่ องที่สนใจจะทาวิจยั
– ทาให้ทราบถึงข้อมูลที่เป็ นปัจจุบนั ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วิธีการ
และผลการศึกษาวิจยั ในอดีต
– สร้างความเชื่อถือของนักวิจยั
– เสนอประเด็นสนับสนุนหรื อขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับการ
ศึกษาวิจยั
ประเด็นการพิจารณาจากการตรวจเอกสาร
• เนือ้ หา
– งานวิจยั มีขอบเขตและข้อจากัดมากน้อยเพียงใด
– ทฤษฎีและแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
– การวิจยั เกี่ยวกับเรื่ องนั้นในอดีตที่ผา่ นมาเป็ นอย่างไร
– อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการทาวิจยั ในอดีตและข้อเสนอแนะ
• รูปแบบการวิจัย
– แนวความคิดและตัวแปรที่จะศึกษา
– สมมติฐานของการวิจยั
– วิธีการและเทคนิคที่จะใช้ในการทาวิจยั
• เครื่องมือและอุปกรณ์ ทจี่ ะใช้ ในการทาวิจัย
เกณฑ์ ในการคัดเลือกเอกสารการวิจัย
– ความเกี่ยวข้องกับงานวิจยั
– ความเชื่อถือได้ของบทความวิจยั
– ความสามารถในการเข้าถึงบทความวิจยั
– ช่วงเวลาของเอกสาร/บทความวิจยั (ความทันสมัย)
– ชื่อเรื่ องหรื อหัวข้อย่อยมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อที่จะทาวิจยั
มากน้อยเพียงใด
– บรรณานุกรม
กระบวนการตรวจเอกสาร
– การสื บค้นสารสนเทศ (ใช้ google scholar)
– การกาหนดโครงร่ างของข้อมูลที่ตอ้ งการ
– การอ่าน ประเมินผล จดบันทึก และคัดลอก
– การเขียนและเรี ยบเรี ยงการตรวจเอกสาร
– ใช้เวลานานเท่าไร?
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
–เพื่อแสดงความเป็ นไปได้ของงานวิจยั
–เพื่อใช้ในการเสนอขอรับทุนสนับสนุนวิจยั
–เพื่อแสดงให้เห็นความสามารถของนักวิจยั
–เพื่อใช้สาหรับวางแผนการวิจยั
–เพื่อใช้สาหรับจัดการให้งานวิจยั ดาเนินได้ไปสาเร็ จ
www.themegallery.com
ข้ อบกพร่ องที่พบเสมอๆ ในการพิจารณาผลงาน
• กรอกแบบคาขอ กพอ. 03 ไม่ถูกต้อง เช่น กาหนดให้เรี ยง
ปริ ญญาจากสูงไปหาต่า แต่ผขู้ อพิมพ์จากต่าไปหาสู ง
• ผลงานย้อนหลัง 3 ปี จานวนชัง่ โมงที่สอนมากเกินจานวนชัว่ โมง
ที่ควรจะเป็ น
• ส่ งผลงานไม่ครบ และไม่ถูกหมวดหมู่ เช่น ส่ งผลงานวิจยั เป็ น
บทความทางวิชาการ ส่ งหนังสื อเป็ นผลงานในลักษณะอื่นๆ
• ชื่อตารา หรื อหนังสื อไม่ตรงกับเนื้อเรื่ อง
• ชื่อไม่เหมาะสม เช่น การแปรรู ปอุตสาหกรรมเกษตร
ที่ถูกต้องน่าจะเป็ น การแปรรู ปผลิตผลทางการเกษตร
ข้ อบกพร่ องที่พบเสมอๆ ในการพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
เนื้อหาไม่ครบถ้วน
ชื่อหัวข้อในสารบัญกับในเนื้อหาไม่ตรงกัน
เลขหน้าในสารบัญกับในเนื้อหาไม่ตรงกัน
การเขียนเอกสารอ้างอิงในเนื้อหาไม่สม่าเสมอและไม่อยู่
ในรู ปแบบเดียวกัน
• เอกสารอ้างอิงไม่ครบถ้วน หรื อมีมากเกินกว่าที่อา้ งอิงไว้
• เนื้อหาบางบทมีมากเกินไป บางบทมีนอ้ ยเกินไป
•
•
•
•
ข้ อบกพร่ องที่พบเสมอๆ ในการพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
• คัดลอกมาจากเอกสารของผูอ้ ื่นโดยไม่อา้ งอิง ไม่ปรับปรุ ง
หรื อดัดแปลงสานวนให้เหมาะสม
• ไม่มีการอ้างอิงรู ปภาพหรื อตารางที่ไปคัดลอกมาจากตารา
เล่มอื่น
• ไม่มีการกล่าวอ้างถึงตารางและรู ปภาพในเนื้อหา
• การเรี ยงเลขตารางที่ และรู ปภาพที่ ไม่ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามในเนื้อหา
• ตาราต้องมีดชั นีคา
ข้ อบกพร่ องที่พบเสมอๆ ในการพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
• การเว้นวรรคตอน การสะกดการันต์
• การเขียนทับศัพท์ไม่ใช้ของราชบัณฑิตยสถาน
• วงเล็บภาษาอังกฤษหลังคาทับศัพท์มากเกินจาเป็ น ต้องวงเล็บ
เฉพาะที่คาแรกเท่านั้น
• การเขียนภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง มีภาษาอังกฤษมากเกินไป
(คาในวงเล็บให้ใช้ตวั อักษรเล็กธรรมดา และใช้อกั ษรตัวใหญ่กบั
คาชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อเมือง ชื่อคน)
• รายละเอียดปลีกย่อยยังมีอีกมาก อ่านได้จากหนังสื อ การพิจารณา
แต่ งตั้งบุคคลให้ ดารงตาแหน่ งทางวิชาการในมหาวิทยาลัย หน้ า 111- 148